บทความนี้ไม่มีจาก |
กระบวนการเอส (S-process) หรือ กระบวนการจับตัวของนิวตรอนแบบช้า (slow-neutron-capture-process) คือกระบวนการสังเคราะห์นิวเคลียสที่เกิดขึ้นภายใต้สภาวะความหนาแน่นนิวตรอนต่ำและอุณหภูมิดาวฤกษ์ปานกลาง ภายใต้สภาวะนี้ อัตราการจับตัวของนิวตรอนโดยนิวเคลียสอะตอมจะต่ำมากเมื่อเทียบกับอัตราการสลายให้อนุภาคบีตาของสารกัมมันตรังสี ในกระบวนการเอส ไอโซโทปที่เสถียรหนึ่งตัวจะจับกับนิวตรอนหนึ่งตัว แต่ไอโซโทปของสารกัมมันตรังสีที่เกิดขึ้นทำให้ตัวลูกที่เสถียรเกิดการสลายตัวก่อนที่นิวตรอนตัวถัดไปจะถูกจับตัวได้ ประมาณการว่า กระบวนการเอส นี้สร้างไอโซโทปของธาตุที่หนักกว่าเหล็กประมาณครึ่งหนึ่งของไอโซโทปที่มีในเอกภพ ดังนั้นจึงมีบทบาทสำคัญยิ่งในวิวัฒนาการทางเคมีของดาราจักร
กระบวนการเอสแตกต่างกับ กระบวนการอาร์ อันเป็นกระบวนการจับตัวของนิวตรอนที่รวดเร็วกว่า
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir krabwnkarexs S process hrux krabwnkarcbtwkhxngniwtrxnaebbcha slow neutron capture process khuxkrabwnkarsngekhraahniwekhliysthiekidkhunphayitsphawakhwamhnaaennniwtrxntaaelaxunhphumidawvkspanklang phayitsphawani xtrakarcbtwkhxngniwtrxnodyniwekhliysxatxmcatamakemuxethiybkbxtrakarslayihxnuphakhbitakhxngsarkmmntrngsi inkrabwnkarexs ixosothpthiesthiyrhnungtwcacbkbniwtrxnhnungtw aetixosothpkhxngsarkmmntrngsithiekidkhunthaihtwlukthiesthiyrekidkarslaytwkxnthiniwtrxntwthdipcathukcbtwid pramankarwa krabwnkarexs nisrangixosothpkhxngthatuthihnkkwaehlkpramankhrunghnungkhxngixosothpthimiinexkphph dngnncungmibthbathsakhyyinginwiwthnakarthangekhmikhxngdarackr krabwnkarexsaetktangkb krabwnkarxar xnepnkrabwnkarcbtwkhxngniwtrxnthirwderwkwa bthkhwamfisiksniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk