การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์รวันดาเป็นการสังหารหมู่พันธุฆาตทุตซี (Tutsi) และฮูตู (Hutu) สายกลางในประเทศรวันดา โดยสมาชิกรัฐบาลฝ่ายข้างมากฮูตู ระหว่างสมัยประมาณ 100 วันตั้งแต่วันที่ 7 เมษายนถึงกลางเดือนกรกฎาคม 2537 มีชาวรวันดาประมาณ 501,000–1,000,000 คนเสียชีวิต ซึ่งเป็น 70% ของชาวทุตซี และ 20% ของประชากรรวมของรวันดา สมาชิกอภิชนการเมืองแกนกลางที่เรียก อะคะซุ (akazu) วางแผนพันธุฆาตนี้ ซึ่งหลายคนนั่งตำแหน่งระดับสูงสุดของรัฐบาลแห่งชาติ ผู้ก่อการมาจากทหารในกองทัพรวันดา ทหารตำรวจแห่งชาติ (ฌ็องดาร์แมร์อี) ทหารอาสาสมัครที่รัฐบาลสนับสนุน ซึ่งมีอินเตราฮัมเว (Interahamwe) และอิมปูซูมูกัมบิ (Impuzamugambi) และประชากรพลเรือนฮูตู
การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์รวันดา | |
---|---|
กะโหลกมนุษย์ที่อนุสรณ์สถานพันธุฆาตนยามาตา (Nyamata) | |
สถานที่ | ประเทศรวันดา |
วันที่ | 7 เมษายน – 15 กรกฎาคม 2537 |
เป้าหมาย | ประชากรทุตซี |
ประเภท | พันธุฆาต, การสังหารหมู่ |
ตาย | 500,000–1,000,000 คน |
ผู้ก่อเหตุ | รัฐบาลที่ฮูตูนำ, ทหารอาสาสมัครอินเตราฮัมเว (Interahamwe) และอิมปูซูมูกัมบิ (Impuzamugambi) |
พันธุฆาตดังกล่าวเกิดในบริบทสงครามกลางเมืองรวันดา ความขัดแย้งที่กำลังดำเนินซึ่งเริ่มในปี 2533 ระหว่างรัฐบาลที่มีฮูตูนำกับ (Rwandan Patriotic Front, RPF) ซึ่งส่วนใหญ่ประกอบด้วยผู้ลี้ภัยทุตซีซึ่งครอบครัวของพวกเขาหลบหนีไปประเทศยูกันดาให้หลังระลอกความรุนแรงต่อทุตซีของฮูตู การกดดันระหว่างประเทศต่อรัฐบาลที่มีฮูตูนำของ (Juvénal Habyarimana) ส่งผลให้มีการหยุดยิงในปี 2536 โดยแผนการนำ (Arusha Accords) ไปปฏิบัติซึ่งจะสร้างรัฐบาลที่แบ่งอำนาจกับ RDF ความตกลงนี้ทำให้ฮูตูอนุรักษนิยมจำนวนมากไม่พอใจ ซึ่งมีสมาชิกอะคะซุด้วย ซึ่งมองว่าเป็นการยอมรับข้อเรียกร้องของศัตรู ในหมู่ประชากรฮูตูทั่วไป การทัพของ RDF ยังเร่งเร้าการสนับสนุนอุดมการณ์ที่เรียก "พลังฮูตู" ซึ่งพรรณา RDF ว่าเป็นกำลังต่างด้าวที่เจตนาฟื้นฟูพระมหากษัตริย์ทุตซีและจับฮูตูเป็นทาส เป็นความเชื่อที่ทำให้เกิดการต่อต้านอย่างสุดขั้ว
วันที่ 6 เมษายน 2537 เครื่องบินที่บรรทุกไฮเบียรีมานา และประธานาธิบดีบุรุนดี ไซเปรียน ทายามิรา (Cyprien Ntaryamira) ถูกยิงตกระหว่างลงจอดสู่กรุงคิกาลี ทำให้ทุกคนบนเครื่องเสียชีวิต การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์เริ่มในวันต่อมา ทหาร ตำรวจและทหารอาสาสมัครประหารชีวิตผู้นำทุตซีและฮูตูสายกลางคนสำคัญอย่างรวดเร็ว แล้วตั้งจุดตรวจและสิ่งกีดขวางและใช้บัตรประจำตัวประชาชนชาวรวันดาเพื่อฆ่าทุตซีอย่างเป็นระบบ กำลังเหล่านี้เกณฑ์หรือกดดันพลเรือนฮูตูให้ติดอาวุธตนเองด้วยพร้า กระบอง วัตถุทื่อ และอาวุธอื่นเพื่อข่มขืนกระทำชำเรา ทำร้ายอวัยวะและฆ่าเพื่อนบ้านทุตซีของตนและทำลายหรือขโมยทรัพย์สินของพวกเขา การละเมิดความตกลงสันติภาพทำให้ RDF เริ่มการบุกใหม่และยึดการควบคุมส่วนเหนือของประเทศอย่างรวดเร็วก่อนยึดกรุงคิกาลีในกลางเดือนกรกฎาคม ทำให้การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์สิ้นสุด ระหว่างเหตุการณ์และผลลัพธ์ สหประชาชาติและประเทศอย่างสหรัฐ สหราชอาณาจักร และเบลเยียมถูกวิจารณ์ว่าอยู่เฉย ซึ่งรวมความล้มเหลวในการเสริมกำลังและอาณัติของทหารรักษาสันติภาพ (United Nations Assistance Mission for Rwanda, UNAMIR) ส่วนผู้สังเกตการณ์วิจารณ์รัฐบาลฝรั่งเศสโดยกล่าวหาว่าสนับสนุนรัฐบาลที่ฮูตูนำหลังการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์เริ่มแล้ว
พันธุฆาตนี้มีผลกระทบยาวนานล้ำลึกต่อประเทศรวันดาและประเทศเพื่อนบ้าน การใช้การข่มขืนกระทำชำเรายามสงครามอย่างแพร่หลายทำให้มีการติดเชื้อเอชไอวีพุ่งสูงขึ้น ซึ่งรวมเด็กทารกที่เกิดจากการข่มขืนกระทำชำเรามารดาที่ติดเชื้อใหม่ หลายครัวเรือนมีเด็กกำพร้าหรือหญิงหม้ายเป็นหัวหน้าครอบครัว การทำลายโครงสร้างพื้นฐานและการลดประชากรของประเทศอย่างรุนแรงทำให้เศรษฐกิจเป็นอัมพาต เป็นความท้าทายแก่รัฐบาลใหม่ที่จะทำให้เศรษฐกิจเติบโตอย่างรวดเร็วและสร้างเสถียรภาพ ชัยทางทหารของ RDF และการตั้งรัฐบาลที่ RDF ครอบงำทำให้ฮูตูหลายคนหนีไปประเทศเพื่อนบ้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งส่วนตะวันออกของประเทศซาเอียร์ (ปัจจุบันคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก) ที่ที่ฮูตูผู้ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์เริ่มรวมกลุ่มใหม่ในค่ายผู้ลี้ภัยตามชายแดนกับประเทศรวันดา รัฐบาลที่มี RDF นำประกาศความจำเป็นต่อป้องกันมิให้เกิดพันธุฆาตอีก จึงนำการบุกเข้าประเทศซาเอียร์ ได้แก่ สงครามคองโกครั้งที่หนึ่ง (2539–2540) และครั้งที่สอง (2542–2546) การต่อสู้ด้วยอาวุธระหว่างรัฐบาลรวันดากับศัตรูในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกยังดำเนินต่อผ่านทหารอาสาสมัครตัวแทนในภูมิภาคโกมา ซึ่งรวมการกบฏเอ็ม23 (2546–2556) ประชากรฮูตูและทุตซีรวันดาขนาดใหญ่ยังอาศัยแบบผู้ลี้ภัยทั่วภูมิภาค
ปัจจุบัน ประเทศรวันดามีวันหยุดราชการสองวันเพื่อระลึกถึงพันธุฆาตดังกล่าว ช่วงรำลึกแห่งชาติเริ่มด้วยวันอนุสรณ์พันธุฆาตในวันที่ 7 เมษายนและสิ้นสุดด้วยวันปลดปล่อยในวันที่ 4 กรกฎาคม สัปดาห์ถัดจากวันที่ 7 เมษายนกำหนดให้เป็นสัปดาห์ไว้ทุกข์อย่างเป็นทางการ การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์รวันดาเป็นเหตุผลสนับสนุนให้สร้างศาลอาญาระหว่างประเทศเพื่อกำจัดความจำเป็นสำหรับศาลชำนัญพิเศษเฉพาะกิจเพื่อฟ้องดำเนินคดีต่อผู้ที่ถูกกล่าวหาในเหตุพันธุฆาต อาชญากรรมต่อมนุษยชาติและอาชญากรรมสงครามในอนาคต
อ้างอิง
- See, e.g., Rwanda: How the genocide happened, BBC, April 1, 2004, which gives an estimate of 800,000, and OAU sets inquiry into Rwanda genocide, Africa Recovery, Vol. 12 1#1 (August 1998), p. 4, which estimates the number at between 500,000 and 1,000,000. Seven out of every 10 Tutsis were killed.
แหล่งข้อมูลอื่น
- Genocide Archive Rwanda 2019-09-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karkhalangephaphnthurwndaepnkarsngharhmuphnthukhatthutsi Tutsi aelahutu Hutu sayklanginpraethsrwnda odysmachikrthbalfaykhangmakhutu rahwangsmypraman 100 wntngaetwnthi 7 emsaynthungklangeduxnkrkdakhm 2537 michawrwndapraman 501 000 1 000 000 khnesiychiwit sungepn 70 khxngchawthutsi aela 20 khxngprachakrrwmkhxngrwnda smachikxphichnkaremuxngaeknklangthieriyk xakhasu akazu wangaephnphnthukhatni sunghlaykhnnngtaaehnngradbsungsudkhxngrthbalaehngchati phukxkarmacakthharinkxngthphrwnda thhartarwcaehngchati chxngdaraemrxi thharxasasmkhrthirthbalsnbsnun sungmixinetrahmew Interahamwe aelaximpusumukmbi Impuzamugambi aelaprachakrphleruxnhutukarkhalangephaphnthurwndakaohlkmnusythixnusrnsthanphnthukhatnyamata Nyamata sthanthipraethsrwndawnthi7 emsayn 15 krkdakhm 2537epahmayprachakrthutsipraephthphnthukhat karsngharhmutay500 000 1 000 000 khnphukxehturthbalthihutuna thharxasasmkhrxinetrahmew Interahamwe aelaximpusumukmbi Impuzamugambi phnthukhatdngklawekidinbribthsngkhramklangemuxngrwnda khwamkhdaeyngthikalngdaeninsungeriminpi 2533 rahwangrthbalthimihutunakb Rwandan Patriotic Front RPF sungswnihyprakxbdwyphuliphythutsisungkhrxbkhrwkhxngphwkekhahlbhniippraethsyukndaihhlngralxkkhwamrunaerngtxthutsikhxnghutu karkddnrahwangpraethstxrthbalthimihutunakhxng Juvenal Habyarimana sngphlihmikarhyudyinginpi 2536 odyaephnkarna Arusha Accords ipptibtisungcasrangrthbalthiaebngxanackb RDF khwamtklngnithaihhutuxnurksniymcanwnmakimphxic sungmismachikxakhasudwy sungmxngwaepnkaryxmrbkhxeriykrxngkhxngstru inhmuprachakrhututhwip karthphkhxng RDF yngerngerakarsnbsnunxudmkarnthieriyk phlnghutu sungphrrna RDF waepnkalngtangdawthiectnafunfuphramhakstriythutsiaelacbhutuepnthas epnkhwamechuxthithaihekidkartxtanxyangsudkhw wnthi 6 emsayn 2537 ekhruxngbinthibrrthukihebiyrimana aelaprathanathibdiburundi isepriyn thayamira Cyprien Ntaryamira thukyingtkrahwanglngcxdsukrungkhikali thaihthukkhnbnekhruxngesiychiwit karkhalangephaphnthueriminwntxma thhar tarwcaelathharxasasmkhrpraharchiwitphunathutsiaelahutusayklangkhnsakhyxyangrwderw aelwtngcudtrwcaelasingkidkhwangaelaichbtrpracatwprachachnchawrwndaephuxkhathutsixyangepnrabb kalngehlanieknthhruxkddnphleruxnhutuihtidxawuthtnexngdwyphra krabxng wtthuthux aelaxawuthxunephuxkhmkhunkrathachaera tharayxwywaaelakhaephuxnbanthutsikhxngtnaelathalayhruxkhomythrphysinkhxngphwkekha karlaemidkhwamtklngsntiphaphthaih RDF erimkarbukihmaelayudkarkhwbkhumswnehnuxkhxngpraethsxyangrwderwkxnyudkrungkhikaliinklangeduxnkrkdakhm thaihkarkhalangephaphnthusinsud rahwangehtukarnaelaphllphth shprachachatiaelapraethsxyangshrth shrachxanackr aelaebleyiymthukwicarnwaxyuechy sungrwmkhwamlmehlwinkaresrimkalngaelaxantikhxngthharrksasntiphaph United Nations Assistance Mission for Rwanda UNAMIR swnphusngektkarnwicarnrthbalfrngessodyklawhawasnbsnunrthbalthihutunahlngkarkhalangephaphnthuerimaelw phnthukhatnimiphlkrathbyawnanlaluktxpraethsrwndaaelapraethsephuxnban karichkarkhmkhunkrathachaerayamsngkhramxyangaephrhlaythaihmikartidechuxexchixwiphungsungkhun sungrwmedktharkthiekidcakkarkhmkhunkrathachaeramardathitidechuxihm hlaykhrweruxnmiedkkaphrahruxhyinghmayepnhwhnakhrxbkhrw karthalayokhrngsrangphunthanaelakarldprachakrkhxngpraethsxyangrunaerngthaihesrsthkicepnxmphat epnkhwamthathayaekrthbalihmthicathaihesrsthkicetibotxyangrwderwaelasrangesthiyrphaph chythangthharkhxng RDF aelakartngrthbalthi RDF khrxbngathaihhutuhlaykhnhniippraethsephuxnban odyechphaaxyangyingswntawnxxkkhxngpraethssaexiyr pccubnkhux satharnrthprachathipitykhxngok thithihutuphukhalangephaphnthuerimrwmklumihminkhayphuliphytamchayaednkbpraethsrwnda rthbalthimi RDF naprakaskhwamcaepntxpxngknmiihekidphnthukhatxik cungnakarbukekhapraethssaexiyr idaek sngkhramkhxngokkhrngthihnung 2539 2540 aelakhrngthisxng 2542 2546 kartxsudwyxawuthrahwangrthbalrwndakbstruinsatharnrthprachathipitykhxngokyngdaenintxphanthharxasasmkhrtwaethninphumiphakhokma sungrwmkarkbtexm23 2546 2556 prachakrhutuaelathutsirwndakhnadihyyngxasyaebbphuliphythwphumiphakh pccubn praethsrwndamiwnhyudrachkarsxngwnephuxralukthungphnthukhatdngklaw chwngralukaehngchatierimdwywnxnusrnphnthukhatinwnthi 7 emsaynaelasinsuddwywnpldplxyinwnthi 4 krkdakhm spdahthdcakwnthi 7 emsaynkahndihepnspdahiwthukkhxyangepnthangkar karkhalangephaphnthurwndaepnehtuphlsnbsnunihsrangsalxayarahwangpraethsephuxkacdkhwamcaepnsahrbsalchanyphiessechphaakicephuxfxngdaeninkhditxphuthithukklawhainehtuphnthukhat xachyakrrmtxmnusychatiaelaxachyakrrmsngkhraminxnakhtxangxingSee e g Rwanda How the genocide happened BBC April 1 2004 which gives an estimate of 800 000 and OAU sets inquiry into Rwanda genocide Africa Recovery Vol 12 1 1 August 1998 p 4 which estimates the number at between 500 000 and 1 000 000 Seven out of every 10 Tutsis were killed aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb karkhalangephaphnthurwnda Genocide Archive Rwanda 2019 09 24 thi ewyaebkaemchchin bthkhwamprawtisastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk