การประชุมสันติภาพเจนีวา จัดขึ้นเมื่อวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2534 เพื่อหาทางออกอย่างสันติสำหรับการยึดครองคูเวตของอิรัก เพื่อหลีกเลี่ยงสงครามระหว่างอิรักและกองกำลังผสมซึ่งได้รับการสนับสนุนโดยสหรัฐอเมริกา ผู้แทนอิรัก ได้แก่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ฏอริก อาสีส ส่วนผู้แทนสหรัฐ ได้แก่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ เจมส์ เบเกอร์ การประชุมดังกล่าวกินเวลานานเกือบเจ็ดชั่วโมง โดยที่คู่เจรจาทั้งสองฝ่ายต่างก็ไม่สามารถตกลงที่จะเปลี่ยนแปลงทัศนะดั้งเดิมของตน อิรักปฏิเสธที่จะยอมถอนทหารออกจากคูเวต ในขณะที่สหรัฐและพันธมิตรยังต้องการให้อิรักถอนทหารออกไปในทันที การประชุมดังกล่าวเป็นการทาบทามครั้งสุดท้ายก่อนที่สงครามอ่าวจะปะทุขึ้น
เบื้องหลัง
วันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2533 คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติผ่านมติ 678 ซึ่งมอบอำนาจให้รัฐสมาชิก "ใช้ทุกวิธีการที่จำเป็นเพื่อสนับสนุนและทำให้มติที่ผ่านมาทั้งหมดที่ต้องการให้อิรักถอนกำลังทหารออกจากคูเวตในทันทีเป็นผลสำเร็จ" เป้าหมายของมติดังกล่าวคือ การให้สารแก่ซัดดัม ฮุสเซนอย่างเด็ดขาดครั้งสุดท้ายว่า สหประชาชาติจะไม่ยินยอมให้อิรักคงการยึดครองคูเวตต่อไป แม้ว่าสหภาพโซเวียต พันธมิตรอันใกล้ชิดของอิรักและอดีตศัตรูของสหรัฐอเมริกา จะพยายามเกลี้ยกล่อมให้ซัดดัมพิจารณาการกระทำของเขาอีกครั้งหนึ่งแล้วก็ตาม ผู้นำโซเวียต มิฮาอิล กอร์บาชอฟ พยายามที่จะเปลี่ยนใจซัดดัมที่จะมองข้ามผลประโยชน์ของตนเอง และทำเพื่อประโยชน์ที่ดีที่สุดของอิรัก เขาประสบความสำเร็จในการทำให้รัฐสมาชิกอื่นของสหประชาชาติเพิ่ม "ช่วงเวลาแห่งความปรารถนาดี" ในมติที่ 678 ช่วงเวลาแห่งความปรารถนาดีนี้เพื่อให้อิรักมีโอกาสทบทวนนโยบายและการกระทำของตน โดยหวังว่าอิรักจะตัดสินใจถอนกำลังทหารและหลีกเลี่ยงวิกฤตการณ์ที่กำลังก่อตัวขึ้น
ในสหรัฐอเมริกา ประธานาธิบดี จอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุช ยืนกรานที่จะบรรลุ "ไมล์เพิ่มเติมสำหรับสันติภาพ" การทาบทามดังกล่าวเปิดโอกาสให้มีการสนทนาระหว่างอิรักกับสหรัฐอเมริกา ทัศนะของสหรัฐรวมถึงทางเลือกในการรับการมาเยือนของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศอิรัก ฏอริก อาสีส และส่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ เบเกอร์ ไปเยือนอิรัก เป้าหมายหลักเบื้องหลังไมล์เพิ่มเติมสำหรับสันติภาพนี้ เพื่อให้ความมั่นใจแก่พลเมืองอเมริกันว่ารัฐบาลกำลังทำทุกวิถีทางเพื่อหลีกเลี่ยงการเผชิญหน้าทางทหารกับอิรัก
อิรักต้อนรับโอกาสที่จะได้พูดคุยโดยตรงกับสหรัฐ นับตั้งแต่การบุกครองคูเวตเริ่มขึ้น ซัดดัมพยายามวิ่งเต้นเพื่อให้เกิดการเจรจาโดยตรงกับสหรัฐ อิรักเคยปฏิเสธการเจรจาแบบตัวต่อตัวในอดีต รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสารสนเทศของอิรัก ลาติฟ นุสเซท จะซิม กล่าวว่า อิรักปรารถนาที่จะอภิปรายถึง "วิกฤตการณ์อ่าว [เปอร์เซีย] ทุกด้าน โดยไม่มีข้อแม้ นานตราบเท่าที่อเมริกันเตรียมพร้อมที่จะเจรจาโดยไม่มีการวางเงื่อนไขล่วงหน้า"
กลุ่มประเทศอาหรับอื่น ๆ เรียกร้องให้ซัดดัมยอมปฏิบัติตามมติที่ 678 ประธานาธิบดีอียิปต์ มูฮัมหมัด โฮซนี มูบารัค และพระมหากษัตริย์ซาอุดิอาระเบีย ฟาฮัด ตลอดจนประมุขแห่งรัฐของประเทศเหล่านี้ ได้เรียกร้องอย่างเปิดเผยให้มีการถอนกำลังทหารอย่างไม่มีเงื่อนไขออกจากคูเวต รัฐมนตรีว่าการะทรวงกลาโหมซีเรียกล่าวว่าซีเรียจะเพิ่มการกดดันทางทหารต่ออิรักหากอิรักไม่ปฏิบัติตาม หลังจากการประชุมในไคโร เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2533 ซาอุดิอาระเบีย ซีเรีย และอียิปต์ ได้ออกแถลงการณ์ ความว่า "การทาบทามของบุชสร้างโอกาสสุดท้ายในการขจัดภยันตรายของสงครามจากภูมิภาคนี้ ซัดดัมควรจะฉวยเอาโอกาสนี้ในการถอนกำลังทหารออกจากคูเวต ดีกว่าทำให้ภูมิภาคนี้พัวพันกับสงครามที่นองเลือดและไร้ประโยชน์"
ระหว่างพยายามตัดสินใจหาวันที่ตัวแทนจากอิรักและสหรัฐจะมาประชุมกัน ซัดดัมยืนกรานว่าวันที่นั้นจะต้องใกล้กับเส้นตายของมติที่ 678 เป้าหมายของเขาคือพยายามที่จะหลีกเลี่ยงมติดังกล่าว สหรัฐต้องการให้วันที่ประชุมอยู่ระหว่างวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2533 และ 3 มกราคม พ.ศ. 2534 เพื่อให้เวลาแก่ซัดดัมเพียงพอที่จะถอนกองทัพอิรัก ยิ่งเวลาเข้าใกล้เส้นตายของมติมากยิ่งขึ้นเท่าใด ความยืดหยุ่นของซัดดัมก็จะยิ่งมีมากขึ้นเท่านั้น เพราะเป็นไปไม่ได้ที่จะถอนกำลังทหารจำนวนมากภายในเวลาไม่กี่วัน ขณะที่ซัดดัมยื้อให้การประชุมดังกล่าวมีขึ้นใกล้กับเส้นตายของมติที่ 678 ประธานาธิบดีบุชฝืนใจเสนอให้การประชุมมีขึ้นในเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2534 และสุดท้าย ได้มีการตกลงกันว่า ฏอริก อาสีส และเจมส์ เบเกอร์จะประชุมกันเพื่ออภิปรายถึงการยึดครองคูเวตและมติสหประชาชาติ ประธานาธิบดีบุชได้เคยให้สัญญาต่อรัฐสภาสหรัฐอเมริกาว่าจะไม่มีมติใดเสนอต่อรัฐสภาจนกระทั่งหลังจากการประชุมดังกล่าวสิ้นสุดลง
ผลที่ตามมา
ผลของการประชุมเจนีวาไม่มีความคืบหน้าที่สำคัญต่อการแก้ไขปัญหาการยึดครองคูเวตของอิรัก ฏอริก อาสีส มีอำนาจเพียงเล็กน้อยในการเปลี่ยนแปลงทัศนะของอิรักและจำเป็นต้องให้การสนับสนุนทัศนะดั้งเดิมของซัดดัม ซัดดัมได้ใช้การประชุมดังกล่าวเพื่อจุดประสงค์ด้านการโฆษณาชวนเชื่อในอิรัก ขณะที่สหรัฐอเมริกาใช้การประชุมดังกล่าวเพื่อแสดงให้โลกเห็นว่าตนกำลังวิตกกับการแก้ไขวิกฤตการณ์ดังกล่าวโดยไม่มีปฏิบัติการทางทหาร และเพื่อแจ้งให้ซัดดัมทราบว่าอะไรจะเกิดขึ้นหากเขาไม่สามารถถอนกำลังทหารอิรักออกจากคูเวตได้ การประชุมดังกล่าวกลายเป็นจุดเริ่มต้นของสิ่งที่ในเวลาต่อมาเป็นที่รู้จักกันว่า สงครามอ่าว หรือปฏิบัติการพายุทะเลทราย ประเทศอาหรับยืนกรานว่าสหรัฐอเมริกาจะต้องดำเนินการตามมติที่ 678 และเสนอการสนับสนุนทางเศรษฐกิจ การเมือง และการทหารเพื่อดำเนินการในมติทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการยึดครองคูเวต
ภายหลังการประชุม อาสีสอธิบายแก่สื่อว่า อิรักต้องการทางออกอย่างสันติต่อปัญหาในภูมิภาค แต่มันไม่สามารถเป็นเพียงสิ่งที่เกี่ยวข้องเฉพาะแต่การยึดครองคูเวตเท่านั้น แต่มันจะต้องรวมถึงการยึดครองกาซา เวสต์แบงก์ และที่ราบสูงโกลัน ปฏิกิริยาของเบเกอร์หลังการประชุม คือ อิรักไม่ปรารถนาที่จะสนับสนุนมติสหประชาชาติ และอิรักต้องการจะคงการยึดครองคูเวตในปัจจุบันต่อไป เบเกอร์มีความหวังน้อยมากว่าจะมีหนทางอื่นนอกเหนือจากการใช้กำลังทหารในการนำอิรักออกจากคูเวต ถึงแม้ว่าการประชุมดังกล่าวจะมีความสำเร็จน้อยมาก แต่มันได้เป็นการประชุมครั้งประวัติศาสตร์ที่ทั้งสองประเทศพบกันแบบตัวต่อตัว ทั้งสองประเทศยังคงยืนยันทัศนะของตนอย่างหนักแน่นและเป็นความหวังสุดท้ายสำหรับทางออกอย่างสันติ
อ้างอิง
- Lawrence Freedman and Efraim Karsh, The Gulf Conflict: Diplomacy and War in the New World Order (New Jersey, 1883), 233-34.
- "Persian Gulf: Mission of Peace, James Baker and Gerald Post on the Iran-Kuwait Crisis" United States Department of State Dispatch, Jan. 7, 1991.
- Lawrence Freedman and Efraim Karsh, The Gulf Conflict: Diplomacy and War in the New World Order (New Jersey, 1993), 236.
- Lawrence Freedman and Efraim Karsh, The Gulf Conflict: Diplomacy and War in the New World Order (New Jersey, 1883), 242.
- frontline: the gulf war: oral history: tariq aziz
- frontline: the gulf war: voices in the storm: at the brink of war
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karprachumsntiphaphecniwa cdkhunemuxwnthi 9 mkrakhm ph s 2534 ephuxhathangxxkxyangsntisahrbkaryudkhrxngkhuewtkhxngxirk ephuxhlikeliyngsngkhramrahwangxirkaelakxngkalngphsmsungidrbkarsnbsnunodyshrthxemrika phuaethnxirk idaek rthmntriwakarkrathrwngkartangpraeths txrik xasis swnphuaethnshrth idaek rthmntriwakarkrathrwngkartangpraeths ecms ebekxr karprachumdngklawkinewlananekuxbecdchwomng odythikhuecrcathngsxngfaytangkimsamarthtklngthicaepliynaeplngthsnadngedimkhxngtn xirkptiesththicayxmthxnthharxxkcakkhuewt inkhnathishrthaelaphnthmitryngtxngkarihxirkthxnthharxxkipinthnthi karprachumdngklawepnkarthabthamkhrngsudthaykxnthisngkhramxawcapathukhunebuxnghlngwnthi 29 phvsphakhm ph s 2533 khnamntrikhwammnkhngaehngshprachachatiphanmti 678 sungmxbxanacihrthsmachik ichthukwithikarthicaepnephuxsnbsnunaelathaihmtithiphanmathnghmdthitxngkarihxirkthxnkalngthharxxkcakkhuewtinthnthiepnphlsaerc epahmaykhxngmtidngklawkhux karihsaraeksddm husesnxyangeddkhadkhrngsudthaywa shprachachaticaimyinyxmihxirkkhngkaryudkhrxngkhuewttxip aemwashphaphosewiyt phnthmitrxniklchidkhxngxirkaelaxditstrukhxngshrthxemrika caphyayamekliyklxmihsddmphicarnakarkrathakhxngekhaxikkhrnghnungaelwktam phunaosewiyt mihaxil kxrbachxf phyayamthicaepliynicsddmthicamxngkhamphlpraoychnkhxngtnexng aelathaephuxpraoychnthidithisudkhxngxirk ekhaprasbkhwamsaercinkarthaihrthsmachikxunkhxngshprachachatiephim chwngewlaaehngkhwamprarthnadi inmtithi 678 chwngewlaaehngkhwamprarthnadiniephuxihxirkmioxkasthbthwnnoybayaelakarkrathakhxngtn odyhwngwaxirkcatdsinicthxnkalngthharaelahlikeliyngwikvtkarnthikalngkxtwkhun inshrthxemrika prathanathibdi cxrc exch dbebilyu buch yunkranthicabrrlu imlephimetimsahrbsntiphaph karthabthamdngklawepidoxkasihmikarsnthnarahwangxirkkbshrthxemrika thsnakhxngshrthrwmthungthangeluxkinkarrbkarmaeyuxnkhxngrthmntriwakarkrathrwngkartangpraethsxirk txrik xasis aelasngrthmntriwakarkrathrwngkartangpraeths ebekxr ipeyuxnxirk epahmayhlkebuxnghlngimlephimetimsahrbsntiphaphni ephuxihkhwammnicaekphlemuxngxemriknwarthbalkalngthathukwithithangephuxhlikeliyngkarephchiyhnathangthharkbxirk xirktxnrboxkasthicaidphudkhuyodytrngkbshrth nbtngaetkarbukkhrxngkhuewterimkhun sddmphyayamwingetnephuxihekidkarecrcaodytrngkbshrth xirkekhyptiesthkarecrcaaebbtwtxtwinxdit rthmntriwakarkrathrwngsarsnethskhxngxirk latif nusesth casim klawwa xirkprarthnathicaxphipraythung wikvtkarnxaw epxresiy thukdan odyimmikhxaem nantrabethathixemriknetriymphrxmthicaecrcaodyimmikarwangenguxnikhlwnghna klumpraethsxahrbxun eriykrxngihsddmyxmptibtitammtithi 678 prathanathibdixiyipt muhmhmd ohsni mubarkh aelaphramhakstriysaxudixaraebiy fahd tlxdcnpramukhaehngrthkhxngpraethsehlani ideriykrxngxyangepidephyihmikarthxnkalngthharxyangimmienguxnikhxxkcakkhuewt rthmntriwakarathrwngklaohmsieriyklawwasieriycaephimkarkddnthangthhartxxirkhakxirkimptibtitam hlngcakkarprachuminikhor emuxwnthi 3 thnwakhm ph s 2533 saxudixaraebiy sieriy aelaxiyipt idxxkaethlngkarn khwamwa karthabthamkhxngbuchsrangoxkassudthayinkarkhcdphyntraykhxngsngkhramcakphumiphakhni sddmkhwrcachwyexaoxkasniinkarthxnkalngthharxxkcakkhuewt dikwathaihphumiphakhniphwphnkbsngkhramthinxngeluxdaelairpraoychn rahwangphyayamtdsinichawnthitwaethncakxirkaelashrthcamaprachumkn sddmyunkranwawnthinncatxngiklkbesntaykhxngmtithi 678 epahmaykhxngekhakhuxphyayamthicahlikeliyngmtidngklaw shrthtxngkarihwnthiprachumxyurahwangwnthi 20 thnwakhm ph s 2533 aela 3 mkrakhm ph s 2534 ephuxihewlaaeksddmephiyngphxthicathxnkxngthphxirk yingewlaekhaiklesntaykhxngmtimakyingkhunethaid khwamyudhyunkhxngsddmkcayingmimakkhunethann ephraaepnipimidthicathxnkalngthharcanwnmakphayinewlaimkiwn khnathisddmyuxihkarprachumdngklawmikhuniklkbesntaykhxngmtithi 678 prathanathibdibuchfunicesnxihkarprachummikhuninecniwa switesxraelnd emuxwnthi 9 mkrakhm ph s 2534 aelasudthay idmikartklngknwa txrik xasis aelaecms ebekxrcaprachumknephuxxphipraythungkaryudkhrxngkhuewtaelamtishprachachati prathanathibdibuchidekhyihsyyatxrthsphashrthxemrikawacaimmimtiidesnxtxrthsphacnkrathnghlngcakkarprachumdngklawsinsudlngphlthitammaphlkhxngkarprachumecniwaimmikhwamkhubhnathisakhytxkaraekikhpyhakaryudkhrxngkhuewtkhxngxirk txrik xasis mixanacephiyngelknxyinkarepliynaeplngthsnakhxngxirkaelacaepntxngihkarsnbsnunthsnadngedimkhxngsddm sddmidichkarprachumdngklawephuxcudprasngkhdankarokhsnachwnechuxinxirk khnathishrthxemrikaichkarprachumdngklawephuxaesdngiholkehnwatnkalngwitkkbkaraekikhwikvtkarndngklawodyimmiptibtikarthangthhar aelaephuxaecngihsddmthrabwaxaircaekidkhunhakekhaimsamarththxnkalngthharxirkxxkcakkhuewtid karprachumdngklawklayepncuderimtnkhxngsingthiinewlatxmaepnthiruckknwa sngkhramxaw hruxptibtikarphayuthaelthray praethsxahrbyunkranwashrthxemrikacatxngdaeninkartammtithi 678 aelaesnxkarsnbsnunthangesrsthkic karemuxng aelakarthharephuxdaeninkarinmtithnghmdthiekiywkhxngkbkaryudkhrxngkhuewt phayhlngkarprachum xasisxthibayaeksuxwa xirktxngkarthangxxkxyangsntitxpyhainphumiphakh aetmnimsamarthepnephiyngsingthiekiywkhxngechphaaaetkaryudkhrxngkhuewtethann aetmncatxngrwmthungkaryudkhrxngkasa ewstaebngk aelathirabsungokln ptikiriyakhxngebekxrhlngkarprachum khux xirkimprarthnathicasnbsnunmtishprachachati aelaxirktxngkarcakhngkaryudkhrxngkhuewtinpccubntxip ebekxrmikhwamhwngnxymakwacamihnthangxunnxkehnuxcakkarichkalngthharinkarnaxirkxxkcakkhuewt thungaemwakarprachumdngklawcamikhwamsaercnxymak aetmnidepnkarprachumkhrngprawtisastrthithngsxngpraethsphbknaebbtwtxtw thngsxngpraethsyngkhngyunynthsnakhxngtnxyanghnkaennaelaepnkhwamhwngsudthaysahrbthangxxkxyangsntixangxingLawrence Freedman and Efraim Karsh The Gulf Conflict Diplomacy and War in the New World Order New Jersey 1883 233 34 Persian Gulf Mission of Peace James Baker and Gerald Post on the Iran Kuwait Crisis United States Department of State Dispatch Jan 7 1991 Lawrence Freedman and Efraim Karsh The Gulf Conflict Diplomacy and War in the New World Order New Jersey 1993 236 Lawrence Freedman and Efraim Karsh The Gulf Conflict Diplomacy and War in the New World Order New Jersey 1883 242 frontline the gulf war oral history tariq aziz frontline the gulf war voices in the storm at the brink of war