บทความนี้ไม่มีจาก |
ปัญหาที่สำคัญหนึ่งในกลศาสตร์ควอนตัม คือ อนุภาคในศักย์ทรงกลมสมมาตร กล่าวคือ มีศักย์ที่ขึ้นอยู่กับระยะห่างระหว่างอนุภาคและจุดศูนย์กลางที่กำหนดไว้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ถ้าอนุภาคนั้น คือ อิเล็กตรอนและมีศักย์เป็นไปตามกฎของคูลอมบ์ ปัญหานี้จะสามารถใช้อธิบายอะตอมหรือไอออนของไฮโดรเจน
ในกรณีทั่วไป ฮามิลโตเนียนของอนุภาคในศักย์ทรงกลมสมมาตร เป็นไปตามสมการ
เมื่อ คือ มวลของอนุภาค
คือ ตัวดำเนินการโมเมนตัม
คือ พลังงานศักย์ ขึ้นอยู่กับ r เท่านั้น
ฟังก์ชันคลื่นที่เป็น Eigen function และพลังงาน (Eigenvalues) สามารถหาได้จากการแก้สมการชเรอดิงเงอร์ โดยมีรูปทั่วไปใน 3 มิติ เป็น
ปกติที่ใช้กันมากในวิชาฟิสิกส์จะเป็นการแก้และพิกัดทรงกลม ซึ่งระบบพิกัดทรงกลมจะใช้ได้เหมาะสมมากกว่า เนื่องจากความเป็นทรงกลมสมมาตรของระบบ (อนุภาค) และวิธีหนึ่งที่จะช่วยในการแก้สมการได้สะดวกขึ้น คือ วิธีการแยกตัวแปร ()
อนุภาคในศักย์ทรงกลมสมมาตร
พิจารณาพิกัดทรงกลม (r, θ, φ) ตามรูปด้าน
โดยระบุ ทิศทางของเวกเตอร์ r เป็นระยะทาง r จากจุดกำเนิด
มุม θ (เซต้า) มีทิศทำมุมกับแกน Z
มุม φ (ฟี) โปรเจกชั่นของทิศทางบนระนาบ x-y มีทิศทำมุมกับแกน x
ซึ่งมีความสัมพันธ์กับพิกัดฉากตามสมการ
ดังนั้นจากสมการชเรอดิงเงอร์ใน 3 มิติ (1) สามารถเขียนสมการชเรอดิงเงอร์ในพิกัดทรงกลมได้เป็น
เมื่อ ตัวดำเนินการลาปราส () ในพิกัดทรงกลม เป็น
ใช้วิธีการแยกตัวแปร โดยกำหนดให้ ฟังก์ชันคลื่นสามารถแยกเป็นฟังก์ชันที่ขึ้นกับ r คูณกับฟังก์ชันที่ขึ้นกับ θ และ φ ตามสมการ
หลังจากแก้สมการชเรอดิงเงอร์ตามสมการ (2) จะได้สมการทั้งหมด ดังนี้
เมื่อ
โดย สมการ (3) เรียกว่า Radial equation
สมการ (4) เป็นส่วนของ Angular equation
สมการในส่วนของมุม (Angular equation)
พิจารณาส่วนของมุม (Angular) ตามสมการ (4) ซึ่งนักฟิสิกส์พยายามที่จะใช้วิธีการแยกตัวแปร เพื่อแยกตัวแปรเกี่ยวกับมุม ให้อยู่ในรูป แต่ไม่สามารถแยกตัวแปร กับ ให้เป็นอิสระต่อกันได้ และจากสมการ (4) จะได้
ได้คำตอบในส่วนของมุมเป็น
โดย และเรียก l ว่า
และเรียก m ว่า
และเรียก ว่า ซึ่งจะมีสมบัติ Orthonormal ตามสมการ
สมการในส่วนของรัศมี (Radial equation)
จากสมการ (3) เราจะสามารถแก้สมการได้ง่ายขึ้น ถ้าทำการเปลี่ยนตัวแปร โดยกำหนดให้
จัดรูปใหม่จะได้
จะพบว่ามีรูปแบบเหมือนกับสมการชเรอดิงเงอร์ใน 1 มิติ ยกเว้นจะมีเทอมของศักย์ยังผล (Effective potential) เพิ่มเข้ามา
Orbital angular momentum
ตัวดำเนินการโมเมนตัมเชิงมุม L หาค่าได้จากผลคูณเชิงเวกเตอร์ของตัวดำเนินการตำแหน่งของฟังก์ชันคลื่น r กับ ตัวดำเนินการโมเมนตัม p ตามสมการ ซึ่งจะคล้ายคลึงกับการนิยาม โมเมนตัมเชิงมุมในกลศาสตร์ดั้งเดิม
เนื่องจาก
ดังนั้น จะได้
เมื่อ
ถ้านำ ไป operate กับ จะได้
จะพบว่าในวงเล็บ () ของสมการ (6) จะตรงกับสมการ (4) โดยมี เป็น eigenvalue เขียนสมการใหม่เป็น
และถ้าพิจารณา L ในแนวแกน Z จะได้
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir pyhathisakhyhnunginklsastrkhwxntm khux xnuphakhinskythrngklmsmmatr klawkhux miskythikhunxyukbrayahangrahwangxnuphakhaelacudsunyklangthikahndiw odyechphaaxyangying thaxnuphakhnn khux xielktrxnaelamiskyepniptamkdkhxngkhulxmb pyhanicasamarthichxthibayxatxmhruxixxxnkhxngihodrecn inkrnithwip hamiloteniynkhxngxnuphakhinskythrngklmsmmatr epniptamsmkar H p 22m0 V r displaystyle hat H frac hat p 2 2m 0 V r emux m0 displaystyle m 0 khux mwlkhxngxnuphakh p displaystyle hat p khux twdaeninkaromemntm V r displaystyle V r khux phlngngansky khunxyukb r ethann fngkchnkhlunthiepn Eigen function aelaphlngngan Eigenvalues samarthhaidcakkaraeksmkarcherxdingengxr odymirupthwipin 3 miti epn ℏ22m 2ps r V r ps r Eps r 1 displaystyle frac hbar 2 2m nabla 2 psi mathbf r V mathbf r psi mathbf r E psi mathbf r quad 1 pktithiichknmakinwichafisikscaepnkaraekaelaphikdthrngklm sungrabbphikdthrngklmcaichidehmaasmmakkwa enuxngcakkhwamepnthrngklmsmmatrkhxngrabb xnuphakh aelawithihnungthicachwyinkaraeksmkaridsadwkkhun khux withikaraeyktwaepr xnuphakhinskythrngklmsmmatrphikdthrngklm r 8 f thukichepnpktiinwichafisiks phicarnaphikdthrngklm r 8 f tamrupdan odyrabu thisthangkhxngewketxr r epnrayathang r cakcudkaenid mum 8 esta mithisthamumkbaekn Z mum f fi opreckchnkhxngthisthangbnranab x y mithisthamumkbaekn x sungmikhwamsmphnthkbphikdchaktamsmkar x rsin 8cos fy rsin 8sin fz rcos 8 displaystyle begin aligned x amp r sin theta cos varphi y amp r sin theta sin varphi z amp r cos theta end aligned dngnncaksmkarcherxdingengxrin 3 miti 1 samarthekhiynsmkarcherxdingengxrinphikdthrngklmidepn ℏ22m 1r2 r r2 ps r 1r2sin 8 8 sin 8 ps 8 1r2sin2 8 2ps ϕ2 V r ps r Eps r 2 displaystyle frac hbar 2 2m frac 1 r 2 frac partial partial r left r 2 frac partial psi partial r right frac 1 r 2 sin theta frac partial partial theta left sin theta frac partial psi partial theta right frac 1 r 2 sin 2 theta frac partial 2 psi partial phi 2 V mathbf r psi mathbf r E psi mathbf r quad 2 emux twdaeninkarlapras 2 displaystyle nabla 2 inphikdthrngklm epn 2 1r2 r r2 r 1r2sin 8 8 sin 8 8 1r2sin2 8 2 ϕ2 displaystyle nabla 2 frac 1 r 2 frac partial partial r left r 2 frac partial partial r right frac 1 r 2 sin theta frac partial partial theta left sin theta frac partial partial theta right frac 1 r 2 sin 2 theta frac partial 2 partial phi 2 ichwithikaraeyktwaepr odykahndih fngkchnkhlunsamarthaeykepnfngkchnthikhunkb r khunkbfngkchnthikhunkb 8 aela f tamsmkar ps r 8 ϕ R r Ylm 8 ϕ displaystyle psi r theta phi R r Y lm theta phi hlngcakaeksmkarcherxdingengxrtamsmkar 2 caidsmkarthnghmd dngni 1Rddr r2dRdr 2mr2ℏ2 E V r l 3 1Y1sin 8 8 sin 8 Y 8 1Y1sin2 8 2Y ϕ2 l 4 displaystyle frac 1 R frac d dr left r 2 frac dR dr right frac 2mr 2 hbar 2 E V r lambda quad 3 qquad frac 1 Y frac 1 sin theta frac partial partial theta left sin theta frac partial Y partial theta right frac 1 Y frac 1 sin 2 theta frac partial 2 Y partial phi 2 lambda quad 4 emux l l l 1 displaystyle lambda l l 1 ody smkar 3 eriykwa Radial equation smkar 4 epnswnkhxng Angular equation smkarinswnkhxngmum Angular equation phicarnaswnkhxngmum Angular tamsmkar 4 sungnkfisiksphyayamthicaichwithikaraeyktwaepr ephuxaeyktwaeprekiywkbmum ihxyuinrup Ylm 8 ϕ 8 8 F ϕ displaystyle Y lm theta phi Theta theta Phi phi aetimsamarthaeyktwaepr 8 displaystyle theta kb ϕ displaystyle phi ihepnxisratxknid aelacaksmkar 4 caid 1Fd2Fdϕ2 m2 displaystyle frac 1 Phi frac d 2 Phi d phi 2 m 2 lsin2 8 sin 88dd8 sin 8d8d8 m2 displaystyle lambda sin 2 theta frac sin theta Theta frac d d theta left sin theta frac d Theta d theta right m 2 idkhatxbinswnkhxngmumepn Yℓm 8 ϕ 1 m 2ℓ 1 4p ℓ m ℓ m Pℓm cos 8 eimϕ 5 displaystyle Y ell m theta phi 1 m sqrt 2 ell 1 over 4 pi ell m over ell m P ell m cos theta e im phi quad 5 ody l 0 1 2 displaystyle l 0 1 2 aelaeriyk l wa m l l 1 1 0 1 l 1 l displaystyle m l l 1 1 0 1 l 1 l aelaeriyk m wa aelaeriyk Yℓm 8 ϕ displaystyle Y ell m theta phi wa sungcamismbti Orthonormal tamsmkar 8 0p f 02pYℓm Yℓ m sin 8d8dϕ dℓℓ dmm displaystyle int theta 0 pi int varphi 0 2 pi Y ell m Y ell m sin theta d theta d phi delta ell ell delta mm smkarinswnkhxngrsmi Radial equation caksmkar 3 eracasamarthaeksmkaridngaykhun thathakarepliyntwaepr odykahndih u r def rR r displaystyle u r stackrel mathrm def rR r cdrupihmcaid ℏ22m0rd2dr2 rR r ℏ2l l 1 2m0r2R r V r R r ER r 5 displaystyle hbar 2 over 2m 0 r d 2 over dr 2 left rR r right hbar 2 l l 1 over 2m 0 r 2 R r V r R r ER r quad 5 caphbwamirupaebbehmuxnkbsmkarcherxdingengxrin 1 miti ykewncamiethxmkhxngskyyngphl Effective potential ephimekhama Veff r V r ℏ2l l 1 2m0r2 displaystyle V mathrm eff r V r hbar 2 l l 1 over 2m 0 r 2 Orbital angular momentum twdaeninkaromemntmechingmum L hakhaidcakphlkhunechingewketxrkhxngtwdaeninkartaaehnngkhxngfngkchnkhlun r kb twdaeninkaromemntm p tamsmkar L r p displaystyle mathbf L mathbf r times mathbf p sungcakhlaykhlungkbkarniyam omemntmechingmuminklsastrdngedim enuxngcak L2 Lx2 Ly2 Lz2 displaystyle mathbf L 2 L x 2 L y 2 L z 2 dngnn caid L2 r2 2 r r 1 r r 1sin 8 8sin 8 8 1sin2 8 2 f2 displaystyle begin aligned mathbf L 2 amp r 2 nabla 2 left r frac partial partial r 1 right r frac partial partial r amp frac 1 sin theta frac partial partial theta sin theta frac partial partial theta frac 1 sin 2 theta frac partial 2 partial varphi 2 end aligned emux ℏ 1 displaystyle hbar 1 thana L2 displaystyle mathbf L 2 ip operate kb Yℓm 8 ϕ displaystyle Y ell m theta phi caid L 2Ylm 8 ϕ 1sin2 8 sin 8 8 sin 8 8 2 ϕ2 Ylm 8 ϕ 6 displaystyle hat L 2 Y lm theta phi left frac 1 sin 2 theta left sin theta frac partial partial theta Big sin theta frac partial partial theta Big frac partial 2 partial phi 2 right right Y lm theta phi quad 6 caphbwainwngelb khxngsmkar 6 catrngkbsmkar 4 odymi l displaystyle lambda epn eigenvalue ekhiynsmkarihmepn L 2Ylm 8 ϕ l l 1 Ylm 8 ϕ 7 displaystyle hat L 2 Y lm theta phi l l 1 Y lm theta phi quad 7 aelathaphicarna L inaenwaekn Z caid LzYlm 8 ϕ mYlm 8 ϕ 8 displaystyle L z Y lm theta phi mY lm theta phi quad 8