บ่อศักย์แบบลึกจำกัด หรือ บ่อศักย์แบบความกว้างจำกัด เป็นแนวคิดจากกลศาสตร์ควอนตัม โดยเป็นส่วนขยายของบ่อศักย์แบบอนันต์ซึ่งเป็นอนุภาคที่ถูกกักขังอยู่ในกล่องแต่ในที่นี้เป็นแบบที่มีความลึกจำกัด และแตกต่างจากแบบลึกอนันต์ตรงที่มีโอกาสที่จะพบอนุภาคที่อยู่ภายนอกกล่อง การตีความแบบกลควอนตัมจะแตกต่างจากการตีความแบบคลาสสิก คือ ถ้าพลังงานทั้งหมดของอนุภาคน้อยกว่าพลังงานศักย์กีดขวางของผนัง อนุภาคจะไม่สามารถพบอยู่ภายนอกกล่องได้ แต่ในการตีความแบบควอนตัม จะมีความน่าจะเป็นของอนุภาคที่อยู่ภายนอกกล่องที่ไม่เป็นศูนย์ ถึงแม้พลังงานของอนุภาคจะน้อยกว่าพลังงานศักย์กีดขวางของผนัง
อนุภาคในกล่อง 1 มิติ
สำหรับกรณี 1 มิติในแนวแกน x สามารถเขียนสมการชเรอชิงเงอร์ที่ไม่ขึ้นกับเวลา ได้ดังนี้
- เมื่อ ,
- คือ ค่าคงที่ของพลังค์
- คือ มวขของอนุภาค
- คือ ฟังก์ชันคลื่นจินตภาพ (ที่ต้องการหา)
- คือ ฟังก์ชันของพลังงานศักย์ในแต่ละค่า x
- คือ พลังงาน ซึ่งเป็นจำนวนจริง
เมื่อพิจารณาอนุภาคมวล m เคลื่อนที่ในบ่อศักย์แบบลึกจำกัด จะเขียนเป็นฟังก์ชันของพลังงานศักย์ได้ดังนี้
ตามทฤษฎีของกลศาสตร์คลาสสิก อนุภาคจะถูกกักและสะท้อนกลับไปกลับมาระหว่างขอบเขต -L/2<x<L/2 เท่านั้น โดยที่อนุภาคจะมีค่าพลังงานเป็นค่าใด ๆ แต่ในกลศาสตร์ควอนตัม พลังงานของอนุภาคจะมีค่าได้เพียงบางค่าเท่านั้น และค่านั้นจะเป็นค่าเจาะลง () ของฟังก์ชันคลื่นที่เป็น ที่สอดคล้องกันในแต่ละขอบเขตที่พิจารณา โดยฟังก์ชันคลื่นแต่ละขอบเขตจะแตกต่างกันตามขอบเขตของ x ขึ้นอยู่กับว่าอยู่ภายในหรือภายนอกของกล่อง แบ่งขอบเขตของกล่องเป็น 3 ส่วนและเขียนฟังก์ชันคลื่นได้ดังนี้
ขอบเขตภายในกล่อง
กรณีขอบเขตอยู่ภายในกล่อง (บริเวณที่ 2) จะได้ V(x) = 0 และเขียนสมการชเรอดิงเงอร์ได้เป็น
เมื่อ
ได้คำตอบของสมการเชิงอนุพันธ์ (2) เป็น
ขอบเขตภายนอกกล่อง
เมื่อพิจารณาบริเวณนอกกล่อง ซึ่งมี 2 บริเวณ คือ บริเวณที่ 1 และ 3 โดย V(x)= V0 เขียนสมการชเรอดิงเงอร์ได้เป็น
การพิจารณาแบ่งเป็น 2 กรณี คือ
1. เมื่ออนุภาคมีพลังงานมากกว่าพลังงานศักย์ (E>V0) จะไม่ถูกกักไว้ในบ่อ แต่จะถูกกระเจิงออกไปโดยพลังงานศักย์ของบ่อ เรียกว่า การกระเจิง (The Scattering)
2. เมื่ออนุภาคมีพลังงานน้อยกว่าพลังงานศักย์ (E<V0) จะถูกกักไว้ในบ่อศักย์ เรียกกรณีนี้ว่า สถานะจำกัดขอบเขต (Bound state)
ในกรณีนี้จะพิจารณา กรณีที่ 2 Bound state (E< V0) ดังนั้นเขียนสมการใหม่ได้เป็น
เมื่อ
คำตอบทั่วไปของสมการเชิงอนุพันธ์ (4) คือ
และคล้ายกันในบริเวณที่ 3 จะได้
การหาฟังก์ชันคลื่นสำหรับกรณี bound state
โดยในส่วนก่อนหน้า เราหาฟังก์ชันคลื่นแต่ละบริเวณได้เป็น
เมื่อพิจารณาที่ จะเห็นว่าเทอม มีค่าไม่จำกัด
และเช่นเดียวกัน เมื่อพิจารณาที่ เทอม จะมีจำกัด
ซึ่งฟังก์ชันคลื่นจะต้องลู่เข้าสู่ศูนย์ นั่นคือต้องให้ F = I = 0 เขียนฟังก์ชันคลื่นใหม่ได้ว่า
and |
ในการคำนวณหา eigenvalue นั้น คำตอบของสมการชเรอดิงเงอร์หรือฟังก์ชันคลื่นทั้ง 3 บริเวณจะต้องมีความต่อเนื่องของฟังก์ชันคลื่นและอนุพันธ์อันดับ 1 ที่บริเวณรอยต่อที่ x= -L/2 และ L/2
ตามสมการ
คำตอบของสมการเหล่านี้จะเป็นจริงได้ 2 กรณี
1. กรณีสมมาตร (symmetric case) เมื่อ A = 0 และ G = H เป็นคำตอบฟังก์ชันคี่ (Odd function)
2. กรณีปฏิสมมาตร (antisymmetric case) เมื่อ B = 0 และ G = -H เป็นคำตอบฟังก์ชันคู่ (Even function)
ในกรณีเป็นแบบสมมาตร (ฟังก์ชันคี่) (A = 0 , B 0) บริเวณรอยต่อที่ x = L/2 จะได้
แก้สมการ โดย (6)/(5) จะได้ .
และเช่นเดียวกันในกรณีไม่สมมาตร (ฟังก์ชันคู่) จะได้ .
จากสมการ (7) และ (8) Eigenvalue ไม่สามารถหาค่าได้โดยตรง เนื่องจากทำได้ยาก ต้องหาค่าโดยใช้กราฟหรือตัวเลข
อ้างอิง
(2005). Introduction to Quantum Mechanics (2nd ed.). . ISBN .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bxskyaebblukcakd hrux bxskyaebbkhwamkwangcakd epnaenwkhidcakklsastrkhwxntm odyepnswnkhyaykhxngbxskyaebbxnntsungepnxnuphakhthithukkkkhngxyuinklxngaetinthiniepnaebbthimikhwamlukcakd aelaaetktangcakaebblukxnnttrngthimioxkasthicaphbxnuphakhthixyuphaynxkklxng kartikhwamaebbklkhwxntmcaaetktangcakkartikhwamaebbkhlassik khux thaphlngnganthnghmdkhxngxnuphakhnxykwaphlngnganskykidkhwangkhxngphnng xnuphakhcaimsamarthphbxyuphaynxkklxngid aetinkartikhwamaebbkhwxntm camikhwamnacaepnkhxngxnuphakhthixyuphaynxkklxngthiimepnsuny thungaemphlngngankhxngxnuphakhcanxykwaphlngnganskykidkhwangkhxngphnng xnuphakhinklxng 1 mitisahrbkrni 1 mitiinaenwaekn x samarthekhiynsmkarcherxchingengxrthiimkhunkbewla iddngni ℏ22md2psdx2 V x ps Eps 1 displaystyle frac hbar 2 2m frac d 2 psi dx 2 V x psi E psi quad 1 emux ℏ h2p displaystyle hbar frac h 2 pi h displaystyle h khux khakhngthikhxngphlngkh m displaystyle m khux mwkhkhxngxnuphakh ps displaystyle psi khux fngkchnkhluncintphaph thitxngkarha V x displaystyle V left x right khux fngkchnkhxngphlngnganskyinaetlakha x E displaystyle E khux phlngngan sungepncanwncring emuxphicarnaxnuphakhmwl m ekhluxnthiinbxskyaebblukcakd caekhiynepnfngkchnkhxngphlngnganskyiddngni V x V0 if x lt L 20 if L 2 lt x lt L 2V0if x gt L 2 displaystyle V x begin cases V 0 amp mbox if x lt L 2 0 amp mbox if L 2 lt x lt L 2 V 0 amp mbox if x gt L 2 end cases tamthvsdikhxngklsastrkhlassik xnuphakhcathukkkaelasathxnklbipklbmarahwangkhxbekht L 2 lt x lt L 2 ethann odythixnuphakhcamikhaphlngnganepnkhaid aetinklsastrkhwxntm phlngngankhxngxnuphakhcamikhaidephiyngbangkhaethann aelakhanncaepnkhaecaalng khxngfngkchnkhlunthiepn thisxdkhlxngkninaetlakhxbekhtthiphicarna odyfngkchnkhlunaetlakhxbekhtcaaetktangkntamkhxbekhtkhxng x khunxyukbwaxyuphayinhruxphaynxkkhxngklxng aebngkhxbekhtkhxngklxngepn 3 swnaelaekhiynfngkchnkhluniddngni ps ps1 if x lt L 2 the region outside the box R1ps2 if L 2 lt x lt L 2 the region inside the box R2ps3if x gt L 2 the region outside the box R3 displaystyle psi begin cases psi 1 amp mbox if x lt L 2 mbox the region outside the box R 1 psi 2 amp mbox if L 2 lt x lt L 2 mbox the region inside the box R 2 psi 3 amp mbox if x gt L 2 mbox the region outside the box R 3 end cases khxbekhtphayinklxng krnikhxbekhtxyuphayinklxng briewnthi 2 caid V x 0 aelaekhiynsmkarcherxdingengxridepn ℏ22md2ps2dx2 Eps2 2 displaystyle frac hbar 2 2m frac d 2 psi 2 dx 2 E psi 2 quad 2 emux k 2mEℏ displaystyle k frac sqrt 2mE hbar idkhatxbkhxngsmkarechingxnuphnth 2 epn d2ps2dx2 k2ps2 displaystyle frac d 2 psi 2 dx 2 k 2 psi 2 khxbekhtphaynxkklxng emuxphicarnabriewnnxkklxng sungmi 2 briewn khux briewnthi 1 aela 3 ody V x V0 ekhiynsmkarcherxdingengxridepn ℏ22md2ps1dx2 E Vo ps1 3 displaystyle frac hbar 2 2m frac d 2 psi 1 dx 2 E V o psi 1 quad 3 karphicarnaaebngepn 2 krni khux 1 emuxxnuphakhmiphlngnganmakkwaphlngngansky E gt V0 caimthukkkiwinbx aetcathukkraecingxxkipodyphlngnganskykhxngbx eriykwa karkraecing The Scattering 2 emuxxnuphakhmiphlngngannxykwaphlngngansky E lt V0 cathukkkiwinbxsky eriykkrniniwa sthanacakdkhxbekht Bound state inkrninicaphicarna krnithi 2 Bound state E lt V0 dngnnekhiynsmkarihmidepn d2ps1dx2 a2ps1 4 displaystyle frac d 2 psi 1 dx 2 alpha 2 psi 1 quad 4 emux a 2m Vo E ℏ displaystyle alpha frac sqrt 2m V o E hbar khatxbthwipkhxngsmkarechingxnuphnth 4 khux ps1 Fe ax Geax displaystyle psi 1 Fe alpha x Ge alpha x aelakhlaykninbriewnthi 3 caid ps3 He ax Ieax displaystyle psi 3 He alpha x Ie alpha x karhafngkchnkhlunsahrbkrni bound state odyinswnkxnhna erahafngkchnkhlunaetlabriewnidepn ps1 Fe ax Geax displaystyle psi 1 Fe alpha x Ge alpha x ps2 Asin kx Bcos kx displaystyle psi 2 A sin kx B cos kx quad ps3 He ax Ieax displaystyle psi 3 He alpha x Ie alpha x emuxphicarnathi x displaystyle x rightarrow infty caehnwaethxm Fe ax displaystyle Fe alpha x mikhaimcakd aelaechnediywkn emuxphicarnathi x displaystyle x rightarrow infty ethxm Ieax displaystyle Ie alpha x camicakd sungfngkchnkhluncatxngluekhasusuny nnkhuxtxngih F I 0 ekhiynfngkchnkhlunihmidwa ps1 Geax displaystyle psi 1 Ge alpha x and ps3 He ax displaystyle psi 3 He alpha x inkarkhanwnha eigenvalue nn khatxbkhxngsmkarcherxdingengxrhruxfngkchnkhlunthng 3 briewncatxngmikhwamtxenuxngkhxngfngkchnkhlunaelaxnuphnthxndb 1 thibriewnrxytxthi x L 2 aela L 2 tamsmkar ps1 L 2 ps2 L 2 displaystyle psi 1 L 2 psi 2 L 2 ps2 L 2 ps3 L 2 displaystyle psi 2 L 2 psi 3 L 2 dps1dx L 2 dps2dx L 2 displaystyle frac d psi 1 dx L 2 frac d psi 2 dx L 2 dps2dx L 2 dps3dx L 2 displaystyle frac d psi 2 dx L 2 frac d psi 3 dx L 2 khatxbkhxngsmkarehlanicaepncringid 2 krni 1 krnismmatr symmetric case emux A 0 aela G H epnkhatxbfngkchnkhi Odd function 2 krniptismmatr antisymmetric case emux B 0 aela G H epnkhatxbfngkchnkhu Even function inkrniepnaebbsmmatr fngkchnkhi A 0 B displaystyle neq 0 briewnrxytxthi x L 2 caid He aL 2 Bcos kL 2 5 displaystyle He alpha L 2 B cos kL 2 quad 5 aHe aL 2 kBsin kL 2 6 displaystyle alpha He alpha L 2 kB sin kL 2 quad 6 aeksmkar ody 6 5 caid a ktan kL 2 7 displaystyle alpha k tan kL 2 quad 7 aelaechnediywkninkrniimsmmatr fngkchnkhu caid a kcot kL 2 8 displaystyle alpha k cot kL 2 quad 8 caksmkar 7 aela 8 Eigenvalue imsamarthhakhaidodytrng enuxngcakthaidyak txnghakhaodyichkrafhruxtwelkh xangxing 2005 Introduction to Quantum Mechanics 2nd ed ISBN 0 13 111892 7