ฟักข้าว | |
---|---|
ผลฟักข้าวที่สุกแล้ว | |
สถานะการอนุรักษ์ | |
Rare () | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Plantae |
หมวด: | Magnoliophyta |
ชั้น: | Magnoliopsida |
อันดับ: | Cucurbitales |
วงศ์: | Cucurbitaceae |
สกุล: | |
สปีชีส์: | M. cochinchinensis |
ชื่อทวินาม | |
Momordica cochinchinensis |
ฟักข้าว เป็นไม้เลื้อยตามต้นไม้หรือตามรั้วบ้าน โดยมีชื่อเรียกกันต่างไป เช่น ขี้กาเครือ (ปัตตานี) ผักข้าว (ตาก ภาคเหนือ) มะข้าว (แพร่) เป็นต้น
ถิ่นกำเนิด
ฟักข้าว เป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิด ตั้งแต่ประเทศจีนตอนใต้ พม่า ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย บังกลาเทศ และฟิลิปปินส์
ลักษณะพืช
ลำต้น
ฟักข้าวเป็นไม้ประเภทพืชล้มลุก โดยเป็นเถาเลื้อย มีมือเกาะ แบบเดียวกับตำลึง ใบเป็นใบเดี่ยว รูปหัวใจ หรือรูปไข่ รูปร่างคล้ายใบโพธิ์ ความกว้างยาวเท่ากันประมาณ 6-15 เซนติเมตร ขอบใบหยักเว้าลึกเป็นแฉก 3-5 แฉก
ดอก
ดอกลักษณะดอกจะออกบริเวณข้อต่อระหว่างใบ หรือ ซอกใบ โดยออกข้อละดอก ลักษณะ คล้ายดอกตำลึง ลักษณะกลีบดอก ขาวอมเหลือง หรือขาวแกมเหลือง ก้านเกสรและกลีบละอองมีสีม่วงแกมดำ หรือน้ำตาลแกมม่วง ใบเลี้ยงประดับมีขน โดยดอกจะเป็นดอกแบบ เพศไม่สมบูรณ์ แยกแป็นดอกดอกเพศผู้และดอกเพศเมีย และจะอยู่ต่างต้นกัน ดอกจะมีสีขาวอมเหลือง มีกลีบดอก 5 กลีบ ดอกเพศเมียจะมีขนาดเล็กกว่าดอกตัวผู้
ผล
มี 2 ลักษณะคือ พันธุ์ผลรี กับพันธุ์ผลกลม (พบมากในภาคใต้) พันธุ์ผลรี ก็ยังมีแตกต่างปลีกย่อยหลากหลายไปอีกมาก อาจจะไม่เห็นความต่างเด่นชัดนัก (มข.นำมาวิจัย เกือบ 20 สายพันธุ์) เช่น ดูจากขนาดของผล, ความหนาของเยื่อหุ้มเมล็ด ฯลฯ ฟักข้าวพันธุ์ดั้งเดิมจะมีหนามเล็ก ๆ อยู่รอบผล บางพันธุ์จะแหลมมาก (ดังรูป) ผลอ่อนมีสีเขียว จะเจริญได้ต้องมีการผสมระหว่างดอกตัวผู้กับดอกตัวเมีย ต้นฟักข้าวมีการแยกเพศ เมื่อผลสุกจะมีสีแดง หรือแดงอมส้ม ภายในมีเมล็ดจำนวนมากเรียงตัว
เยื่อหุ้มเมล็ด
ฟักข้าวที่ปลูกในประเทศไทย ปริมาณความหนาของเยื่อหุ้มเมล็ดมีมาก-น้อยขึ้นกับสายพันธุ์และการดูแล บางพันธุ์มีเยื่อหุ้มเมล็ดมากถึง 144.62 กรัม/ผล ในขณะที่บางพันธุ์มีเยื่อหุ้มเมล็ดแค่ 41 กรัม/ผล
การขยายพันธุ์
สามารถขยายพันธุ์ มีหลายวิธึ เช่น ด้วยเมล็ด, แยกราก, ปักชำ, ทับเถา ฟักข้าวชอบความชื้นสูง (ประมาณ 70-80 %) เริ่มมีดอกหลังจากปลูกไปได้แล้วประมาณ 3-6 เดือน พันธุ์ไทยมักจะให้ผลผลิตตลอดปี การเก็บเกี่ยวสามารถให้ผลประมาณ 0-60 ผล/ปี ขึ้นอยู่กับสถานที่ปลูก และการดูแล ถ้าปลูกในสถานที่ที่โดนแดดน้อยกว่า 5 ชมหรือปริมาณแสงแดดน้อย เช่น ปลูกบริเวณหมู่บ้านจัดสรรที่มีที่แคบ ๆ มีต้นไม้ใหญ่หรือมีอะไรมาบังแสงแดดนั่งร้านฟักข้าว ฯลฯ ฟักข้าวจะไม่ออกดอก หรือออกดอกน้อย
คุณค่าทางโภชนาการ
ในประเทศไทยคนสมัยก่อนนำผลฟักข้าวอ่อนสีเขียวเป็นอาหาร เนื่องจากรสชาติเนื้อฟักข้าว เหมือนมะละกอ วิธีการนำมารับประทานโดยการนำมาลวกหรือต้มให้สุก จิ้มกินกับน้ำพริก หรือใส่แกง ส่วนยอดอ่อน ใบอ่อน นำมาเป็นผักได้ โดยการนึ่งหรือลวกให้สุก เช่นเดียวกับผลอ่อนนำไปปรุงเป็นแกง เช่น แกงแค น้ำปรุงสามรส หรือจิ้มน้ำพริกได้เช่นเดียวกัน ในปัจจุบันจากงานวิจัยหลายแห่งพิสูจน์แล้วว่าการบริโภคเยื่อหุ้มเมล็ดของผลสุก มีประโยชน์มากกว่าการบริโภคผลอ่อน เพราะในเยื่อหุ้มเมล็ด มีสารที่มีประโยชน์มากมาย เช่น สารต้านอนุมูลอิสระสูง, ช่วยเสริมภูมิคุ้มกันให้ร่างกาย มีส่วนช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ โรคมะเร็งต่อมลูกหมาก มะเร็งปอด และมะเร็งกระเพาะอาหาร ฯลฯ
อ้างอิง
- http://www.elib-online.com/doctors50/food_momordica001.html
- (ข้อมูลจากงานวิจัยฯ ของ มข.)
แหล่งข้อมูลอื่น
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Momordica cochinchinensis ที่วิกิสปีชีส์
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
fkkhawphlfkkhawthisukaelwsthanakarxnurksRare karcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Plantaehmwd Magnoliophytachn Magnoliopsidaxndb Cucurbitaleswngs Cucurbitaceaeskul spichis M cochinchinensischuxthwinamMomordica cochinchinensis fkkhaw epnimeluxytamtnimhruxtamrwban odymichuxeriykkntangip echn khikaekhrux pttani phkkhaw tak phakhehnux makhaw aephr epntnthinkaenidfkkhaw epnphuchthimithinkaenid tngaetpraethscintxnit phma ithy law kmphucha ewiydnam maelesiy bngklaeths aelafilippinslksnaphuchlatn fkkhawepnimpraephthphuchlmluk odyepnethaeluxy mimuxekaa aebbediywkbtalung ibepnibediyw ruphwic hruxrupikh ruprangkhlayibophthi khwamkwangyawethaknpraman 6 15 esntiemtr khxbibhykewalukepnaechk 3 5 aechk dxk dxklksnadxkcaxxkbriewnkhxtxrahwangib hrux sxkib odyxxkkhxladxk lksna khlaydxktalung lksnaklibdxk khawxmehluxng hruxkhawaekmehluxng kaneksraelakliblaxxngmisimwngaekmda hruxnatalaekmmwng ibeliyngpradbmikhn odydxkcaepndxkaebb ephsimsmburn aeykaepndxkdxkephsphuaeladxkephsemiy aelacaxyutangtnkn dxkcamisikhawxmehluxng miklibdxk 5 klib dxkephsemiycamikhnadelkkwadxktwphu phl mi 2 lksnakhux phnthuphlri kbphnthuphlklm phbmakinphakhit phnthuphlri kyngmiaetktangplikyxyhlakhlayipxikmak xaccaimehnkhwamtangednchdnk mkh namawicy ekuxb 20 sayphnthu echn ducakkhnadkhxngphl khwamhnakhxngeyuxhumemld l fkkhawphnthudngedimcamihnamelk xyurxbphl bangphnthucaaehlmmak dngrup phlxxnmisiekhiyw caecriyidtxngmikarphsmrahwangdxktwphukbdxktwemiy tnfkkhawmikaraeykephs emuxphlsukcamisiaedng hruxaedngxmsm phayinmiemldcanwnmakeriyngtw eyuxhumemld fkkhawthiplukinpraethsithy primankhwamhnakhxngeyuxhumemldmimak nxykhunkbsayphnthuaelakarduael bangphnthumieyuxhumemldmakthung 144 62 krm phl inkhnathibangphnthumieyuxhumemldaekh 41 krm phlkarkhyayphnthusamarthkhyayphnthu mihlaywithu echn dwyemld aeykrak pkcha thbetha fkkhawchxbkhwamchunsung praman 70 80 erimmidxkhlngcakplukipidaelwpraman 3 6 eduxn phnthuithymkcaihphlphlittlxdpi karekbekiywsamarthihphlpraman 0 60 phl pi khunxyukbsthanthipluk aelakarduael thaplukinsthanthithiodnaeddnxykwa 5 chmhruxprimanaesngaeddnxy echn plukbriewnhmubancdsrrthimithiaekhb mitnimihyhruxmixairmabngaesngaeddnngranfkkhaw l fkkhawcaimxxkdxk hruxxxkdxknxykhunkhathangophchnakarinpraethsithykhnsmykxnnaphlfkkhawxxnsiekhiywepnxahar enuxngcakrschatienuxfkkhaw ehmuxnmalakx withikarnamarbprathanodykarnamalwkhruxtmihsuk cimkinkbnaphrik hruxisaekng swnyxdxxn ibxxn namaepnphkid odykarnunghruxlwkihsuk echnediywkbphlxxnnaipprungepnaekng echn aekngaekh naprungsamrs hruxcimnaphrikidechnediywkn inpccubncaknganwicyhlayaehngphisucnaelwwakarbriophkheyuxhumemldkhxngphlsuk mipraoychnmakkwakarbriophkhphlxxn ephraaineyuxhumemld misarthimipraoychnmakmay echn sartanxnumulxisrasung chwyesrimphumikhumknihrangkay miswnchwyldkhwamesiyngkhxngkarekidorkhhlxdeluxdhwic orkhmaerngtxmlukhmak maerngpxd aelamaerngkraephaaxahar lxangxinghttp www elib online com doctors50 food momordica001 html khxmulcaknganwicy khxng mkh https www gotoknow org posts 583194 http ag2 kku ac th kaj PDF cfm filename P611 pdf amp id 1360 amp keeptrack 0aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb fkkhaw khxmulthiekiywkhxngkb Momordica cochinchinensis thiwikispichis