บทความนี้ไม่มีจาก |
อาร์เคีย ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: มหายุคพาลีโออาร์เคียน – ปัจจุบัน | |
---|---|
NRC-1 ทุกเซลล์มีความยาว 5 ไมโครเมตร | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
โดเมน: | อาร์เคีย , และ , พ.ศ. 2533 |
ไฟลัม / ชั้น | |
|
อาร์เคีย (อังกฤษ: Archaea) เป็นหนึ่งในสามโดเมนของสิ่งมีชีวิตบนโลกที่ประกอบไปด้วยโพรแคริโอต ตอนแรกอาร์เคียได้ถูกจัดรวมเป็นหนึ่งของโดเมนแบคทีเรีย ต่อมาถูกแยกเป็นโดเมนของมันเองเนื่องจากมีคุณสมบัติที่แตกต่างออกจากแบคทีเรียกับยูแคริโอต สายพันธุ์อาร์เคียประกอบด้วยหลายไฟลัมซึ่งยากจะศึกษาและจัดเป็นหมวดหมู่ เพราะว่าสายพันธุ์เหล่านี้ไม่สามารถเพาะเชื้อในห้องแล็ปได้ง่าย ที่ผ่านมาการทดสอบและวิเคราะห์ตัวอย่างกรดนิวคลีอิกในสิ่งแวดล้อมเป็นวิธีหลักของการที่จะตรวจพบหรือศึกษาอาร์เคีย
ถึงแม้ขนาดและรูปทรงของอาร์เคียจะคล้ายคุณลักษณะของแบคทีเรีย แต่พวกเขาก็ยังคงมียีนกับเส้นทางการเผาผลาญพลังงานที่คล้ายกับยูแคริโอต ยกตัวอย่างเช่นเอนไซม์ที่กระตุ้นกระบวนการถอดและแปลรหัสพันธุกรรม นอกจากนี้อาร์เคียยังมีเอกลักษณ์ชีวเคมีพิเศษอย่างเช่น การใช้ไขมันอีเทอร์ในเยื่อหุ้มเซลล์และความสามารถที่จะประยุกต์ใช้แหล่งพลังงานมากกว่ายูคาริโอต อาร์เคียบางประเภทใช้สารประกอบอินทรีย์เช่นน้ำตาลกลูโคส สารประกอบอนินทรีย์เช่นแอมโมเนีย สารประกอบและไอออนเช่นก๊าซไฮโดรเจนและไอออนโลหะ หรือพลังงานแสงอาทิตย์ สายพันธุ์ต่างๆ ของอาร์เคียจะสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศผ่านกระบวนการแตกหน่อ การแบ่งตัวออกเป็นสอง และการขาดออกเป็นท่อน พวกอาร์เคียไม่สามารถสร้างสปอร์เหมือนแบคทีเรีย
ประเภทอาร์เคียแรก ๆ ที่ถูกค้นพบเป็นจำพวกที่สามารถดำรงชีวิตในสิ่งแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตชนิดอื่น ๆ อยู่อาศัยลำบากเนื่องจากสภาพแวดล้อมที่ แห้งจัด ร้อนจัด เย็นจัด เค็มจัด หรือแรงกดดันอากาศสูงจัดในเบื้องต้น การพัฒนาด้านเทคโนโลยีนำมาสู่การค้นพบอาร์เคียสายพันธุ์ใหม่ในสิ่งแวดล้อมประเภทอื่นๆ นักวิทยาศาสตร์จึงทราบว่าสายพันธุ์ต่างๆ ของอาร์เคียสามารถอยู่อาศัยในเกือบทุกแห่งบนโลกโดยเฉพาะในแพลงก์ตอนที่อาศัยอยู่ในมหาสมุทร นอกจากนี้แล้วอาร์เคียยังคงอยู่อาศัยในระบบทางเดินอาหารและบนผิวหนังของสิ่งมีชีวิตนานาชนิดรวมถึงมนุษย์โดยเป็นหนึ่งของไมโครไบโอต้า อาร์เคียมีหลายบทบาทในธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมซึ่งรวมถึง การตรึงคาร์บอน การสนับสนุนวัฏจักรไนโตรเจน การหมุนเวียนของสารประกอบอินทรีย์ และการควบคุมของความสัมพันธ์ที่เอื้อประโยชน์ของชุมชนแบคทีเรียประเภทต่างๆ
ขณะนี้นักวิทยาศาสตร์ยังไม่ได้ค้นพบสายพันธุ์อาร์เคียที่มีพฤติกรรมเหมื่อนเชื้อโรคหรือปรสิต ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นสายพันธุ์อาร์เคียเช่นเหล่าเมทาโนเจน หรืออาร์เคียที่สามารถผลิตแก๊สมีเทนนั่นเอง ซึ่งสายพันธุ์จะมีภาวะพึ่งพาหรืออิงอาศัยสิ่งมีชีวิตประเภทอื่น ๆ
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir xarekhiy chwngewlathimichiwitxyu mhayukhphalioxxarekhiyn pccubn fa ophrethxorosxik xarekhiyn ehd NRC 1 thukesllmikhwamyaw 5 imokhremtrkarcaaenkchnthangwithyasastrodemn xarekhiy aela ph s 2533iflm chn xarekhiy xngkvs Archaea epnhnunginsamodemnkhxngsingmichiwitbnolkthiprakxbipdwyophraekhrioxt txnaerkxarekhiyidthukcdrwmepnhnungkhxngodemnaebkhthieriy txmathukaeykepnodemnkhxngmnexngenuxngcakmikhunsmbtithiaetktangxxkcakaebkhthieriykbyuaekhrioxt sayphnthuxarekhiyprakxbdwyhlayiflmsungyakcasuksaaelacdepnhmwdhmu ephraawasayphnthuehlaniimsamarthephaaechuxinhxngaelpidngay thiphanmakarthdsxbaelawiekhraahtwxyangkrdniwkhlixikinsingaewdlxmepnwithihlkkhxngkarthicatrwcphbhruxsuksaxarekhiy thungaemkhnadaelarupthrngkhxngxarekhiycakhlaykhunlksnakhxngaebkhthieriy aetphwkekhakyngkhngmiyinkbesnthangkarephaphlayphlngnganthikhlaykbyuaekhrioxt yktwxyangechnexnismthikratunkrabwnkarthxdaelaaeplrhsphnthukrrm nxkcaknixarekhiyyngmiexklksnchiwekhmiphiessxyangechn karichikhmnxiethxrineyuxhumesllaelakhwamsamarththicaprayuktichaehlngphlngnganmakkwayukharioxt xarekhiybangpraephthichsarprakxbxinthriyechnnatalkluokhs sarprakxbxninthriyechnaexmomeniy sarprakxbaelaixxxnechnkasihodrecnaelaixxxnolha hruxphlngnganaesngxathity sayphnthutang khxngxarekhiycasubphnthuaebbimxasyephsphankrabwnkaraetkhnx karaebngtwxxkepnsxng aelakarkhadxxkepnthxn phwkxarekhiyimsamarthsrangspxrehmuxnaebkhthieriy praephthxarekhiyaerk thithukkhnphbepncaphwkthisamarthdarngchiwitinsingaewdlxmthisingmichiwitchnidxun xyuxasylabakenuxngcaksphaphaewdlxmthi aehngcd rxncd eyncd ekhmcd hruxaerngkddnxakassungcdinebuxngtn karphthnadanethkhonolyinamasukarkhnphbxarekhiysayphnthuihminsingaewdlxmpraephthxun nkwithyasastrcungthrabwasayphnthutang khxngxarekhiysamarthxyuxasyinekuxbthukaehngbnolkodyechphaainaephlngktxnthixasyxyuinmhasmuthr nxkcakniaelwxarekhiyyngkhngxyuxasyinrabbthangedinxaharaelabnphiwhnngkhxngsingmichiwitnanachnidrwmthungmnusyodyepnhnungkhxngimokhriboxta xarekhiymihlaybthbathinthrrmchatiaelasingaewdlxmsungrwmthung kartrungkharbxn karsnbsnunwtckrinotrecn karhmunewiynkhxngsarprakxbxinthriy aelakarkhwbkhumkhxngkhwamsmphnththiexuxpraoychnkhxngchumchnaebkhthieriypraephthtang khnaninkwithyasastryngimidkhnphbsayphnthuxarekhiythimiphvtikrrmehmuxnechuxorkhhruxprsit swnihyaelwcaepnsayphnthuxarekhiyechnehlaemthaonecn hruxxarekhiythisamarthphlitaeksmiethnnnexng sungsayphnthucamiphawaphungphahruxxingxasysingmichiwitpraephthxun xangxingaehlngkhxmulxunwikispichismikhxmulphasaxngkvsekiywkb Archaea wikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb xarekhiy bthkhwamchiwwithyaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk