ในคณิตศาสตร์ สมบัติการสลับที่ (อังกฤษ: commutativity) คือกระบวนการเปลี่ยนลำดับของบางสิ่ง โดยไม่ทำให้ผลลัพธ์สุดท้ายเปลี่ยนแปลง เป็นสมบัติเบื้องต้นของการดำเนินการทางคณิตศาสตร์หลายชนิด และหลายอย่างก็ขึ้นอยู่กับสมบัตินี้
สมบัติการสลับที่ของการดำเนินการพื้นฐาน อาทิการบวกหรือการคูณของจำนวน ถูกสมมติขึ้นโดยไร้ข้อกังขามาเป็นเวลายาวนาน และสมบัตินี้ไม่เคยมีการตั้งชื่อหรือการให้เหตุผลจนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่นักคณิตศาสตร์เริ่มจัดระเบียบแบบแผนของทฤษฎีต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์
การใช้ทั่วไป
สมบัติการสลับที่ (หรือกฎการสลับที่) เป็นสมบัติที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการทวิภาคและฟังก์ชัน และในทางเดียวกัน ถ้าสมบัติการสลับที่มีอยู่สำหรับสมาชิกคู่หนึ่ง ภายใต้การดำเนินการทวิภาคที่แน่นอนแล้ว เราจะกล่าวได้ว่าสมาชิกสองตัวนั้นสามารถสลับที่ (commute) บนการดำเนินการดังกล่าว
ในทฤษฎีกรุปและทฤษฎีเซต เราจะเรียกว่าเป็นโครงสร้างสลับที่ได้ (commutative) เมื่อมีตัวดำเนินการที่แน่นอนทำให้เกิดสมบัติการสลับที่ ในสาขาทางคณิตศาสตร์ที่สูงขึ้นไป เช่นคณิตวิเคราะห์หรือพีชคณิตเชิงเส้น สมบัติการสลับที่ของการดำเนินการที่รู้จักเป็นอย่างดี (อย่างการบวกและการคูณของจำนวนจริงและจำนวนเชิงซ้อน) มักจะมีการใช้งานมาก (หรือสมมติขึ้นมา) ในการพิสูจน์ต่าง ๆ
นิยาม
คำว่า สลับที่ (commute) หรือ สลับที่ได้ (commutative) มีการใช้งานในหลายประเด็นดังนี้
- กำหนดการดำเนินการทวิภาค ∗ บนเซต S เราจะกล่าวว่าการดำเนินการนั้น สลับที่ได้ ถ้าหาก
- ส่วนการดำเนินการที่ไม่เป็นไปตามเงื่อนไขด้านบน จะถือว่าเป็นการดำเนินการที่ สลับที่ไม่ได้ หรือ ไม่สลับที่ (non-commutative)
- เราอาจกล่าวได้ว่า x สามารถ สลับที่ กับ y ภายใต้การดำเนินการ ∗ ถ้าหาก
- กำหนด f : A×A → B เราจะกล่าวว่าฟังก์ชันนั้น สลับที่ได้ ถ้าหาก
ตัวอย่าง
การดำเนินการสลับที่ได้ในชีวิตประจำวัน
- การใส่รองเท้าก็เหมือนกับการดำเนินการสลับที่ได้ เพราะไม่สำคัญว่าจะใส่รองเท้าข้างซ้ายหรือข้างขวาก่อน ผลสุดท้ายก็เหมือนกันคือได้ใส่รองเท้าทั้งสองข้าง
- ในการแลกเปลี่ยนเงินตรา เราสามารถใช้ประโยชน์จากสมบัติการสลับที่ของการบวก ซึ่งไม่สำคัญว่าเราจะแลกเปลี่ยนอะไรก่อน ผลลัพธ์สุดท้ายก็จะรวมกันได้เท่าเดิม
การดำเนินการสลับที่ได้ในคณิตศาสตร์
ตัวอย่างการดำเนินการทวิภาคที่มีสมบัติการสลับที่ ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีได้แก่
- การบวกของจำนวนจริง สลับที่ได้เนื่องจาก
- ตัวอย่างเช่น 4 + 5 = 5 + 4 ซึ่งนิพจน์ทั้งสองข้างมีค่าเท่ากับ 9
- การคูณของจำนวนจริง สลับที่ได้เนื่องจาก
- ตัวอย่างเช่น 3 × 5 = 5 × 3 ซึ่งนิพจน์ทั้งสองข้างมีค่าเท่ากับ 15
ตัวอย่างการดำเนินการอื่น ๆ เช่น การบวกและการคูณของจำนวนเชิงซ้อน การบวกของเวกเตอร์ อินเตอร์เซกชันและยูเนียนของเซต เป็นต้น
การดำเนินการสลับที่ไม่ได้ในชีวิตประจำวัน
- การซักผ้าและการตากผ้าก็เหมือนกับการดำเนินการสลับที่ไม่ได้ เพราะถ้าหากเราตากผ้าก่อนซักผ้า ผลลัพธ์จะต่างไปจากที่เราซักผ้าก่อนแล้วค่อยตาก คือผ้าเปียกหรือไม่เปียกน้ำ
- ลูกบาศก์ของรูบิคไม่สามารถสลับที่ได้ เช่น ถ้าหากบิดส่วนหน้าตามเข็มนาฬิกา ส่วนบนตามเข็ม และส่วนหน้าทวนเข็ม (FUF') หน้าบนลูกบาศก์จะให้ผลไม่เหมือนกับการบิดส่วนหน้าตามเข็ม และบิดทวนเข็มกลับ ตามด้วยส่วนบนตามเข็ม (FF'U) ลำดับการบิดลูกบาศก์ของรูบิคจึงสลับที่ไม่ได้ เป็นกรณีหนึ่งที่มีการศึกษาในทฤษฎีกรุป
การดำเนินการสลับที่ไม่ได้ในคณิตศาสตร์
ตัวอย่างการดำเนินการทวิภาคที่ไม่มีสมบัติการสลับที่เช่น
โครงสร้างทางคณิตศาสตร์อื่น ๆ
อ้างอิง
- Axler, Sheldon (1997). Linear Algebra Done Right, 2e. Springer. ISBN .
- Gallian, Joseph (2006). Contemporary Abstract Algebra, 6e. ISBN .
- Krowne, Aaron, Commutative ที่ ., เข้าถึงเมื่อ 8 สิงหาคม 2550.
- เอริก ดับเบิลยู. ไวส์สไตน์, "Commute" จากแมทเวิลด์., เข้าถึงเมื่อ 8 สิงหาคม 2550.
- Yark. Examples of non-commutative operations ที่ ., เข้าถึงเมื่อ 8 สิงหาคม 2550.
ดูเพิ่ม
- (anticommutativity)
- สมบัติการเปลี่ยนหมู่
- สมบัติการแจกแจง
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inkhnitsastr smbtikarslbthi xngkvs commutativity khuxkrabwnkarepliynladbkhxngbangsing odyimthaihphllphthsudthayepliynaeplng epnsmbtiebuxngtnkhxngkardaeninkarthangkhnitsastrhlaychnid aelahlayxyangkkhunxyukbsmbtinitwxyangaesdngsmbtikarslbthikhxngkarbwk 3 2 2 3 smbtikarslbthikhxngkardaeninkarphunthan xathikarbwkhruxkarkhunkhxngcanwn thuksmmtikhunodyirkhxkngkhamaepnewlayawnan aelasmbtiniimekhymikartngchuxhruxkarihehtuphlcnkrathngkhriststwrrsthi 19 sungepnchwngewlathinkkhnitsastrerimcdraebiybaebbaephnkhxngthvsditang thangkhnitsastrkarichthwipsmbtikarslbthi hruxkdkarslbthi epnsmbtithiekiywkhxngkbkardaeninkarthwiphakhaelafngkchn aelainthangediywkn thasmbtikarslbthimixyusahrbsmachikkhuhnung phayitkardaeninkarthwiphakhthiaennxnaelw eracaklawidwasmachiksxngtwnnsamarthslbthi commute bnkardaeninkardngklaw inthvsdikrupaelathvsdiest eracaeriykwaepnokhrngsrangslbthiid commutative emuxmitwdaeninkarthiaennxnthaihekidsmbtikarslbthi insakhathangkhnitsastrthisungkhunip echnkhnitwiekhraahhruxphichkhnitechingesn smbtikarslbthikhxngkardaeninkarthiruckepnxyangdi xyangkarbwkaelakarkhunkhxngcanwncringaelacanwnechingsxn mkcamikarichnganmak hruxsmmtikhunma inkarphisucntang niyamkhawa slbthi commute hrux slbthiid commutative mikarichnganinhlaypraedndngni kahndkardaeninkarthwiphakh bnest S eracaklawwakardaeninkarnn slbthiid thahak x y S x y y x displaystyle forall x y in S x y y x swnkardaeninkarthiimepniptamenguxnikhdanbn cathuxwaepnkardaeninkarthi slbthiimid hrux imslbthi non commutative eraxacklawidwa x samarth slbthi kb y phayitkardaeninkar thahak x y y x displaystyle x y y x kahnd f A A B eracaklawwafngkchnnn slbthiid thahak x y A f x y f y x displaystyle forall x y in A f x y f y x twxyangkardaeninkarslbthiidinchiwitpracawn karisrxngethakehmuxnkbkardaeninkarslbthiid ephraaimsakhywacaisrxngethakhangsayhruxkhangkhwakxn phlsudthaykehmuxnknkhuxidisrxngethathngsxngkhang inkaraelkepliynengintra erasamarthichpraoychncaksmbtikarslbthikhxngkarbwk sungimsakhywaeracaaelkepliynxairkxn phllphthsudthaykcarwmknidethaedimkardaeninkarslbthiidinkhnitsastr twxyangkardaeninkarthwiphakhthimismbtikarslbthi sungepnthiruckkndiidaek karbwkkhxngcanwncring slbthiidenuxngcak y z z y y z R displaystyle y z z y quad forall y z in mathbb R twxyangechn 4 5 5 4 sungniphcnthngsxngkhangmikhaethakb 9 karkhunkhxngcanwncring slbthiidenuxngcak yz zy y z R displaystyle yz zy quad forall y z in mathbb R twxyangechn 3 5 5 3 sungniphcnthngsxngkhangmikhaethakb 15 twxyangkardaeninkarxun echn karbwkaelakarkhunkhxngcanwnechingsxn karbwkkhxngewketxr xinetxreskchnaelayueniynkhxngest epntn kardaeninkarslbthiimidinchiwitpracawn concatenation imsamarthslbthiidkarskphaaelakartakphakehmuxnkbkardaeninkarslbthiimid ephraathahakeratakphakxnskpha phllphthcatangipcakthieraskphakxnaelwkhxytak khuxphaepiykhruximepiykna lukbaskkhxngrubikhimsamarthslbthiid echn thahakbidswnhnatamekhmnalika swnbntamekhm aelaswnhnathwnekhm FUF hnabnlukbaskcaihphlimehmuxnkbkarbidswnhnatamekhm aelabidthwnekhmklb tamdwyswnbntamekhm FF U ladbkarbidlukbaskkhxngrubikhcungslbthiimid epnkrnihnungthimikarsuksainthvsdikrupkardaeninkarslbthiimidinkhnitsastr twxyangkardaeninkarthwiphakhthiimmismbtikarslbthiechn karlb ephraawa 0 1 1 0 karhar ephraawa 1 2 2 1 karkhunkhxngemthriks ephraawa 0201 1101 0101 0101 1101 0101 displaystyle begin bmatrix 0 amp 2 0 amp 1 end bmatrix begin bmatrix 1 amp 1 0 amp 1 end bmatrix cdot begin bmatrix 0 amp 1 0 amp 1 end bmatrix neq begin bmatrix 0 amp 1 0 amp 1 end bmatrix cdot begin bmatrix 1 amp 1 0 amp 1 end bmatrix begin bmatrix 0 amp 1 0 amp 1 end bmatrix okhrngsrangthangkhnitsastrxun khuxkrupthimikardaeninkarkhxngkrup thislbthiid khuxringthimikarkhun thislbthiid sahrbkarbwknnslbthiidxyuaelwtamniyam infildhnung thngkarbwkaelakarkhunsamarthslbthiidxangxingAxler Sheldon 1997 Linear Algebra Done Right 2e Springer ISBN 0 387 98258 2 Gallian Joseph 2006 Contemporary Abstract Algebra 6e ISBN 0 618 51471 6 Krowne Aaron Commutative thi ekhathungemux 8 singhakhm 2550 exrik dbebilyu iwssitn Commute cakaemthewild ekhathungemux 8 singhakhm 2550 Yark Examples of non commutative operations thi ekhathungemux 8 singhakhm 2550 duephim anticommutativity smbtikarepliynhmu smbtikaraeckaecng