กฎของพลังค์ (อังกฤษ: Planck's law) เป็นกฎที่อธิบายสเปคตรัมการแผ่รังสี (spectral radiance) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ทุกความยาวคลื่นจากวัตถุดำที่อุณหภูมิหนึ่ง ๆ กฎนี้ค้นพบโดย มักซ์ พลังค์ นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน
กฎของพลังค์เขียนในรูปฟังก์ชันของความถี่ ได้เป็น
หรือเขียนในรูปฟังก์ชันของความยาวคลื่น λ ได้เป็น
โปรดสังเกตว่าสองสมการมีหน่วยต่างกัน สมการแรกหน่วยของสเปคตรัมการแผ่รังสีเป็นต่อความถี่ ส่วนสมการที่สองคิดต่อความยาวคลื่น สมการทั้งสองไม่สามารถแปลงกลับไปมาโดยการแทนตัวแปรตรง ๆ แต่ต้องอาศัยความสัมพันธ์
ความหมายและหน่วยในระบบเอสไอของแต่ละตัวแปรสรุปในตารางข้างล่างนี้
สัญลักษณ์ ความหมาย หน่วยเอสไอ สเปคตรัมการแผ่รังสี หรือ พลังงาน ต่อหนึ่งหน่วยเวลา ต่อ ต่อ (Solid angle) ต่อความถี่หรือความยาวคลื่น (ขึ้นอยู่กับสมการ) J•s-1•m-2•sr-1•Hz-1, or J•s-1•m-2•sr-1•m-1 ความถี่ เฮิรตซ์ ความยาวคลื่น เมตร อุณหภูมิของวัตถุดำ เคลวิน ค่าคงตัวของพลังค์ จูลต่อเฮิรตซ์ ความเร็วแสง เมตรต่อวินาที , 2.718281... ค่าคงตัวบ็อลทซ์มัน จูลต่อเคลวิน
อ้างอิง
- Rybicki, p. 22.
- Rybicki, p. 22.
- Rybicki, G. B., A. P. Lightman (1979). Radiative Processes in Astrophysics. New York: John Wiley & Sons. .
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list ()
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
kdkhxngphlngkh xngkvs Planck s law epnkdthixthibaysepkhtrmkaraephrngsi spectral radiance khlunaemehlkiffathithukkhwamyawkhluncakwtthudathixunhphumihnung kdnikhnphbody mks phlngkh nkfisikschaweyxrmnsepkhtrmkaraephrngsikhxngwtthudathixunhphumitang kdkhxngphlngkhekhiyninrupfngkchnkhxngkhwamthi n displaystyle nu idepn I n T 2hn3c21ehnkT 1 displaystyle I nu T frac 2h nu 3 c 2 frac 1 e frac h nu kT 1 hruxekhiyninrupfngkchnkhxngkhwamyawkhlun l idepn I l T 2hc2l51ehclkT 1 displaystyle I lambda T frac 2hc 2 lambda 5 frac 1 e frac hc lambda kT 1 oprdsngektwasxngsmkarmihnwytangkn smkaraerkhnwykhxngsepkhtrmkaraephrngsiepntxkhwamthi swnsmkarthisxngkhidtxkhwamyawkhlun smkarthngsxngimsamarthaeplngklbipmaodykaraethntwaeprtrng aettxngxasykhwamsmphnth I n T dn I l T dl displaystyle I nu T d nu I lambda T d lambda khwamhmayaelahnwyinrabbexsixkhxngaetlatwaeprsrupintarangkhanglangni sylksn khwamhmay hnwyexsixI displaystyle I sepkhtrmkaraephrngsi hrux phlngngan txhnunghnwyewla tx tx Solid angle txkhwamthihruxkhwamyawkhlun khunxyukbsmkar J s 1 m 2 sr 1 Hz 1 or J s 1 m 2 sr 1 m 1n displaystyle nu khwamthi ehirtsl displaystyle lambda khwamyawkhlun emtrT displaystyle T xunhphumikhxngwtthuda ekhlwinh displaystyle h khakhngtwkhxngphlngkh cultxehirtsc displaystyle c khwamerwaesng emtrtxwinathie displaystyle e 2 718281 k displaystyle k khakhngtwbxlthsmn cultxekhlwinxangxingRybicki p 22 Rybicki p 22 Rybicki G B A P Lightman 1979 Radiative Processes in Astrophysics New York John Wiley amp Sons ISBN 0 471 82759 2 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint multiple names authors list lingk bthkhwamfisiksniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk