บทความนี้ต้องการการจัดหน้า หรือ ให้ คุณสามารถปรับปรุงแก้ไขบทความนี้ได้ และนำป้ายออก พิจารณาใช้เพื่อชี้ชัดข้อบกพร่อง |
มหาปัฏฐาน เป็นคัมภีร์ที่ 7 ของพระอภิธรรม 7 คัมภีร์
คัมภีร์มหาปัฏฐาน เป็น 1 ใน 7 คัมภีร์ที่พระพุทธองค์ทรงพิจารณาหลังจากที่ได้ตรัสรู้แล้ว ได้แก่ 1. , 2. 3. 4. ปุคคลบัญญัติ 5. กถาวัตถุ 6. และ 7. มหาปัฏฐาน
ซึ่งเป็นคัมภีร์ที่พระพุทธองค์ทรงพยากรณ์ไว้ว่า จะสูญสิ้นเป็นคัมภีร์แรก เพราะเป็นคัมภีร์ที่ละเอียดลึกซึ้ง สุขุมคัมภีร์ภาพด้วยปัจจัยแห่งปรมัตถธรรม โดยที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงเรื่องราวความเป็นไปของสภาพธรรมที่เป็นเหตุเป็นผลแก่กัน โดยนัยมากมายทั้งพิสดารและละเอียดสุขุมลึกซึ้งยิ่งนัก
ธรรมในมหาปัฏฐานนี้ ถ้าจะนับรวมกันทั้งหมดก็มีจำนวนถึงหลายโกฏิ ด้วยเหตุนี้ท่านอรรถกถาจารย์จึงเรียกคัมภีร์นี้ว่า “มหาปัฏฐาน” ตามหลักฐานกล่าวว่า เมื่อพระผู้มีพระภาคทรงพิจารณาพระอภิธรรม 7 คัมภีร์อยู่นั้น เมื่อทรงพิจารณาคัมภีร์ที่ 1 คือ ธัมมสังคณี จนถึงคัมภีร์ที่ 6 คือ ยมก มาตามลำดับ ต่อเมื่อทรงพิจารณาคัมภีร์ที่ 7 คือ ปัฏฐาน จึงได้เกิดรัศมีแผ่ซ่านออกจากพระวรกายถึง 6 สี (หรือที่เรียกว่า ฉัพพรรณรังสี)
ปัจจัย 24
มหาปัฏฐานโดยสภาวะแล้วจัดเป็นปรมัตถธรรมอันเป็นปัจจัยของสรรพสิ่งทั้งปวง มหาปัฏฐานเป็นสภาวะ ที่แม้ว่าภพ จักรวาล โลกธาตุ จะแตกสลายสิ้นกัปป์ไป เพราะไฟ น้ำ ลม แต่มหาปัฏฐานก็จะยังคงดำรงคงอยู่ เพราะมหาปัฏฐานเป็นเพียงสภาวะของเหตุและผล ภพทั้งหลายเป็นสิ่งที่แสดงออกมาจาก24ปัจจัยของมหาปัฏฐานทั้งสิ้น มหาปัฏฐานเป็นปัจจัยให้เกิดนิยาม5 เป็นปัจจัยให้เกิดปฏิจจสมุปบาท เป็นเหตุผลว่ากฎแห่งกรรมจึงสามารถให้ผลข้ามภพข้ามชาติได้ เนื่องจากกรรมของสรรพสัตว์ทั้งหลายที่ทำลงไปก็จะกลายเป็นปัจจัยของมหาปัฏฐาน ปัจจัยทั้ง24ของมหาปัฏฐาน ปัจจัยหนึ่งจะเป็นปัจจัยให้แก่ปัจจัยใดปัจจัยหนึ่งหลายปัจจัย และต่างเป็นผลของปัจจัยใดปัจจัยหนึ่งหลายปัจจัยเช่นกัน โดยผลของปัจจัยทั้งหลาย ต่างย่อมต้องให้ผลตามปัจจัยที่สมควรแก่เหตุ เมื่อผลที่จะต้องให้ผลมีจำนวนมหาศาลจากเหตุปัจจัยมหาศาลของสรรพสิ่ง จึงทำให้เกิดกฎแห่งกรรม และกฎธรรมชาติที่มีแบบแผนขึ้นมา และสรรพสิ่งก็เป็นไปตามแบบแผนนั้น เกิดกรรมลิขิตแก่สรรพสัตว์ และเกิดภพขึ้นมารองรับ มหาปัฏฐานเป็นสภาวะที่ละเอียดยิ่ง เป็นรากฐานของสรรพสิ่งทั้งปวง โดยปัจจัยทั้ง24ของมหาปัฏฐานได้แก่
- เหตุปัจจะโย = ธรรมที่มีเหตุเป็นปัจจัย
- อารัมมะณะปัจจะโย = ธรรมที่มีอารมณ์เป็นปัจจัย
- อธิปะติปัจจะโย = ธรรมที่มีอธิบดีเป็นปัจจัย
- อนันตะระปัจจะโย = ธรรมที่มีปัจจัยหาที่สุดมิได้
- สะมะนันตะระปัจจะโย = ธรรมที่มีปัจจัยมีที่สุดเสมอกัน
- สะหะชาตะปัจจะโย = ธรรมที่เกิดพร้อมเป็นปัจจัย
- อัญญะมัญญะปัจจะโย = ธรรมแต่ละอย่างต่างต้องอาศัยกันและกันเป็นปัจจัย
- นิสสะยะปัจจะโย = ธรรมเป็นปัจจัยโดยเป็นนิสัยที่อาศัย
- อุปะนิสสะยะปัจจะโย = ธรรมเป็นปัจจัยโดยเป็นอุปนิสัยที่อาศัยอย่างแรงกล้า
- ปุเรชาตะปัจจะโย = ธรรมที่เกิดก่อนเป็นปัจจัย
- ปัจฉาชาตะปัจจะโย = ธรรมที่มีธรรมเกิดภายหลังเป็นปัจจัย
- อาเสวะนะปัจจะโย = ธรรมที่มีการเสพเป็นปัจจัย
- กัมมะปัจจะโย = ธรรมที่มีกรรมเป็นปัจจัย
- วิปากาปัจจะโย = ธรรมที่มีวิบากเป็นปัจจัย
- อาหาระปัจจะโย = ธรรมที่มีอาหารเป็นปัจจัย
- อินทริยะปัจจะโย = ธรรมที่มีอินทรีย์เป็นปัจจัย
- ฌานะปัจจะโย = ธรรมที่มีฌานเป็นปัจจัย
- มัคคะปัจจะโย = ธรรมที่มีมรรคเป็นปัจจัย
- สัมปะยุตตะปัจจะโย = ธรรมที่มีการประกอบเป็นปัจจัย
- วิปปะยุตตะปัจจะโย = ธรรมที่มีการอยู่ไม่ปราศจากเป็นปัจจัย
- อัตถิปัจจะโย = ธรรมที่มีเป็นปัจจัย
- นัตถิปัจจะโย = ธรรมที่ไม่มีเป็นปัจจัย
- วิคะตะปัจจะโย = ธรรมที่มีการอยู่ปราศจากเป็นปัจจัย
- อะวิคะตะปัจจะโย = ธรรมที่ไม่มีการอยู่ปราศจากเป็นปัจจัย
ปัจจัยมีประการต่างๆมากมาย ในการแสดงปัจจัย 24 นั้น พระพุทธองค์ทรงจำแนกปัจจัยหนึ่งๆ มีธรรมเป็น 3 หมวด คือ ปัจจัยธรรม หมายความว่า ธรรมที่เป็นเหตุ (ปัจจัย มีวจนัตถะว่า ผลธรรมย่อมเกิดขึ้น ตั้งอยู่ได้เพราะอาศัยธรรมที่เป็นเหตุนี้ ธรรมที่เป็นเหตุนี้จึงชื่อว่า "ปัจจัย")
ปัจจยุปบันธรรม หมายความว่า ธรรมที่เป็นผล (ปัจจยุปบันธรรม มีวจนัตถะว่า ผลธรรมที่เกิดจากเหตุปัจจัย ชื่อว่า "ปัจจยุปบัน")
ปัจจนิกธรรม หมายความว่า ธรรมที่มิใช่ผล (คือธรรมที่นอกจากผล) (ปัจจนิก มีวจนัตถะว่า หมวดธรรมที่เป็นปฏิปักษ์ต่อปัจจยุปบันธรรม ชื่อว่า "ปัจจนิก")
พระวินัยปิฎก | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
| ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
พระสุตตันตปิฎก | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
| ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
พระอภิธรรมปิฎก | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
| ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
มหาปัฏฐาน มีนัยยะกว้างขวาง มีนัยหาที่สุดมิได้ มีอรรถอันสุขุมลุ่มลึกยิ่งกว่าพระสัทธรรมทั้งปวง อันมีในพระไตรปิฏก นับเป็นปกรณ์ใหญ่ เรียกว่า "มหาปกรณ์" เป็นปกรณ์ที่เมื่อครั้งพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสรู้แล้วนั้น
พระไตรปิฎก เล่มที่ 40 พระอภิธรรมปิฎก เล่ม 7 มหาปัฏฐานปกรณ์
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnitxngkarkarcdhna cdhmwdhmu islingkphayin hruxekbkwadenuxha ihmikhunphaphdikhun khunsamarthprbprungaekikhbthkhwamniid aelanapayxxk phicarnaichpaykhxkhwamxunephuxchichdkhxbkphrxng mhaptthan epnkhmphirthi 7 khxngphraxphithrrm 7 khmphir khmphirmhaptthan epn 1 in 7 khmphirthiphraphuththxngkhthrngphicarnahlngcakthiidtrsruaelw idaek 1 2 3 4 pukhkhlbyyti 5 kthawtthu 6 aela 7 mhaptthan sungepnkhmphirthiphraphuththxngkhthrngphyakrniwwa casuysinepnkhmphiraerk ephraaepnkhmphirthilaexiydluksung sukhumkhmphirphaphdwypccyaehngprmtththrrm odythiphraphumiphraphakhthrngaesdngeruxngrawkhwamepnipkhxngsphaphthrrmthiepnehtuepnphlaekkn odynymakmaythngphisdaraelalaexiydsukhumluksungyingnk thrrminmhaptthanni thacanbrwmknthnghmdkmicanwnthunghlayokti dwyehtunithanxrrthkthacarycungeriykkhmphirniwa mhaptthan tamhlkthanklawwa emuxphraphumiphraphakhthrngphicarnaphraxphithrrm 7 khmphirxyunn emuxthrngphicarnakhmphirthi 1 khux thmmsngkhni cnthungkhmphirthi 6 khux ymk matamladb txemuxthrngphicarnakhmphirthi 7 khux ptthan cungidekidrsmiaephsanxxkcakphrawrkaythung 6 si hruxthieriykwa chphphrrnrngsi pccy 24mhaptthanodysphawaaelwcdepnprmtththrrmxnepnpccykhxngsrrphsingthngpwng mhaptthanepnsphawa thiaemwaphph ckrwal olkthatu caaetkslaysinkppip ephraaif na lm aetmhaptthankcayngkhngdarngkhngxyu ephraamhaptthanepnephiyngsphawakhxngehtuaelaphl phphthnghlayepnsingthiaesdngxxkmacak24pccykhxngmhaptthanthngsin mhaptthanepnpccyihekidniyam5 epnpccyihekidpticcsmupbath epnehtuphlwakdaehngkrrmcungsamarthihphlkhamphphkhamchatiid enuxngcakkrrmkhxngsrrphstwthnghlaythithalngipkcaklayepnpccykhxngmhaptthan pccythng24khxngmhaptthan pccyhnungcaepnpccyihaekpccyidpccyhnunghlaypccy aelatangepnphlkhxngpccyidpccyhnunghlaypccyechnkn odyphlkhxngpccythnghlay tangyxmtxngihphltampccythismkhwraekehtu emuxphlthicatxngihphlmicanwnmhasalcakehtupccymhasalkhxngsrrphsing cungthaihekidkdaehngkrrm aelakdthrrmchatithimiaebbaephnkhunma aelasrrphsingkepniptamaebbaephnnn ekidkrrmlikhitaeksrrphstw aelaekidphphkhunmarxngrb mhaptthanepnsphawathilaexiydying epnrakthankhxngsrrphsingthngpwng odypccythng24khxngmhaptthanidaek ehtupccaoy thrrmthimiehtuepnpccy xarmmanapccaoy thrrmthimixarmnepnpccy xthipatipccaoy thrrmthimixthibdiepnpccy xnntarapccaoy thrrmthimipccyhathisudmiid samanntarapccaoy thrrmthimipccymithisudesmxkn sahachatapccaoy thrrmthiekidphrxmepnpccy xyyamyyapccaoy thrrmaetlaxyangtangtxngxasyknaelaknepnpccy nissayapccaoy thrrmepnpccyodyepnnisythixasy xupanissayapccaoy thrrmepnpccyodyepnxupnisythixasyxyangaerngkla puerchatapccaoy thrrmthiekidkxnepnpccy pcchachatapccaoy thrrmthimithrrmekidphayhlngepnpccy xaeswanapccaoy thrrmthimikaresphepnpccy kmmapccaoy thrrmthimikrrmepnpccy wipakapccaoy thrrmthimiwibakepnpccy xaharapccaoy thrrmthimixaharepnpccy xinthriyapccaoy thrrmthimixinthriyepnpccy chanapccaoy thrrmthimichanepnpccy mkhkhapccaoy thrrmthimimrrkhepnpccy smpayuttapccaoy thrrmthimikarprakxbepnpccy wippayuttapccaoy thrrmthimikarxyuimprascakepnpccy xtthipccaoy thrrmthimiepnpccy ntthipccaoy thrrmthiimmiepnpccy wikhatapccaoy thrrmthimikarxyuprascakepnpccy xawikhatapccaoy thrrmthiimmikarxyuprascakepnpccy pccymiprakartangmakmay inkaraesdngpccy 24 nn phraphuththxngkhthrngcaaenkpccyhnung mithrrmepn 3 hmwd khux pccythrrm hmaykhwamwa thrrmthiepnehtu pccy miwcntthawa phlthrrmyxmekidkhun tngxyuidephraaxasythrrmthiepnehtuni thrrmthiepnehtunicungchuxwa pccy pccyupbnthrrm hmaykhwamwa thrrmthiepnphl pccyupbnthrrm miwcntthawa phlthrrmthiekidcakehtupccy chuxwa pccyupbn pccnikthrrm hmaykhwamwa thrrmthimiichphl khuxthrrmthinxkcakphl pccnik miwcntthawa hmwdthrrmthiepnptipkstxpccyupbnthrrm chuxwa pccnik khmphirhlkinphraphuththsasna phraitrpidkethrwath 45 elm phrawinypidk khmphir suttwiphngkhkhmphir khnthkakhmphir priwar phrasuttntpidk khmphir thikhnikaykhmphir mchchimnikay phraxphithrrmpidk pu kthaptthanpkrn mhaptthan minyyakwangkhwang minyhathisudmiid mixrrthxnsukhumlumlukyingkwaphrasththrrmthngpwng xnmiinphraitrpitk nbepnpkrnihy eriykwa mhapkrn epnpkrnthiemuxkhrngphraphumiphraphakhecatrsruaelwnn phraitrpidk elmthi 40 phraxphithrrmpidk elm 7 mhaptthanpkrn bthkhwamsasnaphuththniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk