บทความนี้ยังต้องการเพิ่มเพื่อ |
ความเป็นมาของคำสยาม ไทย, ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ เป็นงานชิ้นสุดท้ายของ จิตร ภูมิศักดิ์ งานค้นคว้านี้สันนิษฐานที่มาของคำต่างๆ โดยชี้ให้เห็นถึงความเชื่อมโยงของลักษณะเชื้อชาติ ลักษณะทางสังคม ชีวิตความเป็นอยู่ของชาติพันธุ์ต่าง ๆ ในแถบสุวรรณภูมิ ที่ปรากฏขึ้นในรูปภาษา ถือเป็นงานทางนิรุกติศาสตร์และภาษาศาสตร์สังคมที่มีความโดดเด่นอย่างมาก
ความเป็นมาของคำสยาม ไทย, ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ | |
---|---|
ผู้ประพันธ์ | จิตร ภูมิศักดิ์ |
ประเทศ | ไทย |
ภาษา | ไทย |
สำนักพิมพ์ | โครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ |
วันที่พิมพ์ | พ.ศ. 2519 |
ชนิดสื่อ | สิ่งพิมพ์ |
ISBN | |
495.912 จ6ค |
งานค้นคว้าที่ยังเขียนไม่เสร็จนี้ จิตรใช้เวลาเขียนอยู่ประมาณ 7 ปี ในขณะที่ถูกจองจำอยู่ใน ช่วง พ.ศ. 2501-2507 เขาได้มอบต้นฉบับให้แก่ สุภา ศิริมานนท์ รักษาต้นฉบับไว้โดยใส่กล่องฝังดินไว้ในสวนฝั่งธนบุรี หลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 จึงมีการขุดค้นขึ้นมาตีพิมพ์ โดยมูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ หนังสือเล่มดังกล่าวพิมพ์ครั้งแรก 5,000 เล่ม ก่อนหน้าเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 ไม่นานนัก มีหนังสือตกถึงมือผู้อ่านไม่มากนักเพราะส่วนใหญ่ถูกเผาทิ้งทำลายในสมัยธานินทร์ กรัยวิเชียรเป็นนายกรัฐมนตรี
หนังสือนี้แบ่งเป็นสามภาค คือ พื้นฐานทางนิรุกติศาสตร์และประวัติศาสตร์, ชื่อชนชาติและฐานะทางสังคม, และ ข้อเท็จจริงว่าด้วยชนชาติขอม ภาคที่หนึ่งและสองนี้ ต้นฉบับถูกเก็บรักษาไว้ด้วยกัน ส่วนภาคที่สามเป็นส่วนที่พบภายหลังและได้เพิ่มเข้ามาในการจัดพิมพ์ครั้งที่สามเมื่อ พ.ศ. 2535
ความเป็นมาของคำสยามฯ ได้รับคัดเลือกเป็นหนึ่งในหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน ในโครงการวิจัยซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
เรื่องย่อ
จิตรสรุปว่า "ไทย" เป็นคำที่คนไทยเรียกตัวเอง ส่วน "สยาม" เป็นคำที่ชนชาติอื่นเรียกคนไทย จิตรทำการค้นคว้าหาที่มาของคำทั้งสองโดยปราศจากอคติชาตินิยมที่ว่าคำทั้งสองต้องมีความหมายในทางที่ดีหรือเป็นมงคลและมาจากภาษาที่สูงส่งอย่างบาลีสันสกฤตเท่านั้น
จิตรมีความเห็นเกี่ยวกับคำว่าสยามดังนี้ "ต้องแปลว่า หรือเกี่ยวกับ น้ำ ซึ่งสอดคล้องกับสภาพชีวิตของสังคมชมรมกสิกรรมในที่ราบลุ่มของคนชาวไต" โดยมีที่มาจากภาษาหนานเจ้าตามที่ระบุไว้ในพงศาวดารราชวงศ์หยวน
ส่วนคำว่าไทย จิตรเชื่อว่ามีวิวัฒนาการและความหมายมาเป็นลำดับ เกิดจากการปฏิเสธการดูหมิ่นของชนชาติอื่นที่ว่าคนไทยเป็นคนบ้านป่าเมืองเถื่อน โดยเริ่มแรก "ไท" มีความหมายว่า คนสังคม หรือ คนเมือง ต่อมาเป็นวรรณะหรือฐานันดรทางสังคม ซึ่งแปลว่าเสรีชน และภายใต้ความคิดรัฐชาติในสมัยรัชกาลที่ 6 จึงเกิดความหมายในยุคใหม่ที่แปลว่า อิสระ เอกราช และผู้เป็นใหญ่
อ้างอิง
- ว่าด้วย ภาษา สยาม คำ ไทย
แหล่งข้อมูลอื่น
- บทวิจารณ์หนังสือ[]
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxngkhunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxk haaehlngkhxmul khwamepnmakhxngkhasyam ithy law aelakhxm aelalksnathangsngkhmkhxngchuxchnchati khaw hnngsuxphimph hnngsux skxlar JSTOR eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir khwamepnmakhxngkhasyam ithy law aelakhxm aelalksnathangsngkhmkhxngchuxchnchati epnnganchinsudthaykhxng citr phumiskdi ngankhnkhwanisnnisthanthimakhxngkhatang odychiihehnthungkhwamechuxmoyngkhxnglksnaechuxchati lksnathangsngkhm chiwitkhwamepnxyukhxngchatiphnthutang inaethbsuwrrnphumi thipraktkhuninrupphasa thuxepnnganthangniruktisastraelaphasasastrsngkhmthimikhwamoddednxyangmakkhwamepnmakhxngkhasyam ithy law aelakhxm aelalksnathangsngkhmkhxngchuxchnchati phupraphnthcitr phumiskdipraethsithyphasaithysankphimphokhrngkartarasngkhmsastraelamnusysastrwnthiphimphph s 2519chnidsuxsingphimphISBN9742103283elkhthsniymdiwxi495 912 c6kh ngankhnkhwathiyngekhiynimesrcni citrichewlaekhiynxyupraman 7 pi inkhnathithukcxngcaxyuin chwng ph s 2501 2507 ekhaidmxbtnchbbihaek supha sirimannth rksatnchbbiwodyisklxngfngdiniwinswnfngthnburi hlngehtukarn 14 tulakhm ph s 2516 cungmikarkhudkhnkhunmatiphimph odymulnithiokhrngkartarasngkhmsastraelamnusysastr hnngsuxelmdngklawphimphkhrngaerk 5 000 elm kxnhnaehtukarn 6 tulakhm ph s 2519 imnannk mihnngsuxtkthungmuxphuxanimmaknkephraaswnihythukephathingthalayinsmythaninthr krywiechiyrepnnaykrthmntri hnngsuxniaebngepnsamphakh khux phunthanthangniruktisastraelaprawtisastr chuxchnchatiaelathanathangsngkhm aela khxethccringwadwychnchatikhxm phakhthihnungaelasxngni tnchbbthukekbrksaiwdwykn swnphakhthisamepnswnthiphbphayhlngaelaidephimekhamainkarcdphimphkhrngthisamemux ph s 2535 khwamepnmakhxngkhasyam idrbkhdeluxkepnhnunginhnngsuxdi 100 elmthikhnithykhwrxan inokhrngkarwicysungidrbkarsnbsnuncaksankngankxngthunsnbsnunkarwicyeruxngyxsaenahnngsux khwamepnmakhxngkhasyam echphaaswnsatharnsmbti khlikephuxxanthng 636 hna citrsrupwa ithy epnkhathikhnithyeriyktwexng swn syam epnkhathichnchatixuneriykkhnithy citrthakarkhnkhwahathimakhxngkhathngsxngodyprascakxkhtichatiniymthiwakhathngsxngtxngmikhwamhmayinthangthidihruxepnmngkhlaelamacakphasathisungsngxyangbalisnskvtethann citrmikhwamehnekiywkbkhawasyamdngni txngaeplwa hruxekiywkb na sungsxdkhlxngkbsphaphchiwitkhxngsngkhmchmrmksikrrminthirablumkhxngkhnchawit odymithimacakphasahnanecatamthirabuiwinphngsawdarrachwngshywn swnkhawaithy citrechuxwamiwiwthnakaraelakhwamhmaymaepnladb ekidcakkarptiesthkarduhminkhxngchnchatixunthiwakhnithyepnkhnbanpaemuxngethuxn odyerimaerk ith mikhwamhmaywa khnsngkhm hrux khnemuxng txmaepnwrrnahruxthanndrthangsngkhm sungaeplwaesrichn aelaphayitkhwamkhidrthchatiinsmyrchkalthi 6 cungekidkhwamhmayinyukhihmthiaeplwa xisra exkrach aelaphuepnihyxangxingwadwy phasa syam kha ithyaehlngkhxmulxunbthwicarnhnngsux lingkesiy