ไลก้า (อังกฤษ: Laika; รัสเซีย: Лайка, มีความหมายตามตัวอักษรว่า "ช่างเห่า" (barker); ประมาณ ค.ศ. 1954 - 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1957) เป็นสุนัขอวกาศโซเวียต ที่กลายเป็นสัตว์ตัวแรกที่โคจรรอบโลก เช่นเดียวกับเป็นตัวแรกที่ตายในวงโคจรด้วยเช่นกัน
ฉายาอื่น ๆ | คุดร์ยัฟกา |
---|---|
สปีชีส์ | Canis lupus familiaris |
สายพันธุ์ | พันทาง |
เพศ | เมีย |
เกิด | ประมาณ ค.ศ. 1954 มอสโก สหภาพโซเวียต |
ตาย | 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1957 สปุตนิก 2 ในวงโคจรต่ำของโลก |
ปีปฏิบัติงาน | ค.ศ. 1957 |
เป็นที่รู้จักสำหรับ | สัตว์ตัวแรกที่โคจรรอบโลก |
เจ้าของ | โครงการอวกาศโซเวียต |
เนื่องจากเป็นที่ทราบกันน้อยมากถึงผลกระทบของการบินอวกาศที่มีต่อสิ่งมีชีวิตในขณะภารกิจของไลก้า เทคโนโลยีในการผละออกจากวงโคจรยังไม่ถูกพัฒนา จึงคาดการณ์กันว่าไลก้าไม่น่าจะรอดชีวิต นักวิทยาศาสตร์บางคนเชื่อว่ามนุษย์จะไม่อาจมีชีวิตอยู่ได้จากการปล่อยหรือสภาพของอวกาศ ดังนั้น วิศวกรจึงมองว่าเที่ยวบินที่ส่งสัตว์ขึ้นสู่อวกาศด้วยนั้นจำเป็นก่อนภารกิจของมนุษย์ ไลก้าที่เป็นสุนัขเร่ร่อน เดิมชื่อ คุดร์ยัฟกา (รัสเซีย: Кудрявка, "เจ้าขนหยิกน้อย") เข้าสู่การฝึกกับสุนัขอื่นอีกสองตัว และได้รับเลือกเป็นผู้โดยสารไปกับยานอวกาศโซเวียต สปุตนิก 2 ในท้ายที่สุด ซึ่งถูกส่งขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1957
คาดว่าไลก้าน่าจะตายภายในไม่กี่ชั่วโมงหลังปล่อยยานจากความร้อนเกิน ซึ่งเป็นไปได้ว่าเกิดจากความล้มเหลวของระบบยังชีพกลางอาร์-7 (R-7 sustainer) ในการแยกจากน้ำหนักบรรทุก สาเหตุและเวลาการตายที่แท้จริงของมันนั้นไม่ได้รับการเปิดเผยต่อสาธารณะกระทั่ง ค.ศ. 2002 แต่ก่อนหน้านั้นได้รายงานอย่างกว้างขวางว่ามันตายเพราะขาดออกซิเจนในวันที่หก หรือตามที่รัฐบาลโซเวียตอ้างแต่แรก มันตายสบาย (euthanised) ก่อนออกซิเจนพร่องไปอีก อย่างไรก็ดี การทดลองพิสูจน์ว่าไลก้าสามารถรอดชีวิตจากการปล่อยยานขึ้นสู่วงโคจรและทนต่อ ซึ่งเป็นการกรุยทางแก่การบินอวกาศมนุษย์และให้ข้อมูลแรก ๆ บางส่วนแก่นักวิทยาศาสตร์ว่า สิ่งมีชีวิตตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมในการบินอวกาศอย่างไร
อ้างอิง
- "Russia opens monument to Laika, first dog in space 2011-11-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน". Associated Press, April 11, 2008. Retrieved on August 24, 2010.
- Malashenkov, D. C. (2002). "Abstract:Some Unknown Pages of the Living Organisms' First Orbital Flight". IAF abstracts. ADS: 288. Bibcode:2002iaf..confE.288M.
- Asif Siddiqi, Sputnik and the Soviet Space Challenge, 2000, p. 174
- Beischer, DE; Fregly, AR (1962). . US Naval School of Aviation Medicine. ONR TR ACR-64 (AD0272581). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-08-11. สืบค้นเมื่อ 2011-06-14.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list ()
แหล่งข้อมูลอื่น
- History of Sputnik Missions
- Sputnik 2 at Astronautix
- Laika memorial page 2015-06-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ilka xngkvs Laika rsesiy Lajka mikhwamhmaytamtwxksrwa changeha barker praman kh s 1954 3 phvscikayn kh s 1957 epnsunkhxwkasosewiyt thiklayepnstwtwaerkthiokhcrrxbolk echnediywkbepntwaerkthitayinwngokhcrdwyechnknilkachayaxun khudryfkaspichisCanis lupus familiarissayphnthuphnthangephsemiyekidpraman kh s 1954 mxsok shphaphosewiyttay3 phvscikayn kh s 1957 sputnik 2 inwngokhcrtakhxngolkpiptibtingankh s 1957epnthirucksahrbstwtwaerkthiokhcrrxbolkecakhxngokhrngkarxwkasosewiyt enuxngcakepnthithrabknnxymakthungphlkrathbkhxngkarbinxwkasthimitxsingmichiwitinkhnapharkickhxngilka ethkhonolyiinkarphlaxxkcakwngokhcryngimthukphthna cungkhadkarnknwailkaimnacarxdchiwit nkwithyasastrbangkhnechuxwamnusycaimxacmichiwitxyuidcakkarplxyhruxsphaphkhxngxwkas dngnn wiswkrcungmxngwaethiywbinthisngstwkhunsuxwkasdwynncaepnkxnpharkickhxngmnusy ilkathiepnsunkherrxn edimchux khudryfka rsesiy Kudryavka ecakhnhyiknxy ekhasukarfukkbsunkhxunxiksxngtw aelaidrbeluxkepnphuodysaripkbyanxwkasosewiyt sputnik 2 inthaythisud sungthuksngkhunsuxwkasemuxwnthi 3 phvscikayn kh s 1957 khadwailkanacatayphayinimkichwomnghlngplxyyancakkhwamrxnekin sungepnipidwaekidcakkhwamlmehlwkhxngrabbyngchiphklangxar 7 R 7 sustainer inkaraeykcaknahnkbrrthuk saehtuaelaewlakartaythiaethcringkhxngmnnnimidrbkarepidephytxsatharnakrathng kh s 2002 aetkxnhnannidraynganxyangkwangkhwangwamntayephraakhadxxksiecninwnthihk hruxtamthirthbalosewiytxangaetaerk mntaysbay euthanised kxnxxksiecnphrxngipxik xyangirkdi karthdlxngphisucnwailkasamarthrxdchiwitcakkarplxyyankhunsuwngokhcraelathntx sungepnkarkruythangaekkarbinxwkasmnusyaelaihkhxmulaerk bangswnaeknkwithyasastrwa singmichiwittxbsnxngtxsingaewdlxminkarbinxwkasxyangirxangxing Russia opens monument to Laika first dog in space 2011 11 26 thi ewyaebkaemchchin Associated Press April 11 2008 Retrieved on August 24 2010 Malashenkov D C 2002 Abstract Some Unknown Pages of the Living Organisms First Orbital Flight IAF abstracts ADS 288 Bibcode 2002iaf confE 288M Asif Siddiqi Sputnik and the Soviet Space Challenge 2000 p 174 Beischer DE Fregly AR 1962 US Naval School of Aviation Medicine ONR TR ACR 64 AD0272581 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2015 08 11 subkhnemux 2011 06 14 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk aehlngkhxmulxunwikikhakhm mikhakhmphasaxngkvs thiklawodyhruxekiywkb Laika wikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb ilka sunkh History of Sputnik Missions Sputnik 2 at Astronautix Laika memorial page 2015 06 22 thi ewyaebkaemchchinbthkhwamniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmul hmayehtu khxaenanaihcdhmwdhmuokhrngihekhakbenuxhakhxngbthkhwam duephimthi wikiphiediy okhrngkarcdhmwdhmuokhrngthiyngimsmburn dkhk