การอ้างก้อนหิน (อังกฤษ: appeal to the stone, argumentum ad lapidem ) เป็นเหตุผลวิบัติทางตรรกะ เป็นการปฏิเสธไม่ยอมรับเหตุผลหนึ่งๆ โดยอ้างว่าไม่จริงหรือเหลวไหล ซึ่งอาจทำซ้ำๆ โดยไม่ให้เหตุผลอื่นๆ วิธีนี้คล้ายกับ proof by assertion ซึ่งเป็นการกล่าวสิ่งเดียวกันซ้ำๆ ไม่ว่าฝ่ายตรงข้ามจะค้านอย่างไร โดยคล้ายกันเพราะเป็นการกล่าวเพื่อให้เชื่อโดยไร้หลักฐาน นี่เป็นเหตุผลวิบัติอรูปนัยเพราะเป็นการให้เหตุผลแบบอุปนัยเพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริงที่ระบุ โดยสาระของการให้เหตุผลจะไม่ดี นี่เทียบกับเหตุผลวิบัติรูปนัยที่รูปแบบหรือโครงสร้างของการให้เหตุผลจะไม่ถูกต้อง
ตัวอย่าง
- ฝ่ายแรก: โรคติดต่อเกิดจากจุลินทรีย์ที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า
- อีกฝ่าย: สิ่งที่คุณพูดไม่ถูก
- ฝ่ายแรก: ทำไมถึงคิดว่าไม่ถูก
- อีกฝ่าย: มันฟังดูเหมือนเรื่องเหลวไหล
อีกฝ่ายปฏิเสธข้ออ้างของฝ่ายแรกโดยไม่ได้ให้หลักฐานอะไรๆ ซึ่งอาจจะดีในกรณีที่ข้ออ้างของฝ่ายแรกขัดแย้งกันเอง หรือผิดรูปผิดร่างจนไม่สมเหตุสมผล
ประวัติ
กำเนิดชื่อ
ชื่อ "การอ้างก้อนหิน" มาจากข้อโต้เถียงกันระหว่างนักพจนานุกรม ดร. ซามูเอล จอห์นสันกับเจมส์ บอสเวลล์เกี่ยวกับทฤษฎีอสสารนิยม (immaterialism) ซึ่งระบุว่าความเป็นจริงจะขึ้นอยู่กับการรับรู้โลกของบุคคล โดยวัตถุที่เป็นสสารจะเกี่ยวเนื่องกับการรับรู้ตัววัตถุนั้น
หลังจากที่พวกเราออกมาจากโบสถ์ ก็ได้ยืนคุยกันสักพักหนึ่งเกี่ยวกับมุขนายกบาร์กลีย์ผู้ใช้คารมอันคมคายเพื่อพิสูจน์ว่าสสารไม่มีจริง และว่าทุกสิ่งทุกอย่างในเอกภพเป็นเพียงเรื่องจินตนาการ ผมได้ให้ข้อสังเกตว่า แม้เราจะเห็นพ้องกันว่าหลักการนี้ไม่เป็นจริง แต่ก็ไม่สามารถพิสูจน์ว่าไม่จริงได้ ผมจะไม่มีวันลืมว่าจอห์นสันโต้ตอบได้เร็วแค่ไหน โดยเตะหินก้อนใหญ่อย่างแรงจนเท้าเด้งออกแล้วกล่าวว่า "ผมปฏิเสธมันอย่างนี้"
— Boswell, James, The Life of Samuel Johnson
จุดมุ่งหมายของ ดร. จอห์นสันก็คือ ถ้าเขาสามารถเตะก้อนหินด้วยเท้า การเรียกก้อนหินว่า "อสสาร" ก็จะต้องเป็นเรื่องเหลวไหล
การจัดหมวดหมู่
เหตุผลวิบัติอรูปนัยทางตรรกะ
เหตุผลวิบัติอรูปนัยทางตรรกะเป็นความเข้าใจผิดเพราะมีเหตุผลบกพร่อง เพราะอาศัยการให้เหตุผลแบบอุปนัย จึงอาจผิดพลาดแล้วทำให้เข้าใจว่าเป็นเหตุผลที่ดีแต่จริงๆ ไม่ใช่
เหตุผลวิบัติโดยไม่เข้าประเด็น
ข้อสรุปนอกประเด็นมีโครงสร้างคล้ายๆ กับการอ้างก้อนหิน เป็นการให้หลักฐานแก่ข้อสรุปนอกประเด็น ไม่ใช่ข้อสรุปเดิม เช่น การปฏิเสธทฤษฎีอสสารนิยมของ ดร. จอห์นสันด้วยการเตะก้อนหิน จริงๆ ไม่ได้ปฏิเสธทฤษฎีโดยตรง แต่กลับระบุข้อสรุปที่ไม่เข้ากับทฤษฎี
การให้เหตุผลแบบอุปนัย
การอ้างก้อนหินเป็นการให้เหตุผลแบบอุปนัย ส่วนเหตุผลวิบัติรูปนัยใช้การให้เหตุผลแบบนิรนัยและใช้โครงสร้างแบบรูปนัยเพื่อให้เหตุผล ซึ่งต่างกับการให้เหตุผลแบบอุปนัยซึ่งไม่ใช้วิธีเช่นนี้ การให้เหตุผลแบบอุปนัยมีข้อสรุปที่ไม่แน่นอนเพราะต้องอนุมานจากสถานการณ์ หรือบุคคล/วัตถุ หรือเหตุการณ์โดยเฉพาะๆ ในบริบทของการอ้างก้อนหิน มีการให้เหตุผลแบบอุปนัยเพื่อคัดค้านข้ออ้างเดิมโดยไม่ได้ให้คำอธิบายเพิ่ม แต่การให้เหตุผลแบบอุปนัยอาจเปลี่ยนไปได้ถ้าได้ข้อมูลหรือหลักฐานใหม่ๆ ที่ล้มข้อสมมุติของการอุปนัยได้
การให้เหตุผลแบบอุปนัยสมมุติว่าโอกาสเป็นไปได้ของข้อตั้งสามารถใช้เป็นหลักฐานสนับสนุน[] การให้เหตุผลแบบอุปนัยจะดีหรือไม่ดีก็ขึ้นอยู่กับความหนักแน่นของเหตุผล แต่แต่ละคนจะรู้สึกว่าหนักแน่นไม่เท่ากัน โดยขึ้นอยู่กับความคิดความรู้สึกที่มีอยู่แล้วในเรื่องนั้น
จุดอ่อนของการให้เหตุผลแบบอุปนัยเทียบกับการให้เหตุผลแบบนิรนัยก็คือ ไม่สามารถประเมินความสมเหตุสมผลหรือความแน่นอนของข้ออ้าง ความสมเหตุสมผลจะขึ้นอยู่กับว่าข้อมูลที่ให้เป็นจริงหรือไม่ แต่ถ้าเป็นหลักฐานเท็จเพื่อพิสูจน์ว่าข้อสรุปเป็นเท็จ ก็อาจใช้ได้เหมือนกัน ดังนั้นการให้เหตุผลจะจัดว่าแน่นอนก็ต่อเมื่อข้อสมมุติ/ข้อตั้งของการให้เหตุผลนั้นเป็นจริง ไม่เหมือนกันกับการให้เหตุผลแบบนิรนัย การให้เหตุผลแบบอุปนัยจะพิสูจน์ความสมเหตุสมผลไม่ได้โดยนิรนัย ดังนั้น จึงเป็นปัญหาของการอุปนัย
โครงสร้างการให้เหตุผล
การให้เหตุผล/ข้อโต้แย้ง (argument) ปกติจะมีข้ออ้าง (claim) ที่สนับสนุนด้วยการให้เหตุผล (reasoning) และหลักฐาน (evidence) ปกติจะเป็นข้อความหลายข้อที่แสดงข้อตั้ง (premise) เพื่อสนับสนุนข้อสรุป (conclusion) การอ้างก้อนหินมีข้อสรุปที่ชัดแจ้ง แต่จะไม่มีข้อตั้งต่างๆ เพื่อแสดงความสมเหตุสมผลของข้อสรุปที่อ้าง
ตามทฤษฎีการให้เหตุผล (theory of argumentation) การให้เหตุผลหรือการนิรนัยจะต้องมีข้อสมมุติหรือข้อตั้ง ที่นำไปสู่ข้อสรุปหรือประเด็นที่ต้องการ การอ้างก้อนหินไร้หลักฐานเมื่อปฏิเสธข้ออ้างเดิม ซึ่งจำกัดการโต้แย้งของฝ่ายตรงข้าม
ปัญหา
จำกัดการโต้เถียง
เมื่อกำลังโต้เถียงกัน ถ้าฝ่ายหนึ่งยกข้ออ้างซึ่งอีกฝ่ายไม่เห็นด้วย "ภาระการพิสูจน์" (burden of proof) ก็จะตกอยู่กับฝ่ายที่ยกข้ออ้าง คือต้องให้เหตุผลสำหรับข้ออ้างนั้น โดยเฉพาะถ้าข้ออ้างขัดกับสิ่งที่ได้ยอมรับกันเป็นปกติแล้ว เพราะการยกก้อนหินเป็นการคัดค้านข้ออ้างดั้งเดิม ดังนั้น ภาระการพิสูจน์จึงตกอยู่กับผู้ที่ยกข้ออ้างดั้งเดิม แต่ก็จะทำได้ยากเพราะการยกก้อนหินไม่ได้ระบุเหตุผลว่าทำไมจึงคัดค้าน
อนึ่ง เทคนิคนี้มักใช้ร่วมกับเหตุผลวิบัติทางตรรกะอื่นๆ ที่จำกัดการสนทนาต่อๆ ไป เช่น อาจจะโจมตีอีกฝ่ายแบบ ad-hominem เพื่อจะได้ไม่ต้องกล่าวถึงประเด็น หรืออาจใช้กับวิธีหุ่นฟางเพื่อทำลายเครดิตของอีกฝ่าย
ในทฤษฎี 2 ระบบของแดเนียล คาฮ์นะมัน
นักจิตวิทยาชาวอิสราเอลแดเนียล คาฮ์นะมัน ได้ตั้งทฤษฎีสองระบบขึ้นเพื่อให้เหตุผลว่าทำไมจึงเกิดเหตุผลวิบัติทางตรรกะ ทฤษฎีระบุว่ามนุษย์ใช้ระบบ 1 และระบบ 2 ในกระบวนการตัดสินใจ ระบบ 1 จะทำงานได้อย่างรวดเร็วและปกติจะใช้ฮิวริสติกในการประเมินและการตัดสินใจสำหรับกิจการงานที่ไม่ต้องใส่ใจมาก กิจที่ต้องใส่ใจมากกว่าจะใช้ระบบ 2 เพื่อพิจารณาหาเหตุผลให้ได้ข้อสรุป
เหตุผลวิบัติทางตรรกะหลายอย่างใช้ระบบ 1 เพื่อการตัดสินใจหาข้อสรุปที่รวดเร็วโดยอาศัยอารมณ์ความรู้สึก แต่ถ้าเป็นคนช่างคิดวิเคราะห์ข้อสรุปที่ตนเองได้และคิดอย่างมีระเบียบแบบแผน ก็อาจหลีกเลี่ยงเหตุผลวิบัติทางตรรกะได้
โครงร่างการให้เหตุผลของทูลมิน
โครงร่างการให้เหตุผลออกทูลมิน (Toulmin’s argumentation framework) แสดงองค์ประกอบการให้เหตุผลเป็น claim (ข้ออ้าง), grounds (ฐาน), warrant (ข้อรับรอง), qualifier (คำจำกัด), rebuttal (ข้อโต้แย้ง) และ backing (ข้อสนับสนุน) ฐานของ assumption (ข้อสมมุติ) จะต้องมีข้อรับรองและข้อสนับสนุน เพื่อรองรับข้ออ้างและเพื่อพิสูจน์ว่า conclusion (ข้อสรุป) คงเส้นคงวา ข้ออ้างเบื้องต้นของการโต้แย้งก็คือข้อเท็จจริงที่ผู้ให้เหตุผลพยายามพูดให้อีกฝ่ายหนึ่งยอมรับ ฐานของการให้เหตุผลก็คือหลักฐานที่ใช้สนับสนุนข้อเท็จจริงเบื้องต้น ข้อรับรองก็คือข้อสมมุติที่ใช้เชื่อมฐานกับข้ออ้าง ข้อสนับสนุนเป็นหลักฐานเพิ่มเติมเพื่อพิสูจน์ข้ออ้างและสนับสนุนข้อรับรอง คำจำกัดใช้แสดงว่าข้ออ้างอาจจะไม่ถูกต้องเสมอ (เช่นคำว่า บางครั้ง โดยมาก บางส่วน) โดยขึ้นอยู่กับสถานการณ์ และท้ายสุด ข้อโต้แย้งเป็นข้ออ้างที่อีกฝ่ายเสนอในการโต้แย้งนี้
การอ้างก้อนหินมีแต่ฐานกับข้ออ้างโดยที่ไม่มีข้อรับรองหรือข้อสนับสนุนที่สมเหตุสมผลเพื่อสนับสนุนข้ออ้าง อนึ่ง ก็จะไม่มีคำจำกัดด้วยซึ่งเท่ากับจำกัดข้อโต้แย้งของอีกฝ่ายหนึ่ง เพราะการอ้างก้อนหินไม่ได้ให้หลักฐานที่สมเหตุผล จึงหาข้อโต้แย้งได้ยาก[]
วิธีที่คล้ายกันอื่นๆ
Reductio ad absurdum
การอ้างก้อนหินมีโครงสร้างที่คล้ายกันกับการให้เหตุผลแบบ reductio ad absurdum (แปลว่า การลดเหลือเป็นเรื่องเหลวไหล) ซึ่งโต้ว่า ข้อสมมุติของการให้เหตุผลของอีกฝ่าย หรือวิธีการให้เหตุผลจะก่อข้อสรุปที่เหลวไหล แม้การยกก้อนหินจะไม่ได้ระบุตรงๆ ว่าข้อความดั้งเดิมเหลวไหล แต่การปฏิเสธข้ออ้างดั้งเดิมก็มักจะสมมุติว่าข้ออ้างดั้งเดิมไม่ถูกต้องหรือเหลวไหล ส่วน reductio ad absurdum จะอ้างว่า ถ้าข้ออ้างดั้งเดิมเป็นจริง ข้อสรุปเหลวไหลบางอย่างอื่นก็จะเป็นจริงด้วย
การทวนคำถาม
การทวนคำถาม (begging the question, petitio principii) เป็นข้อสรุปที่อาศัยข้อสมมุติที่ต้องได้ข้อพิสูจน์หรือการอธิบายเพิ่มขึ้น การทวนคำถามอาจเรียกได้ว่าเป็นการ "ไม่สนใจคำถามเพราะสมมุติว่ามันมีคำตอบแล้ว" การให้เหตุผลโดยทวนคำถามมักจะสร้างคำถามเพิ่มขึ้น
Ad nauseam
คำละตินว่า ad nauseam หมายถึงการกล่าวอะไรซ้ำๆ จนน่าเบื่อหน่าย เป็นเหตุผลวิบัติที่ใช้ในการโต้เถียงโดยกล่าวความเห็นในเรื่องหนึ่งๆ อย่างซ้ำๆ เกินความจำเป็น เพราะการยกก้อนหินไม่มีหลักฐานเพื่อปฏิเสธข้ออ้าง จึงอาจถูกใช้ในรูปแบบ ad nauseam เพราะถ้าไม่สามารถยุติการโต้เถียงได้ ก็จะทำให้ทั้งสองฝ่ายโต้เถียงกันจนกระทั่งเบื่อหน่ายโดยไม่ได้ข้อสรุปที่สมควร
ปฏิเสธนิยม
ปฏิเสธนิยม (denialism) ก็คือการปฏิเสธความจริงแม้เมื่อมีหลักฐานที่หนักแน่น โดยผู้ใช้น่าจะมีแรงจูงใจที่ซ่อนอยู่เช่น ประโยชน์ส่วนตัวหรือเพื่อเลี่ยงความจริงที่ทำให้ไม่สบายใจ วิธีการโต้แย้งการปฏิเสธเช่นนี้ก็คือ การจำแนกรากฐานความเชื่อแล้วแสดงหลักฐานที่พิสูจน์ความเท็จของความเชื่อแต่ละอย่าง
ดูเพิ่ม
เชิงอรรถและอ้างอิง
- "Subjective idealism | philosophy". Encyclopedia Britannica (ภาษาอังกฤษ). จากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-07. สืบค้นเมื่อ 2020-11-03.
- Patey, Douglas Lane (January 1986). "Johnson's Refutation of Berkeley: Kicking the Stone Again". Journal of the History of Ideas. 47 (1): 139–145. doi:10.2307/2709600. JSTOR 2709600. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-03-10. สืบค้นเมื่อ 2020-11-03.
- Hallett, H. F. (1947). "Dr. Johnson's Refutation of Bishop Berkeley". Mind. 56 (222): 132–147. doi:10.1093/mind/LVI.222.132. ISSN 0026-4423. JSTOR 2250515. PMID 20243642. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-08-29. สืบค้นเมื่อ 2020-11-03.
- Audi, Robert, บ.ก. (2015). The Cambridge Dictionary of Philosophy (3 ed.). New York: Cambridge University Press. doi:10.1017/cbo9781139057509. ISBN .
- McNair, G. H.; Davies, Arthur Ernest (1917-02-15). "A Text-book on Logic". The Journal of Philosophy, Psychology and Scientific Methods. 14 (4): 109. doi:10.2307/2012956. ISSN 0160-9335. JSTOR 2012956. S2CID 60139391. สืบค้นเมื่อ 2020-11-19.
- Feeney, Aidan; Heit, Evan, บ.ก. (2001-01-01). Inductive Reasoning. doi:10.1017/cbo9780511619304. ISBN . จากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-10-07. สืบค้นเมื่อ 2020-11-19.
- (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-05-28. สืบค้นเมื่อ 2020-11-19.
- Eemeren, Frans Hendrik; Grootendorst, Robert (2004). A Systematic Theory of Argumentation. New York: Cambridge University Press. ISBN . OCLC 69139196.
- Cargile, James (January 1997). "On the burden of proof". Philosophy. Cambridge University Press. 72 (279): 59–83. doi:10.1017/s0031819100056655. JSTOR 3751305. S2CID 170772287.
- Hannibal, Martin; Mountford, Lisa (September 2017). "15. The Burden of Proof". Law Trove. doi:10.1093/he/9780198787679.003.0015.
- HOW TO WIN AN ARGUMENT, Princeton University Press, 2017-10-31, pp. 1–134, doi:10.2307/j.ctvc77chr.5, ISBN , จากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-10-07, สืบค้นเมื่อ 2020-11-19
- "Definition of AD HOMINEM". www.merriam-webster.com (ภาษาอังกฤษ). จากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-11-04. สืบค้นเมื่อ 2020-11-19.
- "Definition of STRAW MAN". www.merriam-webster.com (ภาษาอังกฤษ). จากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-06-25. สืบค้นเมื่อ 2020-11-19.
- Arvai, Joseph (November 2013). "Thinking, fast and slow, Daniel Kahneman, Farrar, Straus & Giroux". Journal of Risk Research. 16 (10): 1322–1324. doi:10.1080/13669877.2013.766389. ISSN 1366-9877. S2CID 144799829. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-10-07. สืบค้นเมื่อ 2020-11-03.
- Risen, Jane; Gilovich, Thomas (2006), Sternberg, Robert J.; Roediger III, Henry L.; Halpern, Diane F. (บ.ก.), "Informal Logical Fallacies", Critical Thinking in Psychology, Cambridge: Cambridge University Press, pp. 110–130, doi:10.1017/cbo9780511804632.008, ISBN , จากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-10-07, สืบค้นเมื่อ 2020-11-03
- Lab, Purdue Writing. "Toulmin Argument". Purdue Writing Lab (ภาษาอังกฤษ). จากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-11-20. สืบค้นเมื่อ 2020-11-19.
- Odintsov, S. P. (2003-11-23). ""Reductio ad absurdum" and Łukasiewicz's modalities". Logic and Logical Philosophy. 11. doi:10.12775/llp.2003.008. ISSN 1425-3305.
- Rescher, Nicholas (2017). "Reductio ad absurdum". Historisches Wörterbuch der Philosophie online. doi:10.24894/hwph.3487. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-10-07. สืบค้นเมื่อ 2020-11-19.
- Garner, Bryan A. (2016). "Garner's Modern English Usage". Oxford Reference. doi:10.1093/acref/9780190491482.001.0001. ISBN . จากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-10-07. สืบค้นเมื่อ 2020-11-19.
- Griffith, Bryant (2016), "What Does it Mean to Question?", NextGeners, Rotterdam: SensePublishers, pp. 53–83, doi:10.1007/978-94-6300-642-2_3, ISBN , จากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-10-07, สืบค้นเมื่อ 2020-11-19
- "AD NAUSEAM | meaning in the Cambridge English Dictionary". dictionary.cambridge.org (ภาษาอังกฤษ). จากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-02. สืบค้นเมื่อ 2020-11-20.
- "Definition of DENIALISM". www.merriam-webster.com (ภาษาอังกฤษ). จากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-11-28. สืบค้นเมื่อ 2020-11-20.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karxangkxnhin xngkvs appeal to the stone argumentum ad lapidem epnehtuphlwibtithangtrrka epnkarptiesthimyxmrbehtuphlhnung odyxangwaimcringhruxehlwihl sungxacthasa odyimihehtuphlxun withinikhlaykb proof by assertion sungepnkarklawsingediywknsa imwafaytrngkhamcakhanxyangir odykhlayknephraaepnkarklawephuxihechuxodyirhlkthan niepnehtuphlwibtixrupnyephraaepnkarihehtuphlaebbxupnyephuxphisucnkhxethccringthirabu odysarakhxngkarihehtuphlcaimdi niethiybkbehtuphlwibtirupnythirupaebbhruxokhrngsrangkhxngkarihehtuphlcaimthuktxngtwxyangkarxangkxnhinepnehtuphlmi 4 khntxn fayhnungtngkhxxang xikfayptiesth fayaerkthamwathaimcungptiesth xikfayklawpdkhathamodyimihehtuphlfayaerk orkhtidtxekidcakculinthriythimxngimehndwytaepla xikfay singthikhunphudimthuk fayaerk thaimthungkhidwaimthuk xikfay mnfngduehmuxneruxngehlwihl xikfayptiesthkhxxangkhxngfayaerkodyimidihhlkthanxair sungxaccadiinkrnithikhxxangkhxngfayaerkkhdaeyngknexng hruxphidrupphidrangcnimsmehtusmphlprawtidr samuexl cxhnsn thiepnehtuihekidchuxehtuphlwibtinikaenidchux chux karxangkxnhin macakkhxotethiyngknrahwangnkphcnanukrm dr samuexl cxhnsnkbecms bxsewllekiywkbthvsdixssarniym immaterialism sungrabuwakhwamepncringcakhunxyukbkarrbruolkkhxngbukhkhl odywtthuthiepnssarcaekiywenuxngkbkarrbrutwwtthunn hlngcakthiphwkeraxxkmacakobsth kidyunkhuyknskphkhnungekiywkbmukhnaykbarkliyphuichkharmxnkhmkhayephuxphisucnwassarimmicring aelawathuksingthukxyanginexkphphepnephiyngeruxngcintnakar phmidihkhxsngektwa aemeracaehnphxngknwahlkkar niimepncring aetkimsamarthphisucnwaimcringid phmcaimmiwnlumwacxhnsn ottxbiderwaekhihn odyetahinkxnihyxyangaerngcnethaedngxxkaelwklawwa phmptiesthmnxyangni Boswell James The Life of Samuel Johnson cudmunghmaykhxng dr cxhnsnkkhux thaekhasamarthetakxnhindwyetha kareriykkxnhinwa xssar kcatxngepneruxngehlwihlkarcdhmwdhmuehtuphlwibtixrupnythangtrrka ehtuphlwibtixrupnythangtrrkaepnkhwamekhaicphidephraamiehtuphlbkphrxng ephraaxasykarihehtuphlaebbxupny cungxacphidphladaelwthaihekhaicwaepnehtuphlthidiaetcring imich ehtuphlwibtiodyimekhapraedn khxsrupnxkpraednmiokhrngsrangkhlay kbkarxangkxnhin epnkarihhlkthanaekkhxsrupnxkpraedn imichkhxsrupedim echn karptiesththvsdixssarniymkhxng dr cxhnsndwykaretakxnhin cring imidptiesththvsdiodytrng aetklbrabukhxsrupthiimekhakbthvsdi karihehtuphlaebbxupny karxangkxnhinepnkarihehtuphlaebbxupny swnehtuphlwibtirupnyichkarihehtuphlaebbnirnyaelaichokhrngsrangaebbrupnyephuxihehtuphl sungtangkbkarihehtuphlaebbxupnysungimichwithiechnni karihehtuphlaebbxupnymikhxsrupthiimaennxnephraatxngxnumancaksthankarn hruxbukhkhl wtthu hruxehtukarnodyechphaa inbribthkhxngkarxangkxnhin mikarihehtuphlaebbxupnyephuxkhdkhankhxxangedimodyimidihkhaxthibayephim aetkarihehtuphlaebbxupnyxacepliynipidthaidkhxmulhruxhlkthanihm thilmkhxsmmutikhxngkarxupnyid karihehtuphlaebbxupnysmmutiwaoxkasepnipidkhxngkhxtngsamarthichepnhlkthansnbsnun txngkarxangxing karihehtuphlaebbxupnycadihruximdikkhunxyukbkhwamhnkaennkhxngehtuphl aetaetlakhncarusukwahnkaennimethakn odykhunxyukbkhwamkhidkhwamrusukthimixyuaelwineruxngnn cudxxnkhxngkarihehtuphlaebbxupnyethiybkbkarihehtuphlaebbnirnykkhux imsamarthpraeminkhwamsmehtusmphlhruxkhwamaennxnkhxngkhxxang khwamsmehtusmphlcakhunxyukbwakhxmulthiihepncringhruxim aetthaepnhlkthanethcephuxphisucnwakhxsrupepnethc kxacichidehmuxnkn dngnnkarihehtuphlcacdwaaennxnktxemuxkhxsmmuti khxtngkhxngkarihehtuphlnnepncring imehmuxnknkbkarihehtuphlaebbnirny karihehtuphlaebbxupnycaphisucnkhwamsmehtusmphlimidodynirny dngnn cungepnpyhakhxngkarxupnyokhrngsrangkarihehtuphlkarihehtuphl khxotaeyng argument pkticamikhxxang claim thisnbsnundwykarihehtuphl reasoning aelahlkthan evidence pkticaepnkhxkhwamhlaykhxthiaesdngkhxtng premise ephuxsnbsnunkhxsrup conclusion karxangkxnhinmikhxsrupthichdaecng aetcaimmikhxtngtang ephuxaesdngkhwamsmehtusmphlkhxngkhxsrupthixang tamthvsdikarihehtuphl theory of argumentation karihehtuphlhruxkarnirnycatxngmikhxsmmutihruxkhxtng thinaipsukhxsruphruxpraednthitxngkar karxangkxnhinirhlkthanemuxptiesthkhxxangedim sungcakdkarotaeyngkhxngfaytrngkhampyhacakdkarotethiyng emuxkalngotethiyngkn thafayhnungykkhxxangsungxikfayimehndwy pharakarphisucn burden of proof kcatkxyukbfaythiykkhxxang khuxtxngihehtuphlsahrbkhxxangnn odyechphaathakhxxangkhdkbsingthiidyxmrbknepnpktiaelw ephraakarykkxnhinepnkarkhdkhankhxxangdngedim dngnn pharakarphisucncungtkxyukbphuthiykkhxxangdngedim aetkcathaidyakephraakarykkxnhinimidrabuehtuphlwathaimcungkhdkhan xnung ethkhnikhnimkichrwmkbehtuphlwibtithangtrrkaxun thicakdkarsnthnatx ip echn xaccaocmtixikfayaebb ad hominem ephuxcaidimtxngklawthungpraedn hruxxacichkbwithihunfangephuxthalayekhrditkhxngxikfay inthvsdi 2 rabbkhxngaedeniyl khahnamn nkcitwithyachawxisraexlaedeniyl khahnamn idtngthvsdisxngrabbkhunephuxihehtuphlwathaimcungekidehtuphlwibtithangtrrka thvsdirabuwamnusyichrabb 1 aelarabb 2 inkrabwnkartdsinic rabb 1 cathanganidxyangrwderwaelapkticaichhiwristikinkarpraeminaelakartdsinicsahrbkickarnganthiimtxngisicmak kicthitxngisicmakkwacaichrabb 2 ephuxphicarnahaehtuphlihidkhxsrup ehtuphlwibtithangtrrkahlayxyangichrabb 1 ephuxkartdsinichakhxsrupthirwderwodyxasyxarmnkhwamrusuk aetthaepnkhnchangkhidwiekhraahkhxsrupthitnexngidaelakhidxyangmiraebiybaebbaephn kxachlikeliyngehtuphlwibtithangtrrkaid okhrngrangkarihehtuphlkhxngthulmin twxyangokhrngrangkarihehtuphlkhxngthulmin okhrngrangkarihehtuphlxxkthulmin Toulmin s argumentation framework aesdngxngkhprakxbkarihehtuphlepn claim khxxang grounds than warrant khxrbrxng qualifier khacakd rebuttal khxotaeyng aela backing khxsnbsnun thankhxng assumption khxsmmuti catxngmikhxrbrxngaelakhxsnbsnun ephuxrxngrbkhxxangaelaephuxphisucnwa conclusion khxsrup khngesnkhngwa khxxangebuxngtnkhxngkarotaeyngkkhuxkhxethccringthiphuihehtuphlphyayamphudihxikfayhnungyxmrb thankhxngkarihehtuphlkkhuxhlkthanthiichsnbsnunkhxethccringebuxngtn khxrbrxngkkhuxkhxsmmutithiichechuxmthankbkhxxang khxsnbsnunepnhlkthanephimetimephuxphisucnkhxxangaelasnbsnunkhxrbrxng khacakdichaesdngwakhxxangxaccaimthuktxngesmx echnkhawa bangkhrng odymak bangswn odykhunxyukbsthankarn aelathaysud khxotaeyngepnkhxxangthixikfayesnxinkarotaeyngni karxangkxnhinmiaetthankbkhxxangodythiimmikhxrbrxnghruxkhxsnbsnunthismehtusmphlephuxsnbsnunkhxxang xnung kcaimmikhacakddwysungethakbcakdkhxotaeyngkhxngxikfayhnung ephraakarxangkxnhinimidihhlkthanthismehtuphl cunghakhxotaeyngidyak txngkarxangxing withithikhlayknxunReductio ad absurdum karxangkxnhinmiokhrngsrangthikhlayknkbkarihehtuphlaebb reductio ad absurdum aeplwa karldehluxepneruxngehlwihl sungotwa khxsmmutikhxngkarihehtuphlkhxngxikfay hruxwithikarihehtuphlcakxkhxsrupthiehlwihl aemkarykkxnhincaimidrabutrng wakhxkhwamdngedimehlwihl aetkarptiesthkhxxangdngedimkmkcasmmutiwakhxxangdngedimimthuktxnghruxehlwihl swn reductio ad absurdum caxangwa thakhxxangdngedimepncring khxsrupehlwihlbangxyangxunkcaepncringdwy karthwnkhatham karthwnkhatham begging the question petitio principii epnkhxsrupthixasykhxsmmutithitxngidkhxphisucnhruxkarxthibayephimkhun karthwnkhathamxaceriykidwaepnkar imsnickhathamephraasmmutiwamnmikhatxbaelw karihehtuphlodythwnkhathammkcasrangkhathamephimkhun Ad nauseam khalatinwa ad nauseam hmaythungkarklawxairsa cnnaebuxhnay epnehtuphlwibtithiichinkarotethiyngodyklawkhwamehnineruxnghnung xyangsa ekinkhwamcaepn ephraakarykkxnhinimmihlkthanephuxptiesthkhxxang cungxacthukichinrupaebb ad nauseam ephraathaimsamarthyutikarotethiyngid kcathaihthngsxngfayotethiyngkncnkrathngebuxhnayodyimidkhxsrupthismkhwr ptiesthniym ptiesthniym denialism kkhuxkarptiesthkhwamcringaememuxmihlkthanthihnkaenn odyphuichnacamiaerngcungicthisxnxyuechn praoychnswntwhruxephuxeliyngkhwamcringthithaihimsbayic withikarotaeyngkarptiesthechnnikkhux karcaaenkrakthankhwamechuxaelwaesdnghlkthanthiphisucnkhwamethckhxngkhwamechuxaetlaxyangduephimsthaniyxyprchyakhxsrupnxkpraedn erdehrringechingxrrthaelaxangxing Subjective idealism philosophy Encyclopedia Britannica phasaxngkvs cakaehlngedimemux 2019 06 07 subkhnemux 2020 11 03 Patey Douglas Lane January 1986 Johnson s Refutation of Berkeley Kicking the Stone Again Journal of the History of Ideas 47 1 139 145 doi 10 2307 2709600 JSTOR 2709600 cakaehlngedimemux 2021 03 10 subkhnemux 2020 11 03 Hallett H F 1947 Dr Johnson s Refutation of Bishop Berkeley Mind 56 222 132 147 doi 10 1093 mind LVI 222 132 ISSN 0026 4423 JSTOR 2250515 PMID 20243642 cakaehlngedimemux 2023 08 29 subkhnemux 2020 11 03 Audi Robert b k 2015 The Cambridge Dictionary of Philosophy 3 ed New York Cambridge University Press doi 10 1017 cbo9781139057509 ISBN 978 1 139 05750 9 McNair G H Davies Arthur Ernest 1917 02 15 A Text book on Logic The Journal of Philosophy Psychology and Scientific Methods 14 4 109 doi 10 2307 2012956 ISSN 0160 9335 JSTOR 2012956 S2CID 60139391 subkhnemux 2020 11 19 Feeney Aidan Heit Evan b k 2001 01 01 Inductive Reasoning doi 10 1017 cbo9780511619304 ISBN 9780521856485 cakaehlngedimemux 2023 10 07 subkhnemux 2020 11 19 phasaxngkvsaebbxemrikn khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2010 05 28 subkhnemux 2020 11 19 Eemeren Frans Hendrik Grootendorst Robert 2004 A Systematic Theory of Argumentation New York Cambridge University Press ISBN 978 0 511 18430 7 OCLC 69139196 Cargile James January 1997 On the burden of proof Philosophy Cambridge University Press 72 279 59 83 doi 10 1017 s0031819100056655 JSTOR 3751305 S2CID 170772287 Hannibal Martin Mountford Lisa September 2017 15 The Burden of Proof Law Trove doi 10 1093 he 9780198787679 003 0015 HOW TO WIN AN ARGUMENT Princeton University Press 2017 10 31 pp 1 134 doi 10 2307 j ctvc77chr 5 ISBN 978 1 4008 8335 6 cakaehlngedimemux 2023 10 07 subkhnemux 2020 11 19 Definition of AD HOMINEM www merriam webster com phasaxngkvs cakaehlngedimemux 2016 11 04 subkhnemux 2020 11 19 Definition of STRAW MAN www merriam webster com phasaxngkvs cakaehlngedimemux 2016 06 25 subkhnemux 2020 11 19 Arvai Joseph November 2013 Thinking fast and slow Daniel Kahneman Farrar Straus amp Giroux Journal of Risk Research 16 10 1322 1324 doi 10 1080 13669877 2013 766389 ISSN 1366 9877 S2CID 144799829 cakaehlngedimemux 2023 10 07 subkhnemux 2020 11 03 Risen Jane Gilovich Thomas 2006 Sternberg Robert J Roediger III Henry L Halpern Diane F b k Informal Logical Fallacies Critical Thinking in Psychology Cambridge Cambridge University Press pp 110 130 doi 10 1017 cbo9780511804632 008 ISBN 978 0 511 80463 2 cakaehlngedimemux 2023 10 07 subkhnemux 2020 11 03 Lab Purdue Writing Toulmin Argument Purdue Writing Lab phasaxngkvs cakaehlngedimemux 2020 11 20 subkhnemux 2020 11 19 Odintsov S P 2003 11 23 Reductio ad absurdum and Lukasiewicz s modalities Logic and Logical Philosophy 11 doi 10 12775 llp 2003 008 ISSN 1425 3305 Rescher Nicholas 2017 Reductio ad absurdum Historisches Worterbuch der Philosophie online doi 10 24894 hwph 3487 cakaehlngedimemux 2023 10 07 subkhnemux 2020 11 19 Garner Bryan A 2016 Garner s Modern English Usage Oxford Reference doi 10 1093 acref 9780190491482 001 0001 ISBN 978 0 19 049148 2 cakaehlngedimemux 2023 10 07 subkhnemux 2020 11 19 Griffith Bryant 2016 What Does it Mean to Question NextGeners Rotterdam SensePublishers pp 53 83 doi 10 1007 978 94 6300 642 2 3 ISBN 978 94 6300 642 2 cakaehlngedimemux 2023 10 07 subkhnemux 2020 11 19 AD NAUSEAM meaning in the Cambridge English Dictionary dictionary cambridge org phasaxngkvs cakaehlngedimemux 2020 06 02 subkhnemux 2020 11 20 Definition of DENIALISM www merriam webster com phasaxngkvs cakaehlngedimemux 2020 11 28 subkhnemux 2020 11 20