ในวิชากลศาสตร์ควอนตัม สมการชเรอดิงเงอร์ เป็นสมการทางคณิตศาสตร์ที่ใช้อธิบายระบบทางฟิสิกส์ ที่เป็นผลจากปรากฏการณ์ควอนตัม เช่น สมการชเรอดิงเงอร์เป็นสมการที่สำคัญในการศึกษาระบบทางกลศาสตร์ควอนตัม ซึ่งแอร์วีน ชเรอดิงเงอร์ นักฟิสิกส์ชาวออสเตรีย ได้ค้นพบ "สมการชเรอดิงเงอร์" ในปี พ.ศ. 2468 และถูกตีพิมพ์ในปีต่อมา จากการค้นพบสมการชเรอดิงเงอร์ ทำให้ชเรอดิงเงอร์ได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ ในปี พ.ศ. 2476 สมการนี้เป็นสมการเชิงอนุพันธ์ย่อยหรือที่รู้จักกันว่าสมการคลื่น โดยสามารถแก้สมการชเรอดิงเงอร์เพื่อหาพฤติกรรมการเคลื่อนที่ของคลื่นได้
ในกลศาสตร์ดั้งเดิม กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันโดยเฉพาะกฎข้อที่สอง จะสามารถอธิบายการเคลื่อนที่ของอนุภาคโดยแสดงให้เห็นถึงตำแหน่ง ความเร็ว และความเร่งของอนุภาคที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา โดยใช้ในการทำนายการเคลื่อนที่ของอนุภาคในระบบ แต่ในกลศาสตร์ควอนตัม พฤติกรรมของอนุภาคจะถูกอธิบายโดย ดังนั้นเราจึงสามารถแก้สมการชเรอดิงเงอร์เพื่อหาผลเฉลยออกมาเป็น โดยสมการชเรอดิงเงอร์นี้เป็นการอธิบายธรรมชาติในระดับจุลภาค
สมการชเรอดิงเงอร์แบ่งออกได้เป็นสมการชเรอดิงเงอร์ที่ขึ้นกับเวลา และสมการชเรอดิงเงอร์ที่ไม่ขึ้นกับเวลา
สมการ
สมการชเรอดิงเงอร์ที่ขึ้นกับเวลา
Time-dependent Schrödinger equation (general)
โดยที่
i คือ หน่วยจินตภาพ
ħ คือ
สัญลักษณ์ ∂∂t แสดงถึง เทียบกับเวลา t
Ψ (อักษรกรีกพไซ) คือ ในระบบควอนตัม
r และ t คือ เวกเตอร์บอกตำแหน่งและเวลาตามลำดับ
Ĥ คือ
สมการชเรอดิงเงอร์ที่ไม่ขึ้นกับเวลา
Time-independent Schrödinger equation (general)
สมการนี้เป็นการเขียนให้อยู่ในรูป ซึ่งจะเรียกสมการนี้ว่าสมการ ที่มีค่าคงตัว E เป็น และมี Ψ เป็น
ซึ่งสมการชเรอดิงเงอร์จะใช้ในการแก้ปัญหาการเคลื่อนที่ของอนุภาคในศักย์แบบ 1 มิติ เช่น ศักย์แบบขั้นบันได กำแพงศักย์ บ่อศักย์แบบอนันต์ บ่อศักย์แบบลึกจำกัด เป็นต้น ซึ่งจะพบว่ามีบางส่วนที่แตกต่างจากการใช้วิธีการทางกลศาสตร์ดั้งเดิมแก้ปัญหาอย่างชัดเจน
สมการชเรอดิงเงอร์ของอะตอมไฮโดรเจน
ผลเฉลยของสมการชโรดิงเจอร์ ออร์บิทัลของเป็นของตัวดำเนินการโมเมนตัมเชิงมุมของอิเล็กตรอน 1 ตัว ในแกน z (Lz) ออบิทัลของอะตอมคล้ายไฮโดรเจน(hydrogen-like atom) สามารถหาได้จากเลขควอนตัมหลัก n เลขควอนตัมโมเมนตัมเชิงมุม l และเลขควอนตัมแม่เหล็ก m พลังงานเฉพาะของอะตอมมีค่าขึ้นกับค่า n เท่านั้น เราจึงต้องบวกเลขควอนตัมการหมุน ms = ±½ สำหรับในออร์บิทัลที่มีระดับพลังงานเท่ากันของอะตอมคล้ายไฮโดรเจน ค่า n, l, m and s จะมีค่าเฉพาะที่เปลี่ยนไปตามระดับพลังงาน
การวิเคราะห์สมการชโรดิงเจอร์ของอะตอมที่มีอิเล็กตรอนมากกว่าหนึ่งตัวนั้นเป็นไปได้ยาก เนื่องจากมีแรงคูลอมบ์ระหว่างอิเล็กตรอนเข้ามาเกี่ยวข้องกับการคำนวณ เราจึงต้องใช้วิธีเชิงตัวเลข (Numerical method) มาช่วยคำนวณ เพื่อหาฟังก์ชันคลื่นหรือสมบัติทางควอนตัมอื่น ๆ ดังนั้นเราจึงใช้แบบจำลองของอะตอมคล้ายไฮโดรเจนในการแก้ปัญหา
จากกฎของคูลอมบ์ ศักย์ไฟฟ้าเป็นดังสมการ
เมื่อ
- ε0 คือ ค่าสภาพยอมของสุญญากาศ,
- Z คือ เลขอะตอม (จำนวนโปรตอนในนิวเคลียส),
- e คือ ประจุของอิเล็กตรอน,
- r คือ ระยะห่างระหว่างอิเล็กตรอนและนิวเคลียส
ดังนั้นจะได้สมการคลื่น (ในพิกัดทรงกลม) เป็น
โดย คือ
จะได้สมการชเรอดิงเงอร์
โดย คือ มวลลดทอน
อ้างอิง
- จิรศักดิ์ วงศ์เอกบุตร. (2557). กลศาสตร์ควอนตัมเบื้องต้น. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inwichaklsastrkhwxntm smkarcherxdingengxr epnsmkarthangkhnitsastrthiichxthibayrabbthangfisiks thiepnphlcakpraktkarnkhwxntm echn smkarcherxdingengxrepnsmkarthisakhyinkarsuksarabbthangklsastrkhwxntm sungaexrwin cherxdingengxr nkfisikschawxxsetriy idkhnphb smkarcherxdingengxr inpi ph s 2468 aelathuktiphimphinpitxma cakkarkhnphbsmkarcherxdingengxr thaihcherxdingengxridrbrangwlonebl sakhafisiks inpi ph s 2476 smkarniepnsmkarechingxnuphnthyxyhruxthiruckknwasmkarkhlun odysamarthaeksmkarcherxdingengxrephuxhaphvtikrrmkarekhluxnthikhxngkhlunidaexrwin cherxdingengxr phukhidkhnsmkarcherxdingengxr inklsastrdngedim kdkarekhluxnthikhxngniwtnodyechphaakdkhxthisxng casamarthxthibaykarekhluxnthikhxngxnuphakhodyaesdngihehnthungtaaehnng khwamerw aelakhwamerngkhxngxnuphakhthiepliynaeplngtamewla odyichinkarthanaykarekhluxnthikhxngxnuphakhinrabb aetinklsastrkhwxntm phvtikrrmkhxngxnuphakhcathukxthibayody dngnneracungsamarthaeksmkarcherxdingengxrephuxhaphlechlyxxkmaepn odysmkarcherxdingengxrniepnkarxthibaythrrmchatiinradbculphakh smkarcherxdingengxraebngxxkidepnsmkarcherxdingengxrthikhunkbewla aelasmkarcherxdingengxrthiimkhunkbewlasmkarsmkarcherxdingengxrthikhunkbewla Time dependent Schrodinger equation general iℏ tPS r t H PS r t displaystyle i hbar frac partial partial t Psi mathbf r t hat H Psi mathbf r t odythi i khux hnwycintphaph ħ khux sylksn t aesdngthung ethiybkbewla t PS xksrkrikphis khux inrabbkhwxntm r aela t khux ewketxrbxktaaehnngaelaewlatamladb Ĥ khux smkarcherxdingengxrthiimkhunkbewla Time independent Schrodinger equation general H PS EPS displaystyle operatorname hat H Psi E Psi smkarniepnkarekhiynihxyuinrup sungcaeriyksmkarniwasmkar thimikhakhngtw E epn aelami PS epn sungsmkarcherxdingengxrcaichinkaraekpyhakarekhluxnthikhxngxnuphakhinskyaebb 1 miti echn skyaebbkhnbnid kaaephngsky bxskyaebbxnnt bxskyaebblukcakd epntn sungcaphbwamibangswnthiaetktangcakkarichwithikarthangklsastrdngedimaekpyhaxyangchdecn smkarcherxdingengxrkhxngxatxmihodrecn phlechlykhxngsmkarchordingecxr xxrbithlkhxngepnkhxngtwdaeninkaromemntmechingmumkhxngxielktrxn 1 tw inaekn z Lz xxbithlkhxngxatxmkhlayihodrecn hydrogen like atom samarthhaidcakelkhkhwxntmhlk n elkhkhwxntmomemntmechingmum l aelaelkhkhwxntmaemehlk m phlngnganechphaakhxngxatxmmikhakhunkbkha n ethann eracungtxngbwkelkhkhwxntmkarhmun ms sahrbinxxrbithlthimiradbphlngnganethaknkhxngxatxmkhlayihodrecn kha n l m and s camikhaechphaathiepliyniptamradbphlngngan karwiekhraahsmkarchordingecxrkhxngxatxmthimixielktrxnmakkwahnungtwnnepnipidyak enuxngcakmiaerngkhulxmbrahwangxielktrxnekhamaekiywkhxngkbkarkhanwn eracungtxngichwithiechingtwelkh Numerical method machwykhanwn ephuxhafngkchnkhlunhruxsmbtithangkhwxntmxun dngnneracungichaebbcalxngkhxngxatxmkhlayihodrecninkaraekpyha cakkdkhxngkhulxmb skyiffaepndngsmkar V r 14pϵ0Ze2r displaystyle V r frac 1 4 pi epsilon 0 frac Ze 2 r emux e0 khux khasphaphyxmkhxngsuyyakas Z khux elkhxatxm canwnoprtxninniwekhliys e khux pracukhxngxielktrxn r khux rayahangrahwangxielktrxnaelaniwekhliys dngnncaidsmkarkhlun inphikdthrngklm epn ps r 8 ϕ Rnl r Ylm 8 ϕ displaystyle psi r theta phi R nl r Y lm theta phi ody Ylm displaystyle Y lm khux caidsmkarcherxdingengxr ℏ22m 1r2 r r2 R r r l l 1 R r r2 V r R r ER r displaystyle left frac hbar 2 2 mu left 1 over r 2 partial over partial r left r 2 partial R r over partial r right l l 1 R r over r 2 right V r R r right ER r ody m displaystyle mu khux mwlldthxnxangxingcirskdi wngsexkbutr 2557 klsastrkhwxntmebuxngtn mhawithyalyekstrsastr