คฤหัสถ์ เป็นขั้นตอนที่สองในชีวิตตามระบบอาศรมสี่ ต่อจากพรหมจรรย์ ช่วงชีวิตนี้ประกอบด้วยการหาคู่ครอง การสมรส การดูแลครอบครัว ให้การศึกษาแก่บุตรหลาน มีครอบครัวเป็นศูนย์กลางและมีชีวิตในสังคมที่มีธรรมะ
ตามอาศรมสี่ จะตามด้วย วานปรัสถ์ คือการเกษียณจากงานและเกษียณจากโลกและ คือการละทิ้ง ตามลำดับ
ในคัมภีร์โบราณและยุคกลางของฮินดูมองว่าขั้นคฤหัสถ์ เป็นระยะที่สำคัญที่สุดในมุมมองของการอยู่รอดในสังคม ระยะนี้เป็นระยะที่นอกจากจะหาความสุขเพื่อตัวเองแล้ว ยังเป็นการช่วยให้เพื่อนมนุษย์ซึ่งอยู่ในระยะอื่น ๆ สามารถดำรงชีวิตได้อย่างปกติ โดยเฉพาะให้การจุนเจือแก่บุตรหลานให้มีชีวิตต่อไป ระยะนี้ยังถือกันว่าเป็นช่วงชีวิตที่หนักหน่วงที่สุด มีความเครียดและภาระทั้งเชิงกายภาพ, อาชีพ, เพศ, ครอบครัว, สังคม และวัตถุ
อ้างอิง
- S Radhakrishnan (1922), The Hindu Dharma, International Journal of Ethics, 33(1): 1-22
- Sahebrao Genu Nigal (1986). Axiological approach to the Vedas. Northern Book Centre. pp. 110–114. ISBN .
- Manilal Bose (1998). "5. Grihastha Ashrama, Vanprastha and Sanyasa". Social and cultural history of ancient India. Concept Publishing Company. p. 68. ISBN .
- L Mullatti (1995), Families in India: Beliefs and Realities, Journal of Comparative Family Studies, 26(1): 11-25
- RK Sharma (1999), Indian Society, Institutions and Change, ISBN , page 28
- Alban Widgery (1930), The Principles of Hindu Ethics, International Journal of Ethics, 40(2): 232-245
- Mazumdar and Mazumdar (2005), Home in the Context of Religion, in Home and Identity in Late Life: International Perspectives (Editor: Graham D. Rowles et al.), Springer, ISBN , pages 81-103
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
khvhsth epnkhntxnthisxnginchiwittamrabbxasrmsi txcakphrhmcrry chwngchiwitniprakxbdwykarhakhukhrxng karsmrs karduaelkhrxbkhrw ihkarsuksaaekbutrhlan mikhrxbkhrwepnsunyklangaelamichiwitinsngkhmthimithrrma tamxasrmsi catamdwy wanprsth khuxkareksiyncaknganaelaeksiyncakolkaela khuxkarlathing tamladb inkhmphirobranaelayukhklangkhxnghindumxngwakhnkhvhsth epnrayathisakhythisudinmummxngkhxngkarxyurxdinsngkhm rayaniepnrayathinxkcakcahakhwamsukhephuxtwexngaelw yngepnkarchwyihephuxnmnusysungxyuinrayaxun samarthdarngchiwitidxyangpkti odyechphaaihkarcunecuxaekbutrhlanihmichiwittxip rayaniyngthuxknwaepnchwngchiwitthihnkhnwngthisud mikhwamekhriydaelapharathngechingkayphaph xachiph ephs khrxbkhrw sngkhm aelawtthuxangxingS Radhakrishnan 1922 The Hindu Dharma International Journal of Ethics 33 1 1 22 Sahebrao Genu Nigal 1986 Axiological approach to the Vedas Northern Book Centre pp 110 114 ISBN 81 85119 18 X Manilal Bose 1998 5 Grihastha Ashrama Vanprastha and Sanyasa Social and cultural history of ancient India Concept Publishing Company p 68 ISBN 81 7022 598 1 L Mullatti 1995 Families in India Beliefs and Realities Journal of Comparative Family Studies 26 1 11 25 RK Sharma 1999 Indian Society Institutions and Change ISBN 978 8171566655 page 28 Alban Widgery 1930 The Principles of Hindu Ethics International Journal of Ethics 40 2 232 245 Mazumdar and Mazumdar 2005 Home in the Context of Religion in Home and Identity in Late Life International Perspectives Editor Graham D Rowles et al Springer ISBN 978 0826127150 pages 81 103