ในทางสถิติศาสตร์ ควอร์ไทล์ (อังกฤษ: quartile) เป็นชนิดของควอนไทล์ ซึ่งแบ่งจำนวนข้อมูลออกเป็น 4 ส่วน ประมาณเท่า ๆ กัน ข้อมูลต้องเรียงจากน้อยไปมากเพื่อคำนวณหาควอร์ไทล์ ควอร์ไทล์คือรูปแบบหนึ่งของ มีควอร์ไทล์ 3 ตัวที่แบ่งข้อมูลเป็นสี่ส่วนดังนี้
- ควอร์ไทล์ที่ 1 (Q1) เป็นตัวเลขตรงกลางระหว่างจำนวนที่น้อยที่สุด ( อังกฤษ: minimum) และมัธยฐานของชุดข้อมูล อาจเรียกควอร์ไทล์นี้ได้ว่าควอร์ไทล์ล่าง (lower quartile) หรือ ควอนไทล์เชิงประจักษ์ที่ 25 (25th empirical quantile) เพราะ 25% ของข้อมูลทั้งหมดอยู่ไต้จุดนี้
- ควอร์ไทล์ที่ 2 (Q2) เป็นมัธยฐานของชุดข้อมูล ดังนั้น 50% ของข้อมูลอยู่ใต้จุดนี้
- ควอร์ไทล์ที่ 3 (Q3) เป็นตัวเลขตรงกลางระหว่างมัธยฐานและจำนวนที่มากที่สุด ( อังกฤษ: maximum) ของชุดข้อมูล อาจเรียกควอร์ไทล์นี้ได้ว่าควอร์ไทล์บน (upper quartile) หรือ ควอนไทล์เชิงประจักษ์ที่ 75 (75th empirical quantile) เพราะ 75% ของข้อมูลทั้งหมดอยู่ไต้จุดนี้
รวมถึงค่ามากสุด และค่าน้อยสุดของข้อมูล (ซี่งก็เป็นควอร์ไทล์ด้วย) ทั้ง 3 ควอร์ไทล์ที่ได้กล่าวไว้ข้างบนบอกการสรุปตัวเลข 5 ตัวของข้อมูล การสรุปนี้เป็นสิ่งสำคัญในสถิติศาสตร์ เพราะสามารถบ่งบอกข้อมูลได้ทั้งจุดศูนย์กลาง และ การรู้ควอร์ไทล์ที่ 1 และควอร์ไทล์ที่ 3 บ่งบอกข้อมูลให้ทราบว่าข้อมูลมีการกระจายตัวมากแค่ไหน และชุดข้อมูลจะไปทางไหนทางหนึ่ง เพราะว่าควอร์ไทล์นั้นแบ่งจำนวนข้อมูลเท่า ๆ กัน พิสัยระหว่างควอร์ไทล์ข้าง ๆ โดยปกติจะไม่เท่ากัน (ต.ย. โดยปกติ Q3-Q2 ≠ Q2-Q1) (IQR) ถูกนิยามไว้ว่าผลต่างระหว่างเปอร์เซนต์ไทล์ที่ 75 และ 25 หรือ Q3-Q1 ขณะที่ค่าต่ำสุดและค่าสูงสุดก็บอกการกระจายข้อมูล ควอร์ไทล์ที่ 1 และควอร์ไทล์ที่ 3 สามารถให้ข้อมูลที่ละเอียดขึ้นกับตำแหน่งของข้อมูลนั้น ๆ การมีอยู่ของในข้อมูล และผลต่างของการกระจายระหว่างข้อมูลตรงกลาง 50% กับข้อมูลรอบนอก
นิยาม
สัญลักษณ์ | ชื่อ | นิยาม |
---|---|---|
Q1 |
| แยก 25% ของข้อมูลที่น้อยกว่าจาก 75% ที่มากกว่า |
Q2 |
| แบ่งข้อมูลเป็นครึ่ง ๆ |
Q3 |
| แยก 25% ของข้อมูลที่มากกว่าจาก 75% ที่น้อยกว่า |
วิธีการคำนวณ
การกระจายข้อมูลแบบไม่ต่อเนื่อง
สำหรับการกระจายข้อมูลแบบไม่ต่อเนื่อง ไม่มีวิธีหาควอร์ไทล์ที่ตายตัว
วิธีที่ 1
- ใช้มัธยฐานในการเแบ่งข้อมูลที่เรียงแล้วเป็นครึ่ง ๆ
- ถ้าข้อมูลที่เรียงแล้วจำนวนข้อมูลเป็นจำนวนคี่ ไม่นับมัธยฐาน (ค่าที่อยู่ตรงกลางในข้อมูลที่เรียงแล้ว) ทุกข้าง
- ถ้าข้อมูลที่เรียงแล้วจำนวนข้อมูลเป็นจำนวนคู่ ให้แบ่งข้อมูลเป็นครึ่งเท่า ๆ กัน
- มัธยฐานของข้อมูลครึ่งล่างคือควอร์ไทล์ล่าง มัธยฐานของข้อมูลครึ่งบนคือควอร์ไทล์บน
วิธีนี้ถูกใช้โดย เครื่องคิดเลขแผนภาพกล่อง และฟังก์ชัน "1-Var Stats" อีกทั้งสสวท. ก็นำวิธีนี้ไปใช้ในการสอนแผนภาพกล่อง
วิธีที่ 2
- ใช้มัธยฐานในการเแบ่งข้อมูลที่เรียงแล้วเป็นครึ่ง ๆ
- ถ้าข้อมูลที่เรียงแล้วจำนวนข้อมูลเป็นจำนวนคี่ นับมัธยฐาน (ค่าที่อยู่ตรงกลางในข้อมูลที่เรียงแล้ว) ทุกข้าง
- ถ้าข้อมูลที่เรียงแล้วจำนวนข้อมูลเป็นจำนวนคู่ ให้แบ่งข้อมูลเป็นครึ่งเท่า ๆ กัน
- มัธยฐานของข้อมูลครึ่งล่างคือควอร์ไทล์ล่าง มัธยฐานของข้อมูลครึ่งบนคือควอร์ไทล์บน
ค่าที่หาจากวิธีนี้สามารถเรียกได้ว่า "'s hinge" ดูเพิ่มที่
วิธีที่ 3
- ถ้าจำนวนข้อมูลที่มีเป็นจำนวนคู่ แล้ววิธีที่สามก็ทำเหมือนทั้งสองวิธีก่อนหน้า
- ถ้าจำนวนข้อมูลที่มีเป็นจำนวนคี่ (4n + 1) แล้วควอร์ไทล์ล่างคือ 25% ของค่าจำนวนที่n บวก 75% ของค่าจำนวนที่ (n+1) และ ควอร์ไทล์บนคือ 75% ของค่าจำนวนที่ (3n+1) บวก 25% ของค่าจำนวนที่ (3n+2)
- ถ้าจำนวนข้อมูลที่มีเป็นจำนวนคี่ (4n + 3) แล้วควอร์ไทล์ล่างคือ 75% ของค่าจำนวนที่ (n+1) บวก 25% ของค่าจำนวนที่ (n+2) และ ควอร์ไทล์บนคือ 25% ของค่าจำนวนที่ (3n+2) บวก 75% ของค่าจำนวนที่ (3n+3)
วิธีที่ 4
ถ้าเรามีชุดข้อมูลที่เรียงแล้ว เราสามารถคำนวณเพื่อหาควอนไทล์เชิงประจักษ์ที่ ได้ถ้า อยู่ในควอนไทล์ที่ ถ้าเรากำหนดให้ส่วนจำนวนเต็มของ โดย แล้วฟังก์ชันควอนไทล์เชิงประจักษ์คือ
เมื่อ และ
เพื่อที่จะหาควอร์ไทล์ที่ 1, 2, 3 ของชุดข้อมูล เราก็หา , และ ตามลำดับ
ตัวอย่างที่ 1
ข้อมูลที่เรียงแล้ว: 6, 7, 15, 36, 39, 40, 41, 42, 43, 47, 49
วิธีที่ 1 | วิธีที่ 2 | วิธีที่ 3 | วิธีที่ 4 | |
---|---|---|---|---|
Q1 | 15 | 25.5 | 20.25 | 15 |
Q2 | 40 | 40 | 40 | 40 |
Q3 | 43 | 42.5 | 42.75 | 43 |
ตัวอย่างที่ 2
ข้อมูลที่เรียงแล้ว: 7, 12, 36, 39, 40, 41
จะสังเกตว่า ถ้าจำนวนข้อมูลเป็นจำนวนคู่ ทั้ง 3 วิธีแรกจะให้ผลที่เหมือนกัน
วิธีที่ 1 | วิธีที่ 2 | วิธีที่ 3 | วิธีที่ 4 | |
---|---|---|---|---|
Q1 | 15 | 15 | 15 | 13 |
Q2 | 37.5 | 37.5 | 37.5 | 37.5 |
Q3 | 40 | 40 | 40 | 40.25 |
อ้างอิง
- A modern introduction to probability and statistics : understanding why and how. Dekking, Michel, 1946–. London: Springer. 2005. pp. 234–238. ISBN . OCLC 262680588.
{{}}
: CS1 maint: others () - Knoch, Jessica (February 23, 2018). "How are Quartiles Used in Statistics?". Magoosh Statistics Blog. สืบค้นเมื่อ December 11, 2019.
- Hyndman, Rob J; Fan, Yanan (November 1996). "Sample quantiles in statistical packages". American Statistician. 50 (4): 361–365. doi:10.2307/2684934. JSTOR 2684934.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inthangsthitisastr khwxrithl xngkvs quartile epnchnidkhxngkhwxnithl sungaebngcanwnkhxmulxxkepn 4 swn pramanetha kn khxmultxngeriyngcaknxyipmakephuxkhanwnhakhwxrithl khwxrithlkhuxrupaebbhnungkhxng mikhwxrithl 3 twthiaebngkhxmulepnsiswndngni khwxrithlthi 1 Q1 epntwelkhtrngklangrahwangcanwnthinxythisud xngkvs minimum aelamthythankhxngchudkhxmul xaceriykkhwxrithlniidwakhwxrithllang lower quartile hrux khwxnithlechingpracksthi 25 25th empirical quantile ephraa 25 khxngkhxmulthnghmdxyuitcudni khwxrithlthi 2 Q2 epnmthythankhxngchudkhxmul dngnn 50 khxngkhxmulxyuitcudni khwxrithlthi 3 Q3 epntwelkhtrngklangrahwangmthythanaelacanwnthimakthisud xngkvs maximum khxngchudkhxmul xaceriykkhwxrithlniidwakhwxrithlbn upper quartile hrux khwxnithlechingpracksthi 75 75th empirical quantile ephraa 75 khxngkhxmulthnghmdxyuitcudni rwmthungkhamaksud aelakhanxysudkhxngkhxmul singkepnkhwxrithldwy thng 3 khwxrithlthiidklawiwkhangbnbxkkarsruptwelkh 5 twkhxngkhxmul karsrupniepnsingsakhyinsthitisastr ephraasamarthbngbxkkhxmulidthngcudsunyklang aela karrukhwxrithlthi 1 aelakhwxrithlthi 3 bngbxkkhxmulihthrabwakhxmulmikarkracaytwmakaekhihn aelachudkhxmulcaipthangihnthanghnung ephraawakhwxrithlnnaebngcanwnkhxmuletha kn phisyrahwangkhwxrithlkhang odypkticaimethakn t y odypkti Q3 Q2 Q2 Q1 IQR thukniyamiwwaphltangrahwangepxresntithlthi 75 aela 25 hrux Q3 Q1 khnathikhatasudaelakhasungsudkbxkkarkracaykhxmul khwxrithlthi 1 aelakhwxrithlthi 3 samarthihkhxmulthilaexiydkhunkbtaaehnngkhxngkhxmulnn karmixyukhxnginkhxmul aelaphltangkhxngkarkracayrahwangkhxmultrngklang 50 kbkhxmulrxbnxkniyam odymikhwxrithl aela aela fngkchnkhwamhnaaennkhxngkhwamnacaepn pdf khxngprachakrpkti N 0 1s2 sylksn chux niyamQ1 khwxrithlthi 1 khwxrithllang thi 25 aeyk 25 khxngkhxmulthinxykwacak 75 thimakkwaQ2 khwxrithlthi 2 mthythan thi 50 aebngkhxmulepnkhrung Q3 khwxrithlthi 3 khwxrithlbn thi 75 aeyk 25 khxngkhxmulthimakkwacak 75 thinxykwawithikarkhanwnkarkracaykhxmulaebbimtxenuxng sahrbkarkracaykhxmulaebbimtxenuxng immiwithihakhwxrithlthitaytw withithi 1 ichmthythaninkareaebngkhxmulthieriyngaelwepnkhrung thakhxmulthieriyngaelwcanwnkhxmulepncanwnkhi imnbmthythan khathixyutrngklanginkhxmulthieriyngaelw thukkhang thakhxmulthieriyngaelwcanwnkhxmulepncanwnkhu ihaebngkhxmulepnkhrungetha kn mthythankhxngkhxmulkhrunglangkhuxkhwxrithllang mthythankhxngkhxmulkhrungbnkhuxkhwxrithlbn withinithukichody ekhruxngkhidelkhaephnphaphklxng aelafngkchn 1 Var Stats xikthngsswth knawithiniipichinkarsxnaephnphaphklxng withithi 2 ichmthythaninkareaebngkhxmulthieriyngaelwepnkhrung thakhxmulthieriyngaelwcanwnkhxmulepncanwnkhi nbmthythan khathixyutrngklanginkhxmulthieriyngaelw thukkhang thakhxmulthieriyngaelwcanwnkhxmulepncanwnkhu ihaebngkhxmulepnkhrungetha kn mthythankhxngkhxmulkhrunglangkhuxkhwxrithllang mthythankhxngkhxmulkhrungbnkhuxkhwxrithlbn khathihacakwithinisamartheriykidwa s hinge duephimthi withithi 3 thacanwnkhxmulthimiepncanwnkhu aelwwithithisamkthaehmuxnthngsxngwithikxnhna thacanwnkhxmulthimiepncanwnkhi 4n 1 aelwkhwxrithllangkhux 25 khxngkhacanwnthin bwk 75 khxngkhacanwnthi n 1 aela khwxrithlbnkhux 75 khxngkhacanwnthi 3n 1 bwk 25 khxngkhacanwnthi 3n 2 thacanwnkhxmulthimiepncanwnkhi 4n 3 aelwkhwxrithllangkhux 75 khxngkhacanwnthi n 1 bwk 25 khxngkhacanwnthi n 2 aela khwxrithlbnkhux 25 khxngkhacanwnthi 3n 2 bwk 75 khxngkhacanwnthi 3n 3 withithi 4 thaeramichudkhxmulthieriyngaelw x1 x2 xn displaystyle x 1 x 2 x n erasamarthkhanwnephuxhakhwxnithlechingpracksthi p displaystyle p idtha xi displaystyle x i xyuinkhwxnithlthi i n 1 displaystyle i n 1 thaerakahndihswncanwnetmkhxng a displaystyle a ody a displaystyle a aelwfngkchnkhwxnithlechingprackskhux q p x k a x k 1 x k displaystyle q p x k alpha x k 1 x k emux k p n 1 displaystyle k p n 1 aela a p n 1 p n 1 displaystyle alpha p n 1 p n 1 ephuxthicahakhwxrithlthi 1 2 3 khxngchudkhxmul erakha q 0 25 displaystyle q 0 25 q 0 5 displaystyle q 0 5 aela q 0 75 displaystyle q 0 75 tamladb twxyangthi 1 khxmulthieriyngaelw 6 7 15 36 39 40 41 42 43 47 49 withithi 1 withithi 2 withithi 3 withithi 4Q1 15 25 5 20 25 15Q2 40 40 40 40Q3 43 42 5 42 75 43twxyangthi 2 khxmulthieriyngaelw 7 12 36 39 40 41 casngektwa thacanwnkhxmulepncanwnkhu thng 3 withiaerkcaihphlthiehmuxnkn withithi 1 withithi 2 withithi 3 withithi 4Q1 15 15 15 13Q2 37 5 37 5 37 5 37 5Q3 40 40 40 40 25xangxingA modern introduction to probability and statistics understanding why and how Dekking Michel 1946 London Springer 2005 pp 234 238 ISBN 978 1 85233 896 1 OCLC 262680588 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint others lingk Knoch Jessica February 23 2018 How are Quartiles Used in Statistics Magoosh Statistics Blog subkhnemux December 11 2019 Hyndman Rob J Fan Yanan November 1996 Sample quantiles in statistical packages American Statistician 50 4 361 365 doi 10 2307 2684934 JSTOR 2684934