บทความนี้ไม่มีจาก |
ในคณิตศาสตร์ ปริพันธ์ หรือ อินทิกรัล (อังกฤษ: integral) เป็นการกำหนดค่าให้กับฟังก์ชัน ซึ่งอาจมองได้เป็นการรวมปริมาณย่อยขนาดเล็กมาก ๆ ของฟังก์ชันนั้นเข้าด้วยกันในรูปแบบที่คล้ายคลึงกับ การกระจัด พื้นที่ ปริมาตร และแนวคิดอื่นที่เกี่ยวข้อง เรียกกระบวนการหาปริพันธ์ว่า การหาปริพันธ์ หรือ อินทิเกรชัน (อังกฤษ: integration) การหาปริพันธ์และการหาอนุพันธ์ซึ่งเป็นคู่ตรงข้ามของกันและกันต่างเป็นการดำเนินการพื้นฐานของแคลคูลัส
ปริพันธ์ที่หาค่าออกมาแล้วเรียกว่า ปริพันธ์จำกัดเขต (definite integral) ซึ่งสามารถตีความได้ว่าเป็นพื้นที่ใต้กราฟของฟังก์ชันบนระนาบ พร้อมกับกำหนดเครื่องหมายบวก/ลบ ให้กับพื้นที่ หากพื้นที่นั้นอยู่เหนือแกน X หรืออยู่ใต้แกน X ตามลำดับ บางครั้งคำว่าปริพันธ์อาจสื่อุถึงปฏิยานุพันธ์ ซึ่งเป็นฟังก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้เป็นฟังก์ชันที่กำหนด บางครั้งเรียกว่าปริพันธ์ไม่จำกัดเขต (indefinite integral) ทฤษฎีบทมูลฐานของแคลคูลัสอธิบายความเกี่ยวข้องระหว่างแนวคิดทั้งสอง และความเกี่ยวข้องระหว่างปริพันธ์กับอนุพันธ์
แม้ว่าการหาพื้นที่และปริมาตรด้วยการรวมส่วนเล็ก ๆ เข้าด้วยกันจะปรากฏในคณิตศาสตร์สมัยกรีกโบราณ แต่แนวคิดปริพันธ์อย่างในปัจจุบันนั้นกำเนิดขึ้นในศตวรรษที่ 17 โดย ไอแซค นิวตัน และ ก็อทฟรีท วิลเฮ็ล์ม ไลบ์นิทซ์ ต่างค้นพบด้วยตัวของตัวเองทั้งคู่ โดยมองว่าปริพันธ์คือการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งด้วยการรวมพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้าใต้เส้นโค้งที่มีความยาวน้อยมาก ๆ เข้าด้วยกัน แบร์นฮาร์ด รีมันน์เป็นคนแรกที่นิยามแนวคิดดังกล่าวอย่างรัดกุม จึงได้ชื่อว่าเป็น ในภายหลังมีการขยายแนวคิดปริพันธ์แบบรีมันน์ออกไปให้สามารถอินทิเกรตฟังก์ชันได้เพิ่มมากขึ้น ตัวอย่างที่สำคัญที่สุดในคณิตศาสตร์สมัยใหม่คือ
ประวัติ
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สัญลักษณ์และศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
โดยทั่วไปแล้ว ปริพันธ์ของฟังก์ชันค่าจริง f(x) เทียบกับตัวแปรค่าจริง x บนช่วงปิด [a, b] จะเขียนแทนด้วย
การหาปริพันธ์ข้างต้นแทนการหาปริพันธ์จำกัดเขต โดยสัญลักษณ์ ∫ หมายถึงการหาปริพันธ์ จุด a และ b หมายถึงขอบเขตของช่วงที่เราจะหา, สัญลักษณ์ f(x) คือฟังก์ชันที่เราต้องการหาปริพันธ์หรือ ปริพัทธ์ (integrand) และสัญลักษณ์ dx ซึ่งเรียกว่า หรือ ดิฟเฟอเรนเชียลของ x บ่งว่าตัวแปรของการหาปริพันธ์คือ x
หากไม่ระบุช่วงที่หาอินทิกรัล หรือเขียนเป็น
ปริพันธ์ข้างต้นเป็นปริพันธ์ไม่จำกัดเขต ซึ่งแทนคลาสของฟังก์ชันทั้งหมดที่หาอนุพันธ์ได้ตัวปริพัทธ์ f(x) เรียกฟังก์ชันที่มีสมบัติดังกล่าวว่า ปฏิยานุพันธ์ของ f(x) ทฤษฎีบทมูลฐานของแคลคุลัสจะเชื่อมโยงปริพันธ์ไม่จำเขตและปริพันธ์จำกัดเขตเข้าด้วยกัน นอกจากนี้ยังมีการดัดแปลงสัญลักษณ์การหาปริพันธ์ข้างต้นไปสำหรับโดเมนอื่น ๆ หรือปริพันธ์ในมิติที่สูงกว่า
ไลบ์นิซเป็นคนแรกที่ใช้เครื่องหมายปริพันธ์เป็น ∫ ซึ่งดัดแปลงมาจากตัว (ſ) แทนสัญลักษณ์ของปริพันธ์ ที่มาของ s ยาว นั้นมาจากคำว่า "summa" หรือเขียนว่า ſumma ซึ่งแปลว่าผลบวก สัญลักษณ์ที่ใช้ในปัจจุบันโดยมีการเขียน a และ b ใต้และบนเครื่องหมายของปริพันธ์มาจาก
นิยามของปริพันธ์
ปริพันธ์แบบรีมันน์
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ปริพันธ์แบบเลอเบก
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
วิธีการหาปริพันธ์
อ้างอิง
- Anton, Howard (2015). Calculus : early transcendentals. Irl Bivens, Stephen Davis (11th edition, Wiley binder version ed.). Hoboken, NJ. ISBN . OCLC 923547502.
- "The most important generalization of the concept of an integral. " ใน "Lebesgue integral - Encyclopedia of Mathematics". encyclopediaofmath.org.
- Anton, Bivens & Davis 2016, p. 259.
- Cajori 1929, pp. 249–250; Fourier 1822, §231.
- Anton, Howard; Bivens, Irl C.; Davis, Stephen (2016). Calculus : Early Transcendentals (11th ed.). Hoboken, NJ: John Wiley & Sons. ISBN . OCLC 923547502.
- Cajori, Florian (1929), A History Of Mathematical Notations Volume II, Open Court Publishing, ISBN
- (1822), Théorie analytique de la chaleur, Chez Firmin Didot, père et fils, p. §231 Available in translation as Fourier, Joseph (1878), The analytical theory of heat, Freeman, Alexander (trans.), Cambridge University Press, pp. 200–201
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir inkhnitsastr priphnth hrux xinthikrl xngkvs integral epnkarkahndkhaihkbfngkchn sungxacmxngidepnkarrwmprimanyxykhnadelkmak khxngfngkchnnnekhadwykninrupaebbthikhlaykhlungkb karkracd phunthi primatr aelaaenwkhidxunthiekiywkhxng eriykkrabwnkarhapriphnthwa karhapriphnth hrux xinthiekrchn xngkvs integration karhapriphnthaelakarhaxnuphnthsungepnkhutrngkhamkhxngknaelakntangepnkardaeninkarphunthankhxngaekhlkhuls priphnththihakhaxxkmaaelweriykwa priphnthcakdekht definite integral sungsamarthtikhwamidwaepnphunthiitkrafkhxngfngkchnbnranab phrxmkbkahndekhruxnghmaybwk lb ihkbphunthi hakphunthinnxyuehnuxaekn X hruxxyuitaekn X tamladb bangkhrngkhawapriphnthxacsuxuthungptiyanuphnth sungepnfngkchnthihaxnuphnthidepnfngkchnthikahnd bangkhrngeriykwapriphnthimcakdekht indefinite integral thvsdibthmulthankhxngaekhlkhulsxthibaykhwamekiywkhxngrahwangaenwkhidthngsxng aelakhwamekiywkhxngrahwangpriphnthkbxnuphnth aemwakarhaphunthiaelaprimatrdwykarrwmswnelk ekhadwykncapraktinkhnitsastrsmykrikobran aetaenwkhidpriphnthxyanginpccubnnnkaenidkhuninstwrrsthi 17 ody ixaeskh niwtn aela kxthfrith wilehlm ilbniths tangkhnphbdwytwkhxngtwexngthngkhu odymxngwapriphnthkhuxkarhaphunthiitesnokhngdwykarrwmphunthisiehliymphunphaitesnokhngthimikhwamyawnxymak ekhadwykn aebrnhard rimnnepnkhnaerkthiniyamaenwkhiddngklawxyangrdkum cungidchuxwaepn inphayhlngmikarkhyayaenwkhidpriphnthaebbrimnnxxkipihsamarthxinthiekrtfngkchnidephimmakkhun twxyangthisakhythisudinkhnitsastrsmyihmkhuxprawtiswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidsylksnaelasphththiekiywkhxngodythwipaelw priphnthkhxngfngkchnkhacring f x ethiybkbtwaeprkhacring x bnchwngpid a b caekhiynaethndwy abf x dx displaystyle int a b f x dx karhapriphnthkhangtnaethnkarhapriphnthcakdekht odysylksn hmaythungkarhapriphnth cud a aela b hmaythungkhxbekhtkhxngchwngthieracaha sylksn f x khuxfngkchnthieratxngkarhapriphnthhrux priphthth integrand aelasylksn dx sungeriykwa hrux difefxernechiylkhxng x bngwatwaeprkhxngkarhapriphnthkhux x hakimrabuchwngthihaxinthikrl hruxekhiynepn f x dx displaystyle int f x dx priphnthkhangtnepnpriphnthimcakdekht sungaethnkhlaskhxngfngkchnthnghmdthihaxnuphnthidtwpriphthth f x eriykfngkchnthimismbtidngklawwa ptiyanuphnthkhxng f x thvsdibthmulthankhxngaekhlkhulscaechuxmoyngpriphnthimcaekhtaelapriphnthcakdekhtekhadwykn nxkcakniyngmikarddaeplngsylksnkarhapriphnthkhangtnipsahrbodemnxun hruxpriphnthinmitithisungkwa ilbnisepnkhnaerkthiichekhruxnghmaypriphnthepn sungddaeplngmacaktw ſ aethnsylksnkhxngpriphnth thimakhxng s yaw nnmacakkhawa summa hruxekhiynwa ſumma sungaeplwaphlbwk sylksnthiichinpccubnodymikarekhiyn a aela b itaelabnekhruxnghmaykhxngpriphnthmacakniyamkhxngpriphnthpriphnthaebbrimnn swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidpriphnthaebbelxebk swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidwithikarhapriphnthxangxingAnton Howard 2015 Calculus early transcendentals Irl Bivens Stephen Davis 11th edition Wiley binder version ed Hoboken NJ ISBN 1 118 88382 9 OCLC 923547502 The most important generalization of the concept of an integral in Lebesgue integral Encyclopedia of Mathematics encyclopediaofmath org Anton Bivens amp Davis 2016 p 259 Cajori 1929 pp 249 250 Fourier 1822 231 Anton Howard Bivens Irl C Davis Stephen 2016 Calculus Early Transcendentals 11th ed Hoboken NJ John Wiley amp Sons ISBN 1 118 88382 9 OCLC 923547502 Cajori Florian 1929 A History Of Mathematical Notations Volume II Open Court Publishing ISBN 978 0 486 67766 8 1822 Theorie analytique de la chaleur Chez Firmin Didot pere et fils p 231 Available in translation as Fourier Joseph 1878 The analytical theory of heat Freeman Alexander trans Cambridge University Press pp 200 201bthkhwamkhnitsastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk