การแทรกสอด (interference) ของคลื่น คือการสร้างรูปคลื่นใหม่โดยการซ้อนทับกันของคลื่น 2 ลูกขึ้นไป การแทรกสอดจะเห็นได้ชัดเจนเมื่อคลื่นเป็นอาพันธ์ (สหสัมพันธ์สูง) คลื่นดังกล่าวควรเป็นคลื่นที่มาจากแหล่งกำเนิดเดียวกันหรือคลื่นที่มีความถี่เท่ากันหรือใกล้เคียงกัน
ภาพรวม
หลักการของการซ้อนทับของคลื่นคือ แอมพลิจูดของคลื่นที่เกิดขึ้น ณ จุดหนึ่งจะเท่ากับผลรวมของแอมพลิจูดของคลื่นทั้งหมดที่กระทบกับจุดนั้น การแทรกสอดระหว่างส่วนยอดหรือส่วนร่องที่จุดเดียวกันจะเพิ่มค่าสัมบูรณ์ของแอมพลิจูด และการแทรกสอดระหว่างส่วนยอดและส่วนร่องจะลดค่าสัมบูรณ์ของแอมพลิจูด
การแทรกสอดของคลื่นยังเกี่ยวข้องกับการทดลองการแทรกสอดของ โทมัส ยัง () ในการทดลองนี้เขาได้แสดงให้เห็นว่าคลื่นแสง 2 ลูกที่เป็นอาพันธ์สามารถแทรกสอดซึ่งกันและกันแล้วสร้างริ้วของการแทรกสอด คลื่นแสง 2 ลูกจากสลิตหลายตัวมาจากแหล่งกำเนิดคลื่นเดียวกันและมีการกระจายความยาวคลื่นเท่ากัน ที่ศูนย์กลางของริ้วการแทรกสอดคลื่นทั้งสองนี้มีเฟสเดียวกัน โดยทั่วไปแล้ว การแทรกสอดแบบนี้มักจะเกิดขึ้นกับคลื่นที่มีต้นกำเนิดจากแหล่งเดียวและแพร่กระจายผ่านสองเส้นทางที่แตกต่างกัน คลื่นจากหลายแหล่งจะแทรกสอดกันได้เฉพาะเมื่อสามารถปรับความสัมพันธ์ของเฟสให้สอดคล้องกันได้ เนื่องจากคลื่นที่มีการปรับเปลี่ยนความสัมพันธ์ของเฟสสามารถถือได้ว่ามาจากแหล่งเดียว (ดูที่หลักการของเฮยเคินส์) ภายในริ้วการแทรกสอดจะมีพื้นที่สว่าง ซึ่งคลื่นเสริมซึ่งกันและกัน และบริเวณมืด ซึ่งคลื่นจะหักล้างซึ่งกันและกัน ตามกฎทรงพลังงานแล้วต้องมีการเกิดทั้งส่วนมืดและส่วนสว่างสลับกันไป
แหล่งกำเนิดแสงใด ๆ สามารถสร้างริ้วการแทรกสอดได้ ตัวอย่างเช่น สามารถสังเกตเห็นได้ในแสงแดด อย่างไรก็ตาม เนื่องจากแสงสีขาวเป็นการผสมกันของทุกสีในสเปกตรัม จึงเกิดริ้วการแทรกสอดที่ความกว้างต่าง ๆ กันไป ทำให้ไม่อาจเห็นขอบของการแทรกสอดที่ชัดเจนได้ ในทางกลับกัน ให้แสงที่ใกล้เคียงกับ แสงสีเดียว ดังนั้นจึงเป็นไปได้ที่จะเห็นริ้วการแทรกสอดที่ชัดเจน ส่วนเลเซอร์ซึ่งสามารถฉายแสงสีเดียวได้เกือบสมบูรณ์แบบสามารถสร้างริ้วการแทรกสอดที่ชัดเจนที่สุด
หลักการแทรกสอด
เมื่อคลื่นสองคลื่นทับซ้อนกัน รูปคลื่นที่เกิดขึ้นจะขึ้นอยู่กับความถี่ (หรือความยาวคลื่น) และแอมพลิจูด ตลอดจนความสัมพันธ์ของเฟส ถ้าคลื่นสองลูกมีแอมพลิจูด A เท่ากันและความยาวคลื่นเท่ากัน แอมพลิจูดจะอยู่ระหว่าง 0 ถึง 2 A ขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ของเฟสของคลื่นทั้งสอง
เมื่อคลื่น 2 คลื่นอยู่ในเฟส (ความแตกต่างของเฟสคือ 0°) เช่น เมื่อจุดสูงสุดและต่ำสุดของคลื่นตรงกัน และแอมพลิจูดทั้งสองคือ A1 และ A2 ตามลำดับ แอมพลิจูดของแสงหลังจากการแทรกสอดคือ A จะเป็น A=A1+A2 แบบนี้เรียกว่า การแทรกสอดแบบเสริมกัน
ถ้าคลื่นทั้งสองเฟสกลับกัน (ความต่างเฟส 180°) คลื่นจะตีกัน และแอมพลิจูด A ของแสงหลังจากการแทรกสอดคือ A=|A1−A2| และถ้าหาก A1=A2 แอมพลิจูดจะเป็น 0 แบบนี้เรียกว่า การแทรกสอดแบบหักล้าง
อ้างอิง
- Ockenga, Wymke. Phase contrast. Leika Science Lab, 09 มิถุนายน 2011
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karaethrksxd interference khxngkhlun khuxkarsrangrupkhlunihmodykarsxnthbknkhxngkhlun 2 lukkhunip karaethrksxdcaehnidchdecnemuxkhlunepnxaphnth shsmphnthsung khlundngklawkhwrepnkhlunthimacakaehlngkaenidediywknhruxkhlunthimikhwamthiethaknhruxiklekhiyngknduepnsienuxngcakkaraethrksxdkhxngkhlun 2 lukrupaebbkaraethrksxdsahrbkaraethrksxdkhxngkhlun 2 lukinaebbtang phaphrwmhlkkarkhxngkarsxnthbkhxngkhlunkhux aexmphlicudkhxngkhlunthiekidkhun n cudhnungcaethakbphlrwmkhxngaexmphlicudkhxngkhlunthnghmdthikrathbkbcudnn karaethrksxdrahwangswnyxdhruxswnrxngthicudediywkncaephimkhasmburnkhxngaexmphlicud aelakaraethrksxdrahwangswnyxdaelaswnrxngcaldkhasmburnkhxngaexmphlicud karaethrksxdkhxngkhlunyngekiywkhxngkbkarthdlxngkaraethrksxdkhxng othms yng inkarthdlxngniekhaidaesdngihehnwakhlunaesng 2 lukthiepnxaphnthsamarthaethrksxdsungknaelaknaelwsrangriwkhxngkaraethrksxd khlunaesng 2 lukcakslithlaytwmacakaehlngkaenidkhlunediywknaelamikarkracaykhwamyawkhlunethakn thisunyklangkhxngriwkaraethrksxdkhlunthngsxngnimiefsediywkn odythwipaelw karaethrksxdaebbnimkcaekidkhunkbkhlunthimitnkaenidcakaehlngediywaelaaephrkracayphansxngesnthangthiaetktangkn khluncakhlayaehlngcaaethrksxdknidechphaaemuxsamarthprbkhwamsmphnthkhxngefsihsxdkhlxngknid enuxngcakkhlunthimikarprbepliynkhwamsmphnthkhxngefssamarththuxidwamacakaehlngediyw duthihlkkarkhxngehyekhins phayinriwkaraethrksxdcamiphunthiswang sungkhlunesrimsungknaelakn aelabriewnmud sungkhluncahklangsungknaelakn tamkdthrngphlngnganaelwtxngmikarekidthngswnmudaelaswnswangslbknip aehlngkaenidaesngid samarthsrangriwkaraethrksxdid twxyangechn samarthsngektehnidinaesngaedd xyangirktam enuxngcakaesngsikhawepnkarphsmknkhxngthuksiinsepktrm cungekidriwkaraethrksxdthikhwamkwangtang knip thaihimxacehnkhxbkhxngkaraethrksxdthichdecnid inthangklbkn ihaesngthiiklekhiyngkb aesngsiediyw dngnncungepnipidthicaehnriwkaraethrksxdthichdecn swnelesxrsungsamarthchayaesngsiediywidekuxbsmburnaebbsamarthsrangriwkaraethrksxdthichdecnthisudhlkkaraethrksxdkaraethrksxdaebbesrimkn say aelakaraethrksxdaebbhklangkn khwa emuxkhlunsxngkhlunthbsxnkn rupkhlunthiekidkhuncakhunxyukbkhwamthi hruxkhwamyawkhlun aelaaexmphlicud tlxdcnkhwamsmphnthkhxngefs thakhlunsxnglukmiaexmphlicud A ethaknaelakhwamyawkhlunethakn aexmphlicudcaxyurahwang 0 thung 2 A khunxyukbkhwamsmphnthkhxngefskhxngkhlunthngsxng emuxkhlun 2 khlunxyuinefs khwamaetktangkhxngefskhux 0 echn emuxcudsungsudaelatasudkhxngkhluntrngkn aelaaexmphlicudthngsxngkhux A1 aela A2 tamladb aexmphlicudkhxngaesnghlngcakkaraethrksxdkhux A caepn A A1 A2 aebbnieriykwa karaethrksxdaebbesrimkn thakhlunthngsxngefsklbkn khwamtangefs 180 khluncatikn aelaaexmphlicud A khxngaesnghlngcakkaraethrksxdkhux A A1 A2 aelathahak A1 A2 aexmphlicudcaepn 0 aebbnieriykwa karaethrksxdaebbhklangxangxingOckenga Wymke Phase contrast Leika Science Lab 09 mithunayn 2011