รีเฟล็กซ์ดั้งเดิม (อังกฤษ: primitive reflex) เป็นกลุ่มรีเฟล็กซ์ที่เกิดในระบบประสาทกลาง พบในทารกแรกเกิดปกติ แต่ไม่พบในผู้ใหญ่ปกติ เป็นการตอบสนองต่อสิ่งเร้าหนึ่ง ๆ โดยเฉพาะ ๆ รีเฟล็กซ์กลุ่มนี้จะหายไปเมื่อสมองกลีบหน้าพัฒนาขึ้นตามปกติของเด็ก รีเฟล็กซ์ยังมีชื่ออื่น ๆ ว่า infantile reflex, infant reflex และ newborn reflex
เด็กโตกว่าและผู้ใหญ่ที่มีสภาพประสาทไม่ปกติ (เช่นคนไข้อัมพาตสมองใหญ่) อาจคงมีรีเฟล็กซ์เหล่านี้ และรีเฟล็กซ์เหล่านี้ก็อาจปรากฏในผู้ใหญ่อีก โดยอาจเกิดจากสภาพทางประสาทบางอย่างรวมทั้งภาวะสมองเสื่อม (โดยเฉพาะกลุ่มโรคมีน้อยที่เรียกว่า frontotemporal degeneration), รอยโรคเหตุบาดเจ็บ (traumatic lesion) และโรคหลอดเลือดสมอง คนไข้อัมพาตสมองใหญ่ที่ฉลาดปกติสามารถฝึกยับยั้งรีเฟล็กซ์เช่นนี้ แต่ก็ยังอาจปรากฏในสถานการณ์บางอย่าง (เช่นเมื่อ) รีเฟล็กซ์อาจจำกัดอยู่กับส่วนที่มีสภาพประสาทไม่ปกติ (เช่น อัมพาตสมองใหญ่ที่มีผลต่อแค่ขาคือยังคงมี Babinski reflex แต่ก็พูดได้ปกติ) หรือสำหรับคนไข้อัมพาตครึ่งซีก (hemiplegia) รีเฟล็กซ์จะเกิดที่เท้าข้างที่มีปัญหาเท่านั้น
แพทย์โดยหลักจะตรวจว่ามีรีเฟล็กซ์เหล่านี้หรือไม่ถ้าสงสัยว่าสมองเสียหายหรือมีภาวะสมองเสื่อม เช่น โรคพาร์คินสัน เพื่อตรวจการทำงานของสมองกลีบหน้า ถ้าสมองไม่ยับยั้งรีเฟล็กซ์เหล่านี้ รีเฟล็กซ์จะเรียกว่า frontal release signs รีเฟล็กซ์ดั้งเดิมนอกแบบ (atypical) ก็กำลังศึกษาว่าอาจเป็นอาการล่วงหน้าที่บ่งออทิซึมสเปกตรัม
ระบบประสาทสั่งการนอกพีระมิด (extrapyramidal system) เป็นตัวอำนวยรีเฟล็กซ์ดั้งเดิม โดยหลายชนิดมีตั้งแต่คลอด และจะหายไปเมื่อลำเส้นใยประสาทพีระมิด (pyramidal tracts) ทำงานได้มากขึ้นเพราะการเกิดปลอกไมอีลิน จึงอาจปรากฏอีกในผู้ใหญ่หรือในเด็กที่ระบบประสาทพีระมิดไม่ทำงานเพราะเหตุต่าง ๆ แต่เพราะวิธีการตรวจใหม่คือ Amiel Tison method of neurological assessment ความสำคัญในการประเมินรีเฟล็กซ์เช่นนี้ในเด็กอาจลดลง
ประโยชน์ในการปรับตัว
รีเฟล็กซ์มีประโยชน์ต่าง ๆ กัน บางอย่างช่วยให้รอดชีวิต เช่น rooting reflex ซึ่งช่วยทารกให้หาหัวนมของแม่ได้ ทารกจะแสดง rooting reflex ก็ต่อเมื่อหิวแล้วคนอื่นถูกตัว แต่ไม่ใช่ถูกตัวเอง มีรีเฟล็กซ์จำนวนหนึ่งที่น่าจะช่วยทารกให้รอดชีวิตในประวัติวิวัฒนาการของมนุษย์ (เช่น รีเฟล็กซ์โมโร) รีเฟล็กซ์อื่น ๆ เช่น ที่ทำให้ดูดและจับอาจช่วยให้ทารกมีปฏิสัมพันธ์ที่น่าพึงใจกับพ่อแม่ บำรุงใจพ่อแม่ให้ตอบสนองด้วยความรักความพอใจ ช่วยให้เลี้ยงทารกได้ดีกว่า และยังช่วยให้พ่อแม่ปลอบทารก ทำให้เด็กสามารถบรรเทาความทุกข์และควบคุมสิ่งเร้าที่ตนได้รับ
รีเฟล็กซ์ดูดนม (sucking reflex)
รีเฟล็กซ์ดูดนม (sucking reflex) สามัญในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทั้งหมดและมีตั้งแต่คลอด โดยเชื่อมกับ rooting reflex และการให้นมของแม่ คือทำให้เด็กดูดทุกอย่างที่มาถูกเพดานปากซึ่งกระตุ้นการดูดนมตามธรรมชาติของเด็ก รีเฟล็กซ์มีสองระยะคือ
- Expression (การปรากฏ) เกิดเมื่อใส่หัวนมไว้ในปากเด็กแล้วแตะเพดานปาก เด็กจะอมหัวนมที่ระหว่างลิ้นกับเพดานแล้วดูดนม
- Milking (การรีดนม) เด็กจะลากลิ้นจากฐานหัวนมไปที่หัวนม ซึ่งกระตุ้นให้นมออกจากหัวนมจะได้กลืน
rooting reflex
rooting reflex มีตั้งแต่คลอด (เกิดตั้งแต่เมื่อถึง 28 สัปดาห์ในครรภ์) และจะหายไปราว ๆ อายุ 4 เดือนเมื่อกลายไปอยู่ใต้อำนาจจิตใจ รีเฟล็กซ์ช่วยให้ดูดนมแม่ คือทารกเกิดใหม่จะหันศีรษะไปทางอะไรก็ตามที่ลูบแก้มหรือปากเพื่อหาวัตถุนั้น โดยหันแบบค่อย ๆ ลดมุมที่หันจนกว่าจะเจอ หลังจากคุ้นเคยกับการตอบสนองเช่นนี้ (ถ้าเลี้ยงด้วยนมแม่ จะเกิดประมาณ 3 อาทิตย์หลังคลอด) ทารกจะเคลื่อนเข้าไปหาวัตถุได้โดยตรงและไม่ต้องหา
รีเฟล็กซ์โมโร
รีเฟล็กซ์โมโร (Moro reflex) เป็นตัวบ่งชี้สำคัญเพื่อประเมินพัฒนาการของระบบประสาทกลาง เป็นรีเฟล็กซ์มีชื่อตามแพทย์ชาวออสเตรียผู้ค้นพบคือ Ernst Moro แม้บางทีจะเรียกว่าเป็นปฏิกิริยาตกใจ (startle reaction, startle response, startle reflex) หรือ embrace reflex แต่นักวิชาการโดยมากถือว่าต่างกับปฏิกิริยาตกใจ และเชื่อว่า เป็นความกลัวที่ไม่ได้เรียนรู้อย่างเดียวของทารกเกิดใหม่[] รีเฟล็กซ์มีตั้งแต่คลอด มีกำลังสุดในเดือนแรกของชีวิต แล้วเริ่มหายไปตั้งแต่ราว ๆ 2 เดือน มีโอกาสเกิดขึ้นเมื่อศีรษะเปลี่ยนตำแหน่งอย่างฉับพลัน อุณหภูมิเปลี่ยนอย่างทันที หรือตกใจเพราะเสียง คือขาและศีรษะจะยืดออก แขนจะยกขึ้นและยืดออก มือจะแบขึ้นและนิ้วหัวแม่มือยืดออก แล้วก็จะหุบแขนอย่างรวดเร็ว มือกำเป็นกำปั้น และเด็กจะร้องไห้เสียงดัง
รีเฟล็กซ์ปกติจะหายไปเมื่อถึงอายุ 3-4 เดือน แต่ก็อาจคงอยู่จนถึง 6 เดือนเหมือนกัน การไร้รีเฟล็กซ์ทั้งสองซีกข้างของร่างกายอาจสัมพันธ์กับความเสียหายในระบบประสาทกลาง การไร้รีเฟล็กซ์แค่ซีกเดียวอาจแสดงความเสียหายเพราะบาดเจ็บเมื่อคลอด (เช่น กระดูกไหปลาร้าแตกหัก หรือการบาดเจ็บที่ข่ายประสาทแขน) โดยอัมพาตเอิร์บ (Erb's palsy) หรืออัมพาตรูปแบบอื่น ๆ ก็จะมีด้วยในกรณีเช่นนี้ ในประวัติวิวัฒนาการมนุษย์ รีเฟล็กซ์นี้อาจช่วยทารกให้เกาะติดกับแม่เมื่อต้องอุ้มไปด้วย คือถ้าทารกถลำตัว รีเฟล็กซ์ก็จะทำให้กอดแม่แล้วเกาะตัวแม่ได้ใหม่
รีเฟล็กซ์เดิน/ก้าวเท้า
รีเฟล็กซ์เดิน (walking reflex) หรือรีเฟล็กซ์ก้าวเท้า (walking reflex) มีตั้งแต่คลอดแม้ทารกเล็กขนาดนี้จะยังไม่สามารถรับน้ำหนักตนเองได้ เมื่อฝ่าเท้าแตะกับผิวเรียบ ๆ เด็กจะพยายามเดินโดยวางเท้าข้างหนึ่งไว้ข้างหน้าของอีกข้างหนึ่ง รีเฟล็กซ์จะหายไปราว ๆ อายุ 5-6 เดือนและทารกก็จะเริ่มพยายามเดินหลังจากรีเฟล็กซ์นี้หายไป
Asymmetrical tonic neck reflex (ATNR)
asymmetrical tonic neck reflex หรือ "รีเฟล็กซ์ฟันดาบ" จะเกิดเมื่ออายุ 1 เดือนแล้วหายไปราว ๆ 4 เดือน คือเมื่อหันศีรษะของเด็กไปทางข้าง ๆ แขนด้านนั้นก็จะยึดออกและแขนข้างตรงข้ามจะงอ (แต่บางครั้งแสดงท่าเพียงแค่เล็กน้อย) ถ้าเด็กไม่สามารถออกจากท่านี้ได้ หรือว่ารีเฟล็กซ์ยังเกิดหลังจากถึงอายุ 6 เดือน เด็กอาจมีโรคที่เซลล์ประสาทสั่งการบน (UMN) นักวิชาการบางพวกเสนอว่า รีเฟล็กซ์นี้เป็นบุพพภาคของการประสานการทำงานของมือร่วมกับตาในเด็ก ซึ่งเตรียมตัวเด็กให้ยื่นมือกับแขนโดยอยู่ใต้อำนาจจิตใจ
Symmetrical tonic neck reflex (STNR)
symmetric tonic neck reflex (STNR) ปกติจะปรากฏราว ๆ อายุ 6-9 เดือนและหายไปราว ๆ 12 เดือน คือเมื่อศีรษะเด็กก้มลงข้างหน้า ซึ่งยืดส่วนหลังของคอ แขนก็จะงอขึ้นและขายืดออก ในนัยตรงข้าม ถ้าศีรษะน้อมไปทางข้างหลัง ซึ่งหดส่วนหลังของคอ แขนก็จะยืดออกและขาก็จะงอเข้า รีเฟล็กซ์นี้สำคัญเพราะช่วยให้เด็กดันตัวขึ้นให้น้ำหนักลงที่มือและเข่า (เพื่อจะคลาน) แต่อาจเป็นอุปสรรคในการคลานไปข้างหน้าถ้ายับยั้งรีเฟล็กซ์นี้ไม่ได้ ถ้ายังเกิดรีเฟล็กซ์นี้อยู่หลังอายุเกิน 2-3 ขวบ ร่างกายหรือประสาทอาจล่าช้าทางพัฒนาการ
Tonic labyrinthine reflex (TLR)
tonic labyrinthine reflex (TLR) ก็เป็นรีเฟล็กซ์ดั้งเดิมที่พบในทารกมนุษย์เกิดใหม่เหมือนกัน คือเมื่อเอนศีรษะไปทางด้านหลังเมื่อนอนหงายหลังจะทำให้หลังแข็งตัวหรือแม้แต่แอ่นไปทางด้านหลัง ขาจะยืดออก เกร็งแข็ง แล้วดันออกด้วยกัน นิ้วเท้าจะชี้ แขนจะงอที่ข้อศอกและข้อมือ มือจะกำเป็นกำปั้นหรืองอนิ้วมือเข้า การมีรีเฟล็กซ์นี้เกินระยะเกิดใหม่ยังเรียกด้วยว่า abnormal extension pattern หรือ abnormal extensor tone
การมี TLR และรีเฟล็กซ์ดั้งเดิมอื่น ๆ เช่น ATNR เกิน 6 เดือนแรกของชีวิตอาจระบุว่า เด็กมีความล่าช้าทางพัฒนาการหรือความผิดปกติทางประสาท เช่น ในเด็กที่มีอัมพาตสมองใหญ่ รีเฟล็กซ์อาจคงยืนและอาจยิ่งมากขึ้น ทั้ง TLR และ ATNR ที่เป็นรีเฟล็กซ์ผิดปกติอาจสร้างปัญหาสำหรับเด็กที่กำลังโต เพราะทั้งสองเป็นอุปสรรคของกิจกรรมที่มีประโยชน์ เช่น กลิ้งตัว เอามือเข้าหากัน หรือแม้แต่เอามือมาที่ปาก ในระยะยาว ทั้งสองอาจสร้างความเสียหายอย่างหนักแก่ข้อต่อและกระดูกของเด็กที่กำลังโต ทำให้หัวกระดูกต้นขาหลุดเป็นบางส่วนออกจากเบ้า (subluxation) หรือเคลื่อนออกทั้งหมดออกจากเบ้า (dislocation)
รีเฟล็กซ์จับ (palmar grasp reflex)
รีเฟล็กซ์จับ (palmar grasp reflex) มีตั้งแต่คลอดและคงยืนจนกระทั่งถึงอายุ 5-6 เดือน คือเมื่อเอาวัตถุไปไว้ที่มือแล้วลูบที่ฝ่ามือ นิ้วก็จะงอเข้าจับวัตถุไว้ในมือ เพื่อให้เห็นรีเฟล็กซ์นี้ได้ดีสุด ให้วางเด็กไว้บนหมอนที่สามารถตกลงได้อย่างปลอดภัยลง ยกนิ้วก้อยของทั้งสองมือให้เด็กจับ (เพราะนิ้วชี้ปกติใหญ่เกินที่เด็กจะจับ) แล้วค่อย ๆ ยกขึ้น มือที่จับอยู่อาจรองรับน้ำหนักของเด็กได้ แต่เด็กอยู่ ๆ ก็อาจปล่อยมือได้ สามารถให้เด็กคลายมือโดยนัยตรงข้ามคือให้ลูบหลังมือ
รีเฟล็กซ์ฝ่าเท้า (plantar reflex)
รีเฟล็กซ์ฝ่าเท้า (plantar reflex) เกิดเมื่อฝ่าเท้าถูกกับวัตถุทื่อ ๆ โดยมีสองรูปแบบอย่างใดอย่างหนึ่ง ในผู้ใหญ่ปกติ รีเฟล็กซ์ทำให้นิ้วหัวแม้เท้างอลง (flexion) ถ้านิ้วหัวแม่เท้ากลับงอขึ้น (extension) นี้เรียกว่า Babinski response หรือ Babinski sign หรือ Babinski reflex ซึ่งระบุความผิดปกติของไขสันหลังและสมองในผู้ใหญ่ เช่น รอยโรคในเซลล์ประสาทสั่งการบน (upper motor neuron lesion)
แต่การเคลื่อนไหวที่ผิดปกติในผู้ใหญ่คือนิ้วหัวแม่เท้างอขึ้นเมื่อฝ่าเท้าถูกวัตถุทื่อ ๆ ก็เกิดเป็นปกติสำหรับทารกอายุน้อยกว่า 1 ขวบเช่นกันเพราะลำเส้นใยประสาท corticospinal tract ยังมีปลอกไมอีลินน้อย เมื่อลำเส้นใยประสาทพัฒนาขึ้น รีเฟล็กซ์ที่ทำให้นิ้วหัวแม้เท้างอลงก็จะเกิดขึ้นกลายเป็นปกติแทน
Galant reflex
Galant reflex หรือ Galant's infantile reflex มีตั้งแต่คลอดและหายไปเมื่อถึงอายุระหว่าง 4-6 เดือน คือเมื่อลูบผิวตามหลังของเด็ก เด็กจะหมุนไปทางข้างที่ลูบ ถ้ารีเฟล็กซ์คงยืนเกิน 6 เดือน นี่เป็นความผิดปกติ ชื่อมาจากประสาทแพทย์ชาวรัสเซีย Johann Susman Galant
รีเฟล็กซ์ว่ายน้ำ (swimming reflex)
รีเฟล็กซ์ว่ายน้ำ (swimming reflex) เริ่มเมื่อวางทารกเอาหน้าคว่ำลงในน้ำ เด็กจะใช้แขนและขาพยายามว่ายน้ำ รีเฟล็กซ์นี้หายไปในระหว่างอายุ 4-6 เดือน แม้การตอบสนองโดยกวาดแขนและเตะขาเช่นนี้เกิดเป็นปกติ แต่การวางเด็กไว้ในน้ำก็อาจเสี่ยงมาก เพราะเด็กอาจกลืนน้ำในปริมาณมาก ดังนั้น คนดูแลต้องคอยระมัดระวังอย่างมาก แนะนำว่าอย่าสอนเด็กว่ายน้ำจนกระทั่งอย่างน้อยถึงอายุ 3 เดือน เพราะเด็กที่จมอยู่ในน้ำยังอาจเสียชีวิตเพราะภาวะน้ำเป็นพิษ (water intoxication) อีกด้วย
รีเฟล็กซ์แบ็บกิน (Babkin reflex)
รีเฟล็กซ์แบ็บกิน (Babkin reflex) ก็เกิดในทารกเกิดใหม่ด้วย เป็นการตอบสนองแบบต่าง ๆ เมื่อกดที่ฝ่ามือทั้งสองมือ เด็กอาจก้มคอ หันศีรษะ อ้าปาก หรือตอบสนองแบบรวม ๆ กัน ทารกที่เล็กกว่าหรือคลอดก่อนกำหนดมีโอกาสเกิดรีเฟล็กซ์มากกว่า โดยเห็นในเด็กที่คลอดหลังอยู่ในครรภ์แม่ 26 สัปดาห์ รีเฟล็กซ์นี้ตั้งชื่อตามนักสรีรวิทยาชาวรัสเซียคือ บอริส แบ็บกิน (Boris Babkin)
รีเฟล็กซ์ร่มชูชีพ (parachute reflex)
รีเฟล็กซ์ร่มชูชีพ (parachute reflex) เกิดในทารกที่แก่กว่า เริ่มราว ๆ 6-7 เดือน) แล้วหายไปหลังถึงอายุ 1 ปี เกิดเมื่ออุ้มเด็กให้ตัวตรงแล้วหมุนตัวอย่างรวดเร็วให้หน้าคว่ำลงขนานกับพื้น (เหมือนกับจะล้ม) เด็กจะยืดแขนทั้งสองออกเหมือนกับจะชะงักตัวไม่ให้ล้มถึงพื้น แต่รีเฟล็กซ์จะเกิดก่อนนานกว่าจะเดิน
Unintegrated reflexes
รีเฟล็กซ์ที่ไม่ระงับไปในช่วงวัยทารกเรียกว่า unintegrated reflex หรือ persistent reflex (รีเฟล็กซ์คงยืน) ซึ่งสัมพันธ์กับปัญหาทางการเรียน เช่น เด็กที่มีปัญหาการเรียนพบว่า ยังมีรีเฟล็กซ์ดั้งเดิมที่คงยืน อนึ่ง ATNR ที่คงยืนยังพบว่า สัมพันธ์กับคะแนนการอ่านและการสะกดที่ลดลง และเด็กที่ปัญหาการอ่านมักจะมี TLR มากกว่าเด็กที่ไม่มีโรคสมาธิสั้นยังพบว่าสัมพันธ์กับ ATNR กับรีเฟล็กซ์โมโรและกับ Galant reflex ที่คงยืนอีกด้วย
รีเฟล็กซ์ดั้งเดิมอื่น ๆ ที่ตรวจในผู้ใหญ่
ดังที่กล่าวไว้ตั้งแต่ต้น รีเฟล็กซ์ดั้งเดิมที่ระบบประสาทไม่สามารถยับยั้งอย่างสมควรเรียกว่า frontal release signs แม้นี้อาจเป็นชื่อที่ไม่สมควร นอกจากที่กล่าวไปแล้ว รีเฟล็กซ์ดั้งเดิมอื่น ๆ ที่ตรวจในผู้ใหญ่รวมทั้ง
- palmomental reflex คือกล้ามเนื้อคางจะกระตุกถ้าลูบบางส่วนของฝ่ามือ
- snout reflex คือปากจะยื่นถ้าเคาะปากที่ปิดใกล้ ๆ ตรงกลางอย่างเบา ๆ
- glabellar reflex เป็นการกะพริบตาที่เกิดโดยเคาะหน้าผากซ้ำ ๆ ไม่กี่ครั้งแรก ถ้ายังกะพริบต่อจากนั้น จัดว่าผิดปกติ
ในทารกมีความเสี่ยงสูง
ทารกมีความเสี่ยงสูง หมายถึงเด็กเกิดใหม่ที่มีโอกาสตายหรือเจ็บป่วยอย่างสำคัญโดยเฉพาะในเดือนแรกหลังคลอด เด็กมีความเสี่ยงสูงบ่อยครั้งมีรีเฟล็กซ์ดั้งเดิมที่ผิดปกติ หรือไม่มีโดยสิ้นเชิง ซึ่งจะต่าง ๆ กันขึ้นอยู่กับรีเฟล็กซ์ (เช่น รีเฟล็กซ์โมโรอาจปกติ แต่รีเฟล็กซ์เดินไม่มีหรือผิดปกติ) การมีรีเฟล็กซ์ตามปกติของทารกเกิดใหม่สัมพันธ์กับการมีคะแนน Apgar score ที่สูงกว่า กับการหนักมากกว่า กับการอยู่ใน รพ. น้อยกว่าหลังเกิด และกับสภาพจิตที่ดีกว่า
งานศึกษาตามขวางปี 2011 ที่ประเมินรีเฟล็กซ์ดั้งเดิมของทารกเกิดใหม่ที่เสี่ยงสูง 67 คน โดยตรวจการตอบสนองของรีเฟล็กซ์ดูดนม รีเฟล็กซ์ฝ่าเท้า และรีเฟล็กซ์โมโร พบว่า มีรีเฟล็กซ์ดูดนมปกติมากที่สุด (63.5%) ตามด้วยรีเฟล็กซ์ฝ่าเท้า (58.7%) และรีเฟล็กซ์โมโร (42.9%) แล้วสรุปว่า ทารกความเสี่ยงสูงจำนวนมากกว่าตอบสนองทางรีเฟล็กซ์อย่างผิดปกติหรือไม่ตอบสนอง และรีเฟล็กซ์แต่ละอย่างจะตอบสนองต่าง ๆ กัน
อย่างไรก็ดี เพราะการออกแบบวิธีตรวจประสาทที่มีประสิทธิภาพเช่น Amiel Tison method of neurological assessment ซึ่งสามารถพยากรณ์ผลทางประสาทของทารกความเสี่ยงสูงและอื่น ๆ ได้ดี ความสำคัญในการประเมินรีเฟล็กซ์ดั้งเดิมก็ได้ลดลงในเด็ก
เชิงอรรถ
- frontal release signs เป็นรีเฟล็กซ์ดั้งเดิมที่จัดว่าเป็นอาการของโรคที่มีผลต่อสมองกลีบหน้า การปรากฏของอาการเช่นนี้สะท้อนถึงบริเวณสมองที่ทำงานผิดปกติ ไม่ได้ระบุโรคอย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ ซึ่งอาจกระจายไปทั่วเช่นภาวะสมองเสื่อม หรืออยู่ที่บริเวณโดยเฉพาะ ๆ เช่นเนื้องอก
- pyramidal tract (ลำเส้นใยประสาทพีระมิด) รวมทั้ง corticospinal tract และ corticobulbar tract เป็นการรวมใยประสาทนำออก (efferent nerve fiber) จากเซลล์ประสาทสั่งการบน (UMN) ที่ส่งไปจากเปลือกสมองไปยุติไม่ที่ก้านสมอง (คือ corticobulbar tract) ก็ที่ไขสันหลัง (คือ corticospinal tract) ซึ่งมีบทบาทในกิจสั่งการ (motor functions) ของร่างกาย
- รีเฟล็กซ์ที่ระงับไปในช่วงวัยทารกเรียกว่า integrated reflex
- Apgar score เป็นวิธีการตรวจสุขภาพเด็กเกิดใหม่ทั่วไป
อ้างอิง
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (php)เมื่อ 2011-04-27. สืบค้นเมื่อ 2008-10-23.
- Rauch, Daniel (2006-10-05). . MedlinePlus. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-02-04. สืบค้นเมื่อ 2007-10-11.
- Schott, JM; Rossor, MN (2003). "The grasp and other primitive reflexes". J. Neurol. Neurosurg. Psychiatry. 74 (5): 558–60. doi:10.1136/jnnp.74.5.558. PMC 1738455. PMID 12700289.
- "Clinical Methods: The History, Physical, and Laboratory Examinations". 1990. PMID 21250236.
{{}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
((help)) - Teitelbaum, O.; Benton, T.; Shah, P. K.; Prince, A.; Kelly, J. L.; Teitelbaum, P. (2004). "Eshkol-Wachman movement notation in diagnosis: the early detection of Asperger's syndrome". Proc. Natl. Acad. Sci. U.S.A. 101 (32): 11909–14. Bibcode:2004PNAS..10111909T. doi:10.1073/pnas.0403919101. PMC 511073. PMID 15282371.
- Amiel-Tison, C; Grenier, A (1986). Neurological Assessment during first year of life. New York: Oxford University Press. pp. 46–94.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Paro-Panjan, D; Neubauer, D; Kodric, J; Bratanic, B (Jan 2005). "Amiel-Tison Neurological Assessment at term age: clinical application, correlation with other methods, and outcome at 12 to 15 months". Developmental Medicine and Child Neurology. 47 (1): 19–26. doi:10.1111/j.1469-8749.2005.tb01035.x. PMID 15686285.
- Leroux, BG; N'guyen The Tich, S; Branger, B; Gascoin, G; Rouger, V; Berlie, I; Montcho, Y; Ancel, PY; Rozé, JC; Flamant, C (2013-02-22). "Neurological assessment of preterm infants for predicting neuromotor status at 2 years: results from the LIFT cohort". BMJ Open. 3 (2): e002431. doi:10.1136/bmjopen-2012-002431. PMC 3586154. PMID 23435797.
- Berk, Laura E (2009). Child Development (8th ed.). USA: Pearson.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Odent, M (1977). "The early expression of the rooting reflex". Proceedings of the 5th International Congress of Psychosomatic Obstetrics and Gynaecology, Rome. London: Academic Press: 1117–1119.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Fletcher, Mary Ann (1998). Physical Diagnosis in Neonatology. Philadelphia: Lippincott-Raven. p. 472. ISBN . สืบค้นเมื่อ 2013-02-07.
- The American Academy of Pediatrics (1998). Shelov, Stephen P.; Hannemann, Robert E. (บ.ก.). Caring for Your Baby and Young Child: Birth to Age 5. Illustrations by Wendy Wray and Alex Gray (Revised ed.). New York, NY: Bantam. ISBN . LCCN 90-47015.
- Rauch, Daniel (2006-10-05). "MedlinePlus Medical Encyclopedia: Moro Reflex". สืบค้นเมื่อ 2007-10-11.
- . 2001-10-14. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2001-11-22. สืบค้นเมื่อ 2007-10-11.
- Siegler, R.; Deloache, J.; Eisenberg, N. (2006). How Children Develop. New York: Worth Publishers. p. 188. ISBN .
- O'Dell, Nancy. (PDF). NDC Brain.com. Pediatric Neuropsychology Diagnostic and Treatment Center. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-04-11. สืบค้นเมื่อ 2017-03-09.
- . Vision Therapy at Home. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-01-07. สืบค้นเมื่อ 2017-03-09.
- Shelov, Steven (2009). Caring for your baby and young child. American Academy Of Pediatrics.
- "Babinski's reflex". MedlinePlus. สืบค้นเมื่อ 2010-01-11.
- Khwaja (2005). "Plantar Reflex". JIACM. 6 (3): 193–197.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-23.
- Pedroso, Fleming S.; Rotta, Newra T. (2004). "Babkin Reflex and Other Motor Responses to Appendicular Compression Stimulus of the Newborn". Journal of Child Neurology. 19 (8): 592–596. doi:10.1177/088307380401900805. PMID 15605468.
- Parmelee, Arthur H., Jr. (1963-05-05). "The Hand-Mouth Reflex of Babkin in Premature Infants". Pediatrics. 31 (5): 734–740. PMID 13941546.
- . Case Western Reserve University School of Medicine. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-01-11. สืบค้นเมื่อ 2019-09-16.
- Grzywniak, C. (2016). "Role of early-childhood reflexes in the psychomotor development of a child, and in learning". Acta Neuropsychologica. 14 (2): 113-129. doi:10.5604/17307503.1213000 (inactive 2019-08-20).
{{}}
: CS1 maint: DOI inactive as of สิงหาคม 2019 () - McPhillips, M. (2007). "Primary reflex persistence in children with reading difficulties (dyslexia) : A cross-sectional study". Neuropsychologia. 45 (4): 748–54. doi:10.1016/j.neuropsychologia.2006.08.005. PMID 17030045.
- Ramirez Gonzalez, S.; Ciuffreda, K.J.; Castillo Hernandez, L.; Bernal Escalante, J. (2008). "The correlation between primitive reflexes and saccadic eye movements in 5th grade children with teacher-reported reading problems". Optometry & Vision Development. 39 (3): 140-145.
- Konicarova, J.; Bob, P. (2013). "Asymmetric tonic neck reflex and symptoms of attention deficit and hyperactivity disorder in children". International Journal of Neuroscience. 123 (11): 766–9. doi:10.3109/00207454.2013.801471. PMID 23659315.
- Konicarova, J.; Bob, P. (2012). "Retained primitive reflexes and ADHD in children". Activitas Nervosa Superior. 54 (3–4): 135-138. doi:10.1007/BF03379591.
- Sohn, M.; Ahn, L.; Lee, S. (2011). "Assessment of Primitive Reflexes in Newborns". Journal of Clinical Medicine Research. 3 (6): 285–290. doi:10.4021/jocmr706w. PMC 3279472. PMID 22393339.
แหล่งข้อมูลอื่น
- "PediNeuroLogic Exam - Movies of infant reflex testing". สืบค้นเมื่อ 2007-10-11.
- "Medri Vodcast: Neonatology - Movies of the neurological examination of the newborn infant". สืบค้นเมื่อ 2008-05-02.[]
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha rieflksdngedim xngkvs primitive reflex epnklumrieflksthiekidinrabbprasathklang phbintharkaerkekidpkti aetimphbinphuihypkti epnkartxbsnxngtxsingera hnung odyechphaa rieflksklumnicahayipemuxsmxngklibhnaphthnakhuntampktikhxngedk rieflksyngmichuxxun wa infantile reflex infant reflex aela newborn reflex edkotkwaaelaphuihythimisphaphprasathimpkti echnkhnikhxmphatsmxngihy xackhngmirieflksehlani aelarieflksehlanikxacpraktinphuihyxik odyxacekidcaksphaphthangprasathbangxyangrwmthngphawasmxngesuxm odyechphaaklumorkhminxythieriykwa frontotemporal degeneration rxyorkhehtubadecb traumatic lesion aelaorkhhlxdeluxdsmxng khnikhxmphatsmxngihythichladpktisamarthfukybyngrieflksechnni aetkyngxacpraktinsthankarnbangxyang echnemux rieflksxaccakdxyukbswnthimisphaphprasathimpkti echn xmphatsmxngihythimiphltxaekhkhakhuxyngkhngmi Babinski reflex aetkphudidpkti hruxsahrbkhnikhxmphatkhrungsik hemiplegia rieflkscaekidthiethakhangthimipyhaethann aephthyodyhlkcatrwcwamirieflksehlanihruximthasngsywasmxngesiyhayhruxmiphawasmxngesuxm echn orkhpharkhinsn ephuxtrwckarthangankhxngsmxngklibhna thasmxngimybyngrieflksehlani rieflkscaeriykwa frontal release signs rieflksdngedimnxkaebb atypical kkalngsuksawaxacepnxakarlwnghnathibngxxthisumsepktrm rabbprasathsngkarnxkphiramid extrapyramidal system epntwxanwyrieflksdngedim odyhlaychnidmitngaetkhlxd aelacahayipemuxlaesniyprasathphiramid pyramidal tracts thanganidmakkhunephraakarekidplxkimxilin cungxacpraktxikinphuihyhruxinedkthirabbprasathphiramidimthanganephraaehtutang aetephraawithikartrwcihmkhux Amiel Tison method of neurological assessment khwamsakhyinkarpraeminrieflksechnniinedkxacldlngpraoychninkarprbtwrieflksmipraoychntang kn bangxyangchwyihrxdchiwit echn rooting reflex sungchwytharkihhahwnmkhxngaemid tharkcaaesdng rooting reflex ktxemuxhiwaelwkhnxunthuktw aetimichthuktwexng mirieflkscanwnhnungthinacachwytharkihrxdchiwitinprawtiwiwthnakarkhxngmnusy echn rieflksomor rieflksxun echn thithaihdudaelacbxacchwyihtharkmiptismphnththinaphungickbphxaem barungicphxaemihtxbsnxngdwykhwamrkkhwamphxic chwyiheliyngtharkiddikwa aelayngchwyihphxaemplxbthark thaihedksamarthbrrethakhwamthukkhaelakhwbkhumsingerathitnidrbrieflksdudnm sucking reflex rieflksdudnm sucking reflex samyinstweliynglukdwynmthnghmdaelamitngaetkhlxd odyechuxmkb rooting reflex aelakarihnmkhxngaem khuxthaihedkdudthukxyangthimathukephdanpaksungkratunkardudnmtamthrrmchatikhxngedk rieflksmisxngrayakhux Expression karprakt ekidemuxishwnmiwinpakedkaelwaetaephdanpak edkcaxmhwnmthirahwanglinkbephdanaelwdudnm Milking karridnm edkcalaklincakthanhwnmipthihwnm sungkratunihnmxxkcakhwnmcaidklunrooting reflexrooting reflex rooting reflex mitngaetkhlxd ekidtngaetemuxthung 28 spdah inkhrrph aelacahayipraw xayu 4 eduxn emuxklayipxyuitxanaccitic rieflkschwyihdudnmaem khuxtharkekidihmcahnsirsaipthangxairktamthilubaekmhruxpakephuxhawtthunn odyhnaebbkhxy ldmumthihncnkwacaecx hlngcakkhunekhykbkartxbsnxngechnni thaeliyngdwynmaem caekidpraman 3 xathity hlngkhlxd tharkcaekhluxnekhaiphawtthuidodytrngaelaimtxngharieflksomorrieflksomor source source source source source source rieflksomor Moro reflex intharkxayu 4 wn 1 rieflks erimthanganemuxdungtharkkhuncakphunaelwplxy 2 edk cakangaekhn 3 aelw hubaekhnxyangrwderw 4 edk rxngih 10 winathi rieflksomor Moro reflex epntwbngchisakhyephuxpraeminphthnakarkhxngrabbprasathklang epnrieflksmichuxtamaephthychawxxsetriyphukhnphbkhux Ernst Moro aembangthicaeriykwaepnptikiriyatkic startle reaction startle response startle reflex hrux embrace reflex aetnkwichakarodymakthuxwatangkbptikiriyatkic aelaechuxwa epnkhwamklwthiimideriynruxyangediywkhxngtharkekidihm txngkarxangxing rieflksmitngaetkhlxd mikalngsudineduxnaerkkhxngchiwit aelwerimhayiptngaetraw 2 eduxn mioxkasekidkhunemuxsirsaepliyntaaehnngxyangchbphln xunhphumiepliynxyangthnthi hruxtkicephraaesiyng khuxkhaaelasirsacayudxxk aekhncaykkhunaelayudxxk muxcaaebkhunaelaniwhwaemmuxyudxxk aelwkcahubaekhnxyangrwderw muxkaepnkapn aelaedkcarxngihesiyngdng rieflkspkticahayipemuxthungxayu 3 4 eduxn aetkxackhngxyucnthung 6 eduxn ehmuxnkn karirrieflksthngsxngsikkhangkhxngrangkayxacsmphnthkbkhwamesiyhayinrabbprasathklang karirrieflksaekhsikediywxacaesdngkhwamesiyhayephraabadecbemuxkhlxd echn kradukihplaraaetkhk hruxkarbadecbthikhayprasathaekhn odyxmphatexirb Erb s palsy hruxxmphatrupaebbxun kcamidwyinkrniechnni inprawtiwiwthnakarmnusy rieflksnixacchwytharkihekaatidkbaememuxtxngxumipdwy khuxthatharkthlatw rieflkskcathaihkxdaemaelwekaatwaemidihmrieflksedin kawetharieflksedin rieflksedin walking reflex hruxrieflkskawetha walking reflex mitngaetkhlxdaemtharkelkkhnadnicayngimsamarthrbnahnktnexngid emuxfaethaaetakbphiweriyb edkcaphyayamedinodywangethakhanghnungiwkhanghnakhxngxikkhanghnung rieflkscahayipraw xayu 5 6 eduxn aelatharkkcaerimphyayamedinhlngcakrieflksnihayipAsymmetrical tonic neck reflex ATNR rieflksfndab asymmetrical tonic neck reflex hrux rieflksfndab caekidemuxxayu 1 eduxn aelwhayipraw 4 eduxn khuxemuxhnsirsakhxngedkipthangkhang aekhndannnkcayudxxkaelaaekhnkhangtrngkhamcangx aetbangkhrngaesdngthaephiyngaekhelknxy thaedkimsamarthxxkcakthaniid hruxwarieflksyngekidhlngcakthungxayu 6 eduxn edkxacmiorkhthiesllprasathsngkarbn UMN nkwichakarbangphwkesnxwa rieflksniepnbuphphphakhkhxngkarprasankarthangankhxngmuxrwmkbtainedk sungetriymtwedkihyunmuxkbaekhnodyxyuitxanacciticSymmetrical tonic neck reflex STNR symmetric tonic neck reflex STNR pkticapraktraw xayu 6 9 eduxn aelahayipraw 12 eduxn khuxemuxsirsaedkkmlngkhanghna sungyudswnhlngkhxngkhx aekhnkcangxkhunaelakhayudxxk innytrngkham thasirsanxmipthangkhanghlng sunghdswnhlngkhxngkhx aekhnkcayudxxkaelakhakcangxekha rieflksnisakhyephraachwyihedkdntwkhunihnahnklngthimuxaelaekha ephuxcakhlan aetxacepnxupsrrkhinkarkhlanipkhanghnathaybyngrieflksniimid thayngekidrieflksnixyuhlngxayuekin 2 3 khwb rangkayhruxprasathxaclachathangphthnakarTonic labyrinthine reflex TLR tonic labyrinthine reflex TLR kepnrieflksdngedimthiphbintharkmnusyekidihmehmuxnkn khuxemuxexnsirsaipthangdanhlngemuxnxnhngayhlngcathaihhlngaekhngtwhruxaemaetaexnipthangdanhlng khacayudxxk ekrngaekhng aelwdnxxkdwykn niwethacachi aekhncangxthikhxsxkaelakhxmux muxcakaepnkapnhruxngxniwmuxekha karmirieflksniekinrayaekidihmyngeriykdwywa abnormal extension pattern hrux abnormal extensor tone karmi TLR aelarieflksdngedimxun echn ATNR ekin 6 eduxnaerk khxngchiwitxacrabuwa edkmikhwamlachathangphthnakarhruxkhwamphidpktithangprasath echn inedkthimixmphatsmxngihy rieflksxackhngyunaelaxacyingmakkhun thng TLR aela ATNR thiepnrieflksphidpktixacsrangpyhasahrbedkthikalngot ephraathngsxngepnxupsrrkhkhxngkickrrmthimipraoychn echn klingtw examuxekhahakn hruxaemaetexamuxmathipak inrayayaw thngsxngxacsrangkhwamesiyhayxyanghnkaekkhxtxaelakradukkhxngedkthikalngot thaihhwkraduktnkhahludepnbangswnxxkcakeba subluxation hruxekhluxnxxkthnghmdxxkcakeba dislocation rieflkscb palmar grasp reflex rieflkscb rieflkscb palmar grasp reflex mitngaetkhlxdaelakhngyuncnkrathngthungxayu 5 6 eduxn khuxemuxexawtthuipiwthimuxaelwlubthifamux niwkcangxekhacbwtthuiwinmux ephuxihehnrieflksniiddisud ihwangedkiwbnhmxnthisamarthtklngidxyangplxdphylng ykniwkxykhxngthngsxngmuxihedkcb ephraaniwchipktiihyekinthiedkcacb aelwkhxy ykkhun muxthicbxyuxacrxngrbnahnkkhxngedkid aetedkxyu kxacplxymuxid samarthihedkkhlaymuxodynytrngkhamkhuxihlubhlngmuxrieflksfaetha plantar reflex rieflksfaetha plantar reflex ekidemuxfaethathukkbwtthuthux odymisxngrupaebbxyangidxyanghnung inphuihypkti rieflksthaihniwhwaemethangxlng flexion thaniwhwaemethaklbngxkhun extension nieriykwa Babinski response hrux Babinski sign hrux Babinski reflex sungrabukhwamphidpktikhxngikhsnhlngaelasmxnginphuihy echn rxyorkhinesllprasathsngkarbn upper motor neuron lesion aetkarekhluxnihwthiphidpktiinphuihykhuxniwhwaemethangxkhunemuxfaethathukwtthuthux kekidepnpktisahrbtharkxayunxykwa 1 khwb echnknephraalaesniyprasath corticospinal tract yngmiplxkimxilin nxy emuxlaesniyprasathphthnakhun rieflksthithaihniwhwaemethangxlngkcaekidkhunklayepnpktiaethnGalant reflexGalant reflex hrux Galant s infantile reflex mitngaetkhlxdaelahayipemuxthungxayurahwang 4 6 eduxn khuxemuxlubphiwtamhlngkhxngedk edkcahmunipthangkhangthilub tharieflkskhngyunekin 6 eduxn niepnkhwamphidpkti chuxmacakprasathaephthychawrsesiy Johann Susman Galantrieflkswayna swimming reflex rieflkswayna swimming reflex erimemuxwangtharkexahnakhwalnginna edkcaichaekhnaelakhaphyayamwayna rieflksnihayipinrahwangxayu 4 6 eduxn aemkartxbsnxngodykwadaekhnaelaetakhaechnniekidepnpkti aetkarwangedkiwinnakxacesiyngmak ephraaedkxacklunnainprimanmak dngnn khnduaeltxngkhxyramdrawngxyangmak aenanawaxyasxnedkwaynacnkrathngxyangnxythungxayu 3 eduxn ephraaedkthicmxyuinnayngxacesiychiwitephraaphawanaepnphis water intoxication xikdwyrieflksaebbkin Babkin reflex source source source source source source tharkaesdngrieflksaebbkin khuxcaepidpakemuxkdthifamuxkhxngthngsxngmux 8 winathi rieflksaebbkin Babkin reflex kekidintharkekidihmdwy epnkartxbsnxngaebbtang emuxkdthifamuxthngsxngmux edkxackmkhx hnsirsa xapak hruxtxbsnxngaebbrwm kn tharkthielkkwahruxkhlxdkxnkahndmioxkasekidrieflksmakkwa odyehninedkthikhlxdhlngxyuinkhrrphaem 26 spdah rieflksnitngchuxtamnksrirwithyachawrsesiykhux bxris aebbkin Boris Babkin rieflksrmchuchiph parachute reflex rieflksrmchuchiph parachute reflex ekidintharkthiaekkwa erimraw 6 7 eduxn aelwhayiphlngthungxayu 1 pi ekidemuxxumedkihtwtrngaelwhmuntwxyangrwderwihhnakhwalngkhnankbphun ehmuxnkbcalm edkcayudaekhnthngsxngxxkehmuxnkbcachangktwimihlmthungphun aetrieflkscaekidkxnnankwacaedinUnintegrated reflexesrieflksthiimrangbipinchwngwytharkeriykwa unintegrated reflex hrux persistent reflex rieflkskhngyun sungsmphnthkbpyhathangkareriyn echn edkthimipyhakareriynphbwa yngmirieflksdngedimthikhngyun xnung ATNR thikhngyunyngphbwa smphnthkbkhaaennkarxanaelakarsakdthildlng aelaedkthipyhakarxanmkcami TLR makkwaedkthiimmiorkhsmathisnyngphbwasmphnthkb ATNR kbrieflksomoraelakb Galant reflex thikhngyunxikdwyrieflksdngedimxun thitrwcinphuihydngthiklawiwtngaettn rieflksdngedimthirabbprasathimsamarthybyngxyangsmkhwreriykwa frontal release signs aemnixacepnchuxthiimsmkhwr nxkcakthiklawipaelw rieflksdngedimxun thitrwcinphuihyrwmthng palmomental reflex khuxklamenuxkhangcakratukthalubbangswnkhxngfamux snout reflex khuxpakcayunthaekhaapakthipidikl trngklangxyangeba glabellar reflex epnkarkaphribtathiekidodyekhaahnaphaksa imkikhrngaerk thayngkaphribtxcaknn cdwaphidpktiintharkmikhwamesiyngsungtharkmikhwamesiyngsung hmaythungedkekidihmthimioxkastayhruxecbpwyxyangsakhyodyechphaaineduxnaerkhlngkhlxd edkmikhwamesiyngsungbxykhrngmirieflksdngedimthiphidpkti hruximmiodysineching sungcatang knkhunxyukbrieflks echn rieflksomorxacpkti aetrieflksedinimmihruxphidpkti karmirieflkstampktikhxngtharkekidihmsmphnthkbkarmikhaaenn Apgar score thisungkwa kbkarhnkmakkwa kbkarxyuin rph nxykwahlngekid aelakbsphaphcitthidikwa ngansuksatamkhwangpi 2011 thipraeminrieflksdngedimkhxngtharkekidihmthiesiyngsung 67 khn odytrwckartxbsnxngkhxngrieflksdudnm rieflksfaetha aelarieflksomor phbwa mirieflksdudnmpktimakthisud 63 5 tamdwyrieflksfaetha 58 7 aelarieflksomor 42 9 aelwsrupwa tharkkhwamesiyngsungcanwnmakkwatxbsnxngthangrieflksxyangphidpktihruximtxbsnxng aelarieflksaetlaxyangcatxbsnxngtang kn xyangirkdi ephraakarxxkaebbwithitrwcprasaththimiprasiththiphaphechn Amiel Tison method of neurological assessment sungsamarthphyakrnphlthangprasathkhxngtharkkhwamesiyngsungaelaxun iddi khwamsakhyinkarpraeminrieflksdngedimkidldlnginedkechingxrrthfrontal release signs epnrieflksdngedimthicdwaepnxakarkhxngorkhthimiphltxsmxngklibhna karpraktkhxngxakarechnnisathxnthungbriewnsmxngthithanganphidpkti imidrabuorkhxyangidxyanghnungodyechphaa sungxackracayipthwechnphawasmxngesuxm hruxxyuthibriewnodyechphaa echnenuxngxk pyramidal tract laesniyprasathphiramid rwmthng corticospinal tract aela corticobulbar tract epnkarrwmiyprasathnaxxk efferent nerve fiber cakesllprasathsngkarbn UMN thisngipcakepluxksmxngipyutiimthikansmxng khux corticobulbar tract kthiikhsnhlng khux corticospinal tract sungmibthbathinkicsngkar motor functions khxngrangkay rieflksthirangbipinchwngwytharkeriykwa integrated reflex Apgar score epnwithikartrwcsukhphaphedkekidihmthwipxangxing khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim php emux 2011 04 27 subkhnemux 2008 10 23 Rauch Daniel 2006 10 05 MedlinePlus khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2019 02 04 subkhnemux 2007 10 11 Schott JM Rossor MN 2003 The grasp and other primitive reflexes J Neurol Neurosurg Psychiatry 74 5 558 60 doi 10 1136 jnnp 74 5 558 PMC 1738455 PMID 12700289 Clinical Methods The History Physical and Laboratory Examinations 1990 PMID 21250236 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a Cite journal txngkar journal help Teitelbaum O Benton T Shah P K Prince A Kelly J L Teitelbaum P 2004 Eshkol Wachman movement notation in diagnosis the early detection of Asperger s syndrome Proc Natl Acad Sci U S A 101 32 11909 14 Bibcode 2004PNAS 10111909T doi 10 1073 pnas 0403919101 PMC 511073 PMID 15282371 Amiel Tison C Grenier A 1986 Neurological Assessment during first year of life New York Oxford University Press pp 46 94 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint uses authors parameter Paro Panjan D Neubauer D Kodric J Bratanic B Jan 2005 Amiel Tison Neurological Assessment at term age clinical application correlation with other methods and outcome at 12 to 15 months Developmental Medicine and Child Neurology 47 1 19 26 doi 10 1111 j 1469 8749 2005 tb01035 x PMID 15686285 Leroux BG N guyen The Tich S Branger B Gascoin G Rouger V Berlie I Montcho Y Ancel PY Roze JC Flamant C 2013 02 22 Neurological assessment of preterm infants for predicting neuromotor status at 2 years results from the LIFT cohort BMJ Open 3 2 e002431 doi 10 1136 bmjopen 2012 002431 PMC 3586154 PMID 23435797 Berk Laura E 2009 Child Development 8th ed USA Pearson a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint uses authors parameter Odent M 1977 The early expression of the rooting reflex Proceedings of the 5th International Congress of Psychosomatic Obstetrics and Gynaecology Rome London Academic Press 1117 1119 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter Fletcher Mary Ann 1998 Physical Diagnosis in Neonatology Philadelphia Lippincott Raven p 472 ISBN 978 0397513864 subkhnemux 2013 02 07 The American Academy of Pediatrics 1998 Shelov Stephen P Hannemann Robert E b k Caring for Your Baby and Young Child Birth to Age 5 Illustrations by Wendy Wray and Alex Gray Revised ed New York NY Bantam ISBN 978 0 553 37962 4 LCCN 90 47015 Rauch Daniel 2006 10 05 MedlinePlus Medical Encyclopedia Moro Reflex subkhnemux 2007 10 11 2001 10 14 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2001 11 22 subkhnemux 2007 10 11 Siegler R Deloache J Eisenberg N 2006 How Children Develop New York Worth Publishers p 188 ISBN 978 0 7167 9527 8 O Dell Nancy PDF NDC Brain com Pediatric Neuropsychology Diagnostic and Treatment Center khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2019 04 11 subkhnemux 2017 03 09 Vision Therapy at Home khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2019 01 07 subkhnemux 2017 03 09 Shelov Steven 2009 Caring for your baby and young child American Academy Of Pediatrics Babinski s reflex MedlinePlus subkhnemux 2010 01 11 Khwaja 2005 Plantar Reflex JIACM 6 3 193 197 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2018 11 23 Pedroso Fleming S Rotta Newra T 2004 Babkin Reflex and Other Motor Responses to Appendicular Compression Stimulus of the Newborn Journal of Child Neurology 19 8 592 596 doi 10 1177 088307380401900805 PMID 15605468 Parmelee Arthur H Jr 1963 05 05 The Hand Mouth Reflex of Babkin in Premature Infants Pediatrics 31 5 734 740 PMID 13941546 Case Western Reserve University School of Medicine khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2019 01 11 subkhnemux 2019 09 16 Grzywniak C 2016 Role of early childhood reflexes in the psychomotor development of a child and in learning Acta Neuropsychologica 14 2 113 129 doi 10 5604 17307503 1213000 inactive 2019 08 20 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint DOI inactive as of singhakhm 2019 McPhillips M 2007 Primary reflex persistence in children with reading difficulties dyslexia A cross sectional study Neuropsychologia 45 4 748 54 doi 10 1016 j neuropsychologia 2006 08 005 PMID 17030045 Ramirez Gonzalez S Ciuffreda K J Castillo Hernandez L Bernal Escalante J 2008 The correlation between primitive reflexes and saccadic eye movements in 5th grade children with teacher reported reading problems Optometry amp Vision Development 39 3 140 145 Konicarova J Bob P 2013 Asymmetric tonic neck reflex and symptoms of attention deficit and hyperactivity disorder in children International Journal of Neuroscience 123 11 766 9 doi 10 3109 00207454 2013 801471 PMID 23659315 Konicarova J Bob P 2012 Retained primitive reflexes and ADHD in children Activitas Nervosa Superior 54 3 4 135 138 doi 10 1007 BF03379591 Sohn M Ahn L Lee S 2011 Assessment of Primitive Reflexes in Newborns Journal of Clinical Medicine Research 3 6 285 290 doi 10 4021 jocmr706w PMC 3279472 PMID 22393339 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb rieflksdngedim PediNeuroLogic Exam Movies of infant reflex testing subkhnemux 2007 10 11 Medri Vodcast Neonatology Movies of the neurological examination of the newborn infant subkhnemux 2008 05 02 lingkesiy