บทความนี้ไม่มีจาก |
บทความนี้อาจต้องการตรวจสอบต้นฉบับ ในด้านไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน การเรียบเรียง คุณภาพ หรือการสะกด คุณสามารถช่วยพัฒนาบทความได้ |
บัสตีย์ (ฝรั่งเศส: Bastille; ออกเสียง: [bastij] ( ฟังเสียง)) เป็นป้อมปราการที่ตั้งอยู่ในปารีส ซึ่งมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า บัสตีย์แซ็งต็องตวน (Bastille Saint-Antoine) ป้อมบัสตีย์มีบทบาทสำคัญในความขัดแย้งภายในของฝรั่งเศส และในประวัติศาสตร์นั้น พระมหากษัตริย์ของฝรั่งเศสมักใช้ป้อมบัสตีย์เป็นเรือนจำของรัฐ ในการปฏิวัติฝรั่งเศส ฝูงชนได้ทลายคุกบัสตีย์ในวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ. 1789 เหตุการณ์นี้กลายเป็นสัญลักษณ์ที่สำคัญของขบวนการนิยมระบอบสาธารณรัฐฝรั่งเศส ในภายหลัง ป้อมบัสตีย์ถูกรื้อถอนและถูกแทนที่ด้วยจัตุรัสบัสตีย์ (Place de la Bastille)
บัสตีย์ | |
---|---|
ปารีส ฝรั่งเศส | |
มุมมองด้านตะวันออกของคุกบัสตีย์ วาดขึ้นในราว ค.ศ. 1790 | |
บัสตีย์ | |
พิกัด | 48°51′12″N 2°22′09″E / 48.85333°N 2.36917°E |
ประเภท | |
ข้อมูล | |
สภาพ | ถูกทำลาย, มีเพียงชิ้นงานหินบางส่วนที่รอดมาถึงปัจจุบัน |
ประวัติศาสตร์ | |
สร้าง | คริสต์ทศวรรษ 1370–1380 |
สร้างโดย | พระเจ้าชาร์ลที่ 5 แห่งฝรั่งเศส |
รื้อถอน | ค.ศ. 1789–90 |
เหตุการณ์ | สงครามร้อยปี สงครามศาสนา การปฏิวัติฝรั่งเศส |
ตัวป้อมนั้นมีแผนที่จะสร้างในช่วงปี 1357 แต่เริ่มสร้างอย่างจริงจังในช่วงปี 1370 เพื่อป้องกันการบุกโจมตีของชาวอังกฤษในช่วงสงครามร้อยปี โดยตัวอาคารประกอบไปด้วยหอคอย 8 หอในการเสริมสร้างโครงสร้างให้แข็งแรง ตั้งอยู่ที่บริเวณประตูปอร์ตแซ็งต็องตวน (Porte Saint-Antoine) ทางทิศตะวันออกของปารีส ในฐานะป้อมปราการป้องกันข้าศึก บัสตีย์ผ่านเหตุการณ์การต่อสู้มานับไม่ถ้วน ไม่ว่าจะเป็นการต่อสู้กับชาวบูร์กอญและพวกกลุ่มอาร์มาญักในช่วงศตวรรษที่ 15 หรือในช่วงสงครามศาสนาในศตวรรษที่ 16 ซึ่งในช่วงนั้นยังมีการขยายแนวป้องกันด้วยการขยายกำแพงเมืองสร้างเป็นยื่นออกไปหน้าป้อม เพื่อทำให้การป้องกันของป้อมแน่นหนาขึ้น ในขณะเดียวกันป้อมบัสตีย์ก็ยังใช้เป็นเรือนจำขังพวกนักโทษด้วย โดยเริ่มขังนักโทษชาวอังกฤษในช่วงปี 1417 ก่อนจะเริ่มขยายพื้นที่ในทศวรรษ 1420 และอีกครั้งในช่วงสมัยการปกครองของพระเจ้าหลุยส์ที่ 11 แห่งฝรั่งเศส
ในสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ป้อมหรือคุกบัสตีย์นี้มีหน้าที่หลักคือการคุมขังพวกขุนนางที่เห็นต่างกับพระเจ้าหลุยส์ โดยนับตั้งแต่ปี 1659 เป็นต้นมา ป้อมบัสตีย์มีหน้าที่เป็น "เรือนจำของรัฐ" ซึ่งคาดการณ์กันว่านับตั้งแต่ตอนนั้นจนถึงปี 1789 มีนักโทษถูกส่งเข้าไปนอนในเรือนจำไม่ต่ำกว่า 5279 คน ซึ่งในจำนวนนี้ถูกคุมขังเป็นส่วนมากในช่วงสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 และพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ซึ่งคนส่วนมากที่ถูกจับเข้าไปคุมขังส่วนมากเป็นคนทีเห็นต่างทางการเมือง และป้อมนี้ยังใช้สนับสนุนปฏิบัติของตำรวจปารีส โดยเฉพาะในการบังคับใช้การตรวจพิจารณาสื่อสิ่งพิมพ์ในช่วงนั้น นั่นทำให้คุกแห่งนี้ถูกวิพากษ์วิจารณ์อยู่บ่อยครั้งในช่วงศตวรรษที่ 18 และยิ่งมีแรงหนุนสำคัญจากการเขียนหนังสืออัตชีวประวัติของเหล่านักโทษที่เคยถูกคุมขังในคุกบัสตีย์ ในที่สุดจึงต้องมีการปฏิรูปคุกครั้งใหญ่ซึ่งทำให้มีการกักขังนักโทษลดลงเป็นอย่างมาก
ทว่าแค่นั้นก็ไม่พอที่จะลดกระแสความไม่พอใจลงไปได้ ในวันที่ 14 กรกฎาคม 1789 ฝูงชนจำนวนมากบุกเข้าถล่มคุกบัสตีย์เพื่อเอาพวกดินปืนอันมีค่า จากนั้นก็ปลดปล่อยนักโทษที่อยู่ในนั้นเพียงแค่ 7 คน นี่เป็นสัญลักษณ์สำคัญของการปฏิวัติฝรั่งเศส หลังจากการทลายคุกบัสตีย์รัฐบาลใหม่ก็ได้มีคำสั่งรื้อถอนคุกบัสตีย์แห่งนี้แล้วนำอิฐไปใช้ในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเมือง การกระทำนี้ถูกมองว่าเป็นการทำลายระบบการผูกขาดอำนาจเบ็ดเสร็จและระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ของฝรั่งเศส หลังจากนั้นพื้นที่แห่งนี้ก็ได้รับการพัฒนาเป็นจัตุรัส และเป็นพื้นที่สำคัญในการเรียกร้องประเด็นสำคัญต่าง ๆ ของชาวฝรั่งเศส
ประวัติ
ช่วงศตวรรษที่ 14
ป้อมบัสตีย์สร้างขึ้นด้วยจุดประสงค์หลักคือการป้องกันพวกอังกฤษในระหว่างสงครามร้อยปี โดยแต่เดิมนั้นศูนย์กลางอำนาจของปารีสอยู่ที่ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตก แต่เพราะสงครามกับพวกอังกฤษนั้นเน้นหนักไปที่การต่อสู้ในทางฝั่งตะวันออก ทำให้เมืองต้องขยายตัวขึ้น และสถานการณ์การต่อสู้กับทางอังกฤษของฝรั่งเศก็ย่ำแย่ลงเป็นอย่างมาก นับตั้งแต่การที่พระเจ้าฌ็องที่ 2 ถูกพวกอังกฤษจัมกุมตัวไปหลังความพ่ายแพ้ของฝรั่งเศสใน เหตุการณ์นั้นเร่งให้ต้องมีการป้องกันเมืองปารีสครั้งใหญ่ โดยภาวะขาดผู้นำทำให้เอเตียน มาร์แซล (Étienne Marcel) ขึ่นมาเป็นผู้ครองนครปารีส และเร่งรัดในการสร้างหอคอยสูงขึ้นมาที่ประตูปอร์ตแซ็งต็องตวน โดยมีแผนเริ่มสร้างในช่วงปี 1357 แต่ก็ยังไม่สามารถทำได้ เพราะเอเตียน มาร์แซล ผู้เป็นแม่งานโดนประหารไปเสียก่อน
ต่อมาในปี 1369 พระเจ้าชาร์ลที่ 5 มีความกังวลในสถานการณ์แนวป้องกันฝั่งตะวันออกที่ต้องทำกับพวกอังกฤษและพวกทหารรับจ้าง พระเจ้าชาร์ลที่ 5 จึงให้รื้อฟื้นโครงการ "บัสตีย์" ขึ้นมา ปรับโครงสร้างเล็กน้อย ใหสร้างหอคอยสี่อัน เป็นคู่หนึ่งทางทิศเหนือและอีกคู่ทางทิศใต้ ตัวป้อมเริ่มสร้างในปี 1370 ซึ่งก็มาสร้างเสร็จในสมัยพระเจ้าชาร์ลที่ 6 อันเป็นสมัยพระราชโอรส โดยป้อมบัสตีย์ที่สร้างเสร็จนั้นก็เป็นป้อมที่ประกอบด้วยหอคอยสูงแปดหอคอยที่เชื่อมต่อกันด้วยกำแพงอิฐยาวกว่า 223 ฟุต (68 เมตร) กว้าง 121 ฟุต (37 เมตร) และมีความสูงที่ 78 ฟุต (24 เมตร) ด้วยความสูงของหอคอยที่เท่ากันทำให้ที่ด้านบนมีการสร้างทางเดินเชื่อมระหว่างหอคอยท้งหมดเข้าไว้ด้วยกันเพื่อเป็นแนวป้องกัน สำหรับหอคอยทั้งแปดนั้นสองหอคอยเก่าที่สร้างตั้งแต่เริ่มแรกนั้นจะไม่มีชั้นใต้ดินใต้หอคอย บริเวณด้านนอกยังผันน้ำจากแม่น้ำแซมมาเป็นคูน้ำรอบปราการ นอกจากนี้ไม่ห่างไปจากที่ตั้งของบัสตีย์ทางทิศตะวันตก ก็ยังมีนิวาสสถานเก่าของพระเจ้าชาร์ลที่ 5 ที่อพยพมาตั้งหลักอยู่ตรงนี้ ด้วยเพราะว่ามองว่าพื้นที่ของบัสตีย์นั้นปลอดภัยที่สุด
นักประวัติศาสตร์อธิบายว่าป้อมบัสตีย์นั้นเป็น "ป้อมที่ทรงอำนาจมากที่สุดในยุคกลาง" โดยบัสตีย์เป็นป้อมสำคัญในช่วงปลายยุคกลางของปารีส สำหรับป้อมบัสตีย์นั้นถูกสร้างขึ้นโดยพัฒนาการออกแบบมาจากปราสาทในชนบทที่สร้างขึ้นในศตวรรษที่ 13 ที่มักจะค่อนข้างอ่อนแอ และมีหอคอยสูงคอยสั่งการหอคอยต่าง ๆ ซึ่งเป็นการยากลำบากที่จะปรับรูปแบบการป้องกันด้านบนหอคอยหากทหารบนหอคอยเป็นอะไรไป นั่นเป็นเหตุผลทำให้บัสตีย์มีหอคอยทุกหอสูงเท่ากันและมีทางเชื่อมเดินถึงกัน เพื่อสามารถส่งกำลังพลและอาวุธยุทโธปกรณ์ไปยังพื้นที่ว่างของหอคอยในการป้องกันได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งต่อมาความคิดทางด้านสถาปัตยกรรมของบัสตีย์ก็ได้รับการปรับใช้ในการสร้างป้อมของฝรั่งเศส ลามไปจนถึงอังกฤษที่ลอกเลียนแบบในการสร้างปราสาทนันนีย์ (Nunney Castle) ด้วยเช่นกัน
ช่วงศตวรรษที่ 15
ในช่วงศตวรรษที่ 15 ฝรั่งเศสก็ยังคงเผชิญกับภัยคุกคามของอังกฤษอยู่เช่นเดิม รวมทั้งยังมีความขัดแย้งระหว่างชาวบูร์กอญและพวกอาร์มาญักอีกด้วย และเพราะความขัดแย้งเหล่านั้น กษัตริย์แห่งฝรั่งเศสหลายพระองค์จึงเสด็จเข้ามาประทับที่บัสตีย์ แม้ว่าที่นี่จะเป็นคุกก็ตาม เนื่องด้วยเพราะบัสตีย์เป็นจดยุทธศาสตร์สำคัญและป้อมปราการที่แข็งแกร่งที่สุดในปารีส ดั่งเช่นในสมัยของพระเจ้าชาร์ลที่ 7 แห่งฝรั่งเศส ที่เสด็จมาที่แห่งนี้ระหว่างที่พวกบูร์กอญทำการสังหารหมู่พวกอาร์มาญักกลางเมือง
ในปี 1420 พระเจ้าเฮนรีที่ 5 ทรงสามารถเข้ายึดครองปารีสได้ พระองค์ทรงเข้าควบคุมป้อมบัสตีย์กว่า 16 ปี โดยตั้ง (Thomas Beaufort, Duke of Exeter) เป็นผู้คุมป้อมปราการแห่งนี้ โดยภายใต้การควบคุมของอังกฤษบัสตีย์ถูกใช้ในฐานะคุกที่ใช้ขังเชลยศึกของอังกฤษ โดยในช่วงใต้การปกครองของอังกฤษ ราวปี 1430 มีบันทึกถึงความพยายามกบฎของคนในคุก ที่อาศัยทีเผลอที่พัสดีคุกกำลังหลับฉวยโอกาสยึดป้อมบัสตีย์ ซึ่งก็แน่นอนว่าความพยายามในครั้งนี้จบลงด้วยความล้มเหลว
เมื่อพระเจ้าชาร์ลที่ 7 สามารถยึดเมืองปารีสคืนได้ในปี 1437 พวกอังกฤษที่เหลืออยู่จึงรวมตัวและเสริมกำลังกันที่บัสตีย์ แต่ทหารฝรั่งเศสก็รีบทำการปิดล้อม จนในที่สุดพวกอังกฤษก็ต้องยอมแพ้และล่าถอยออกจากเมืองเนื่องด้วยอาหารที่ขาดแคลนจากการปิดล้อมหลังจากจ่ายค่าไถ่สำเร็จ หลังจากนั้นบัสตีย์ก็เป็นป้อมปราการสำคัญของเมือง จนกระทั่งล่วงมาถึงสมัยของพระเจ้าหลุยส์ที่ 11 พระองค์ทรงเปลี่ยนให้บัสตีย์กลายเป็นเรือนจำกลางที่ใช้ในการคุมขังคนในเมือง แต่ถึงแม้จะเปลี่ยนเป็นเรือนจำแล้วก็ตาม แต่พื้นที่เดิมบางส่วนของบัสตีย์ก็ยังคงถูกใช้เป็นโซนอาศัยในฐานะปราสาทแบบแต่ก่อน ซึ่งยังคงถูกใช้เป็นที่รองรับพักอาศัยและที่จัดงานรื่นเริงอันแสนฟุ่มเฟือยของกษัตรย์แห่งฝรั่งเศสและบุคคลสำคัญต่างๆอยู่เช่นเดิม
ช่วงศตวรรษที่ 16
เนื่องด้วยจำนวนประชากรที่มีมากขึ้น ในช่วงศตวรรษที่ 16 ตัวเมืองปารีสจึงเริ่มขยายตัวมากขึ้น โดยขยายตัวออกสู่ชนบทนอกกำแพงเมืองปารีสเดิม โดยในช่วงเวลาที่ความเป็นเมืองกำลังก่อตัวขึ้น อาณาบริเวณพื้นที่ปอร์ตแซ็งต็องตวนและบัสตีย์ถูกพัฒนาให้เป็นฮับในการสร้างอาวุธจำพวกปืนใหญ่ และอาวุธอื่นๆที่จำเป็นในการทำสงคราม โดยได้รับการสนับสนุนเป็นอย่างมากในช่วงสมัย และ พระเจ้าชาร์ลที่ 9
ต่อมาในช่วงทศวรรษที่ 1550s สมัยของพระเจ้าอ็องรีที่ 2 มีการเสริมและปรับปรุงบัสตีย์ขนานใหญ่ เนื่องด้วยพระเจ้าอ็องรีที่ 2 นั้นมีความวิตกว่าทางอังกฤษและจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จะเข้ามาโจมตีเมืองปารีส โดยการปรับปรุงบัสตีย์ในครั้งนี้ได้มีการสร้างปราสาทบริเวณทางเข้าทิศใต้เป็นเหมือนกองบัญชาการหลักของป้อม และปิดตายประตูทางเข้าที่เหลือของบัสตีย์ทั้งหมด จากนั้นที่บริเวณด้านหน้าของบัสตีย์บริเวณคูเมืองก็มีการสร้างป้อมรูปดาวขึ้นมาเพื่อเป็นปราการด่านหน้าในการป้องกันป้อมปราการและโรงงานผลิดอาวุธ โดยป้อมรูปดาวนี้มีศักยภาพและประสิทธิภาพในการป้องกันได้ดีกว่าหอคอยสังเกตการณ์หลายเท่าตัว ในขณะที่ประตูปอร์ตแศงต็องตวนเองก็ถูกปรับเปลี่ยนเช่นกัน โดยเปลี่ยนจากประตูชักตามสมัยของยุคกลาง เป็นการถมทางเป็นสะพานที่แข็งแรงขึ้น ส่วนประตูเมืองเดิมก็ถูกปรับปรุงให้เป็นประตูชัยทางสัญลักษณ์เสียมากกว่า
ในช่วงครึ่งหลังของศตวรรษที่ 16 บัสตีย์กลายเป็นอีกหนึ่งพื้นที่ขัดแย้งสำคัญในช่วงสงครามศาสนาฝรั่งเศส ระหว่างชาวโปสแตนแตนท์และชาวคาธอลิกโดยมีชาติมหาอำนาจอื่นต่างให้การสนับสนุนกันคนละฝ่าย โดยความขัดแย้งทางศาสนานี้ตึงเครียดจนถึงคราวปะทุออกในช่วงซึ่งเริ่มขึ้นในวันที่ 12 พฤษภาคม 1588 เมื่อพวกคาธอลิกหัวรุนแรงเริ่มทำการจลาจลต่อต้านอำนาจการปกครองของพระเจ้าอ็องรีที่ 3 หลังจากเกิดการต่อสู้ไปทั่วทั้งกรุงปารีส พระเจ้าอ็องรีที่ 3 ก็เสด็จหนีไปอยู่ยังบัสตีย์ ก่อนจะยอมจำนนแก่ ( Henry, the Duke of Guise) ผู้นำสันนิบาตคาธอลิก และถูกลอบสังหารในเวลาถัดมา หลังจากนั้นอ็องรี ดยุคแห่งกีสก็ได้ตั้ง ฌ็องค์ บุสซี เลอแคร์ (Jean Bussy-Leclerc) เป็นหัวหน้าผู้ควบคุมความเรียบร้อยของบัสตีย์ ซึ่งเขาก็ใช้บัสตีย์เป็นฐานที่มั่นของกลุ่มคาธอลิก และจัดการควบคุมเหล่าสมาชิกรัฐสภาแห่งปารีส (Parlement de Paris) อันเป็นพวกขุนนางที่ยังคงภักดีกับกลุ่มกษัตริย์มาขังคุกไว้ที่บัสตีย์ ซึ่งเหลา่าขุนนางและสมาชิกสภาขุนนางแห่งปารีสเหล่านี้นั้นถูกคุมขังไว้นานแรมปีจนกระทั่งชาร์ล ดยุคแห่งมาแยน (Charles, the Duke of Mayenne) เริ่มขึ้นมามีอำนาจและทำการไถ่ตัวขุนนางเหล่านั้นด้วยเงินจำนวนมาก ส่วนทางบุสซี เลอแคร์นั้นก็เริ่มที่จะเสื่อมอำนาจลงจนในที่สุดในช่วงเดือนธันวาคมปี 1592 บุสซี เลอแคร์ก็ถูกส่งกำลังมาล้อมบัสตีย์และต้องยอมคืนบัสตีย์ให้แก่ชาร์ลแต่โดยดี
พื้นที่บริเวณของบัสตีย์นั้น เป็นปราการฐานที่มั่นสำคัญของพวกสันนิบาตคาธอลิก และนักรบพันธมิตรตะวันตกอย่างทหารสเปนและทหารชาวเฟลมิส ซึ่งเป็นเวลาหลายปีมากกว่าที่พระเจ้าอ็องรีที่ 4 จะสามารถรวบรวมปารีสกลับมาเหมือนเดิมได้ โดยในช่งปี 1594 พระเจ้าอ็องรีที่ 4 ทรงนำกำลังบุกพื้นที่บัสตีย์จนเหลือเพียงแต่ป้อมปราการบัสตีย์อันเป็นศูนย์บัญชาการใหญ่ของพวกสันนิบาตคาธอลิกเท่านั้น หลังจากความตึงเครียดอันผ่านไปหลายวัน ทั้งสองฝ่ายก็สามารถบรรลุข้อตกลงกันได้ โดยฝ่ายสันนิบาตคาธอลิกยอมจำนนและหนีออกจากเมืองปารีส ซึ่งส่งผลทำให้พระเจ้าอ็องรีที่ 4 สถาปนาอำนาจเต็มในการปกครองปารีสได้อีกครั้งหนึ่ง
ช่วงต้นศตวรรษที่ 17
บัสตีย์ยังคงเป็นทั้งป้อมปราการและคุกอย่างต่อเนื่องทั้งในสมัยของพระเจ้าอ็องรีที่ 4 และพระราชโอรสของพระองค์อย่างพระเจ้าหลุยส์ที่ 13 โดยเฉพาะในสมัยของพระเจ้าหลุยส์ที่ 13 ที่มีการพัฒนาปรับปรุงให้บัสตีย์กลายเป็นเครื่องมือของรัฐอย่างจริงจัง ทั้งหมดนี้เกิดจากแนวความคิดของพระคาร์ดินัลริเชอริเยอที่ต้องการสร้างความมั่นคงให้กับระบบสถาบันพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส ซึ่งบัสตียืเป็นหนึ่งในเครื่องมือการสร้างความมั่นคง ในสมัยนี้มีการเพิ่มพื้นที่คุมขังนักโทษภายในบัสตีย์ และแต่งตั้งนายทหารระดับสูงเป็นผู้ดูแลบัสตีย์แทนที่ขุนนางในราชสำนักอันเป็นประเพณีมาตั้งแต่สมัยพระเจ้าอ็องรีที่ 4
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir bthkhwamnixactxngkartrwcsxbtnchbb indaniwyakrn rupaebbkarekhiyn kareriyberiyng khunphaph hruxkarsakd khunsamarthchwyphthnabthkhwamid bstiy frngess Bastille xxkesiyng bastij fngesiyng epnpxmprakarthitngxyuinparis sungmichuxxyangepnthangkarwa bstiyaesngtxngtwn Bastille Saint Antoine pxmbstiymibthbathsakhyinkhwamkhdaeyngphayinkhxngfrngess aelainprawtisastrnn phramhakstriykhxngfrngessmkichpxmbstiyepneruxncakhxngrth inkarptiwtifrngess fungchnidthlaykhukbstiyinwnthi 14 krkdakhm kh s 1789 ehtukarnniklayepnsylksnthisakhykhxngkhbwnkarniymrabxbsatharnrthfrngess inphayhlng pxmbstiythukruxthxnaelathukaethnthidwyctursbstiy Place de la Bastille bstiyparis frngessmummxngdantawnxxkkhxngkhukbstiy wadkhuninraw kh s 1790bstiyphikd48 51 12 N 2 22 09 E 48 85333 N 2 36917 E 48 85333 2 36917praephthkhxmulsphaphthukthalay miephiyngchinnganhinbangswnthirxdmathungpccubnprawtisastrsrangkhristthswrrs 1370 1380srangodyphraecacharlthi 5 aehngfrngessruxthxnkh s 1789 90ehtukarnsngkhramrxypi sngkhramsasna karptiwtifrngess twpxmnnmiaephnthicasranginchwngpi 1357 aeterimsrangxyangcringcnginchwngpi 1370 ephuxpxngknkarbukocmtikhxngchawxngkvsinchwngsngkhramrxypi odytwxakharprakxbipdwyhxkhxy 8 hxinkaresrimsrangokhrngsrangihaekhngaerng tngxyuthibriewnpratupxrtaesngtxngtwn Porte Saint Antoine thangthistawnxxkkhxngparis inthanapxmprakarpxngknkhasuk bstiyphanehtukarnkartxsumanbimthwn imwacaepnkartxsukbchawburkxyaelaphwkklumxarmaykinchwngstwrrsthi 15 hruxinchwngsngkhramsasnainstwrrsthi 16 sunginchwngnnyngmikarkhyayaenwpxngkndwykarkhyaykaaephngemuxngsrangepnyunxxkiphnapxm ephuxthaihkarpxngknkhxngpxmaennhnakhun inkhnaediywknpxmbstiykyngichepneruxncakhngphwknkothsdwy odyerimkhngnkothschawxngkvsinchwngpi 1417 kxncaerimkhyayphunthiinthswrrs 1420 aelaxikkhrnginchwngsmykarpkkhrxngkhxngphraecahluysthi 11 aehngfrngess insmyphraecahluysthi 14 pxmhruxkhukbstiynimihnathihlkkhuxkarkhumkhngphwkkhunnangthiehntangkbphraecahluys odynbtngaetpi 1659 epntnma pxmbstiymihnathiepn eruxncakhxngrth sungkhadkarnknwanbtngaettxnnncnthungpi 1789 minkothsthuksngekhaipnxnineruxncaimtakwa 5279 khn sungincanwnnithukkhumkhngepnswnmakinchwngsmyphraecahluysthi 15 aelaphraecahluysthi 16 sungkhnswnmakthithukcbekhaipkhumkhngswnmakepnkhnthiehntangthangkaremuxng aelapxmniyngichsnbsnunptibtikhxngtarwcparis odyechphaainkarbngkhbichkartrwcphicarnasuxsingphimphinchwngnn nnthaihkhukaehngnithukwiphakswicarnxyubxykhrnginchwngstwrrsthi 18 aelayingmiaernghnunsakhycakkarekhiynhnngsuxxtchiwprawtikhxngehlankothsthiekhythukkhumkhnginkhukbstiy inthisudcungtxngmikarptirupkhukkhrngihysungthaihmikarkkkhngnkothsldlngepnxyangmak thwaaekhnnkimphxthicaldkraaeskhwamimphxiclngipid inwnthi 14 krkdakhm 1789 fungchncanwnmakbukekhathlmkhukbstiyephuxexaphwkdinpunxnmikha caknnkpldplxynkothsthixyuinnnephiyngaekh 7 khn niepnsylksnsakhykhxngkarptiwtifrngess hlngcakkarthlaykhukbstiyrthbalihmkidmikhasngruxthxnkhukbstiyaehngniaelwnaxithipichinkarphthnaokhrngsrangphunthankhxngemuxng karkrathanithukmxngwaepnkarthalayrabbkarphukkhadxanacebdesrcaelarabbsmburnayasiththirachykhxngfrngess hlngcaknnphunthiaehngnikidrbkarphthnaepncturs aelaepnphunthisakhyinkareriykrxngpraednsakhytang khxngchawfrngessprawtichwngstwrrsthi 14 phaphprawtisastrkhxngkhukhlxngrxbkaaephngemuxngparis say aelapxmbstiyaelapratupxrtaesngtxngtwn khwa inpi 1420 pxmbstiysrangkhundwycudprasngkhhlkkhuxkarpxngknphwkxngkvsinrahwangsngkhramrxypi odyaetedimnnsunyklangxanackhxngparisxyuthisungxyuthangthistawntk aetephraasngkhramkbphwkxngkvsnnennhnkipthikartxsuinthangfngtawnxxk thaihemuxngtxngkhyaytwkhun aelasthankarnkartxsukbthangxngkvskhxngfrngeskyaaeylngepnxyangmak nbtngaetkarthiphraecachxngthi 2 thukphwkxngkvscmkumtwiphlngkhwamphayaephkhxngfrngessin ehtukarnnnerngihtxngmikarpxngknemuxngpariskhrngihy odyphawakhadphunathaihexetiyn maraesl Etienne Marcel khunmaepnphukhrxngnkhrparis aelaerngrdinkarsranghxkhxysungkhunmathipratupxrtaesngtxngtwn odymiaephnerimsranginchwngpi 1357 aetkyngimsamarththaid ephraaexetiyn maraesl phuepnaemnganodnpraharipesiykxn txmainpi 1369 phraecacharlthi 5 mikhwamkngwlinsthankarnaenwpxngknfngtawnxxkthitxngthakbphwkxngkvsaelaphwkthharrbcang phraecacharlthi 5 cungihruxfunokhrngkar bstiy khunma prbokhrngsrangelknxy ihsranghxkhxysixn epnkhuhnungthangthisehnuxaelaxikkhuthangthisit twpxmerimsranginpi 1370 sungkmasrangesrcinsmyphraecacharlthi 6 xnepnsmyphrarachoxrs odypxmbstiythisrangesrcnnkepnpxmthiprakxbdwyhxkhxysungaepdhxkhxythiechuxmtxkndwykaaephngxithyawkwa 223 fut 68 emtr kwang 121 fut 37 emtr aelamikhwamsungthi 78 fut 24 emtr dwykhwamsungkhxnghxkhxythiethaknthaihthidanbnmikarsrangthangedinechuxmrahwanghxkhxythnghmdekhaiwdwyknephuxepnaenwpxngkn sahrbhxkhxythngaepdnnsxnghxkhxyekathisrangtngaeterimaerknncaimmichnitdinithxkhxy briewndannxkyngphnnacakaemnaaesmmaepnkhunarxbprakar nxkcakniimhangipcakthitngkhxngbstiythangthistawntk kyngminiwassthanekakhxngphraecacharlthi 5 thixphyphmatnghlkxyutrngni dwyephraawamxngwaphunthikhxngbstiynnplxdphythisud nkprawtisastrxthibaywapxmbstiynnepn pxmthithrngxanacmakthisudinyukhklang odybstiyepnpxmsakhyinchwngplayyukhklangkhxngparis sahrbpxmbstiynnthuksrangkhunodyphthnakarxxkaebbmacakprasathinchnbththisrangkhuninstwrrsthi 13 thimkcakhxnkhangxxnaex aelamihxkhxysungkhxysngkarhxkhxytang sungepnkaryaklabakthicaprbrupaebbkarpxngkndanbnhxkhxyhakthharbnhxkhxyepnxairip nnepnehtuphlthaihbstiymihxkhxythukhxsungethaknaelamithangechuxmedinthungkn ephuxsamarthsngkalngphlaelaxawuthyuthothpkrnipyngphunthiwangkhxnghxkhxyinkarpxngknidxyangrwderw sungtxmakhwamkhidthangdansthaptykrrmkhxngbstiykidrbkarprbichinkarsrangpxmkhxngfrngess lamipcnthungxngkvsthilxkeliynaebbinkarsrangprasathnnniy Nunney Castle dwyechnkn chwngstwrrsthi 15 inchwngstwrrsthi 15 frngesskyngkhngephchiykbphykhukkhamkhxngxngkvsxyuechnedim rwmthngyngmikhwamkhdaeyngrahwangchawburkxyaelaphwkxarmaykxikdwy aelaephraakhwamkhdaeyngehlann kstriyaehngfrngesshlayphraxngkhcungesdcekhamaprathbthibstiy aemwathinicaepnkhukktam enuxngdwyephraabstiyepncdyuththsastrsakhyaelapxmprakarthiaekhngaekrngthisudinparis dngechninsmykhxngphraecacharlthi 7 aehngfrngess thiesdcmathiaehngnirahwangthiphwkburkxythakarsngharhmuphwkxarmaykklangemuxng inpi 1420 phraecaehnrithi 5 thrngsamarthekhayudkhrxngparisid phraxngkhthrngekhakhwbkhumpxmbstiykwa 16 pi odytng Thomas Beaufort Duke of Exeter epnphukhumpxmprakaraehngni odyphayitkarkhwbkhumkhxngxngkvsbstiythukichinthanakhukthiichkhngechlysukkhxngxngkvs odyinchwngitkarpkkhrxngkhxngxngkvs rawpi 1430 mibnthukthungkhwamphyayamkbdkhxngkhninkhuk thixasythiephlxthiphsdikhukkalnghlbchwyoxkasyudpxmbstiy sungkaennxnwakhwamphyayaminkhrngnicblngdwykhwamlmehlw emuxphraecacharlthi 7 samarthyudemuxngpariskhunidinpi 1437 phwkxngkvsthiehluxxyucungrwmtwaelaesrimkalngknthibstiy aetthharfrngesskribthakarpidlxm cninthisudphwkxngkvsktxngyxmaephaelalathxyxxkcakemuxngenuxngdwyxaharthikhadaekhlncakkarpidlxmhlngcakcaykhaithsaerc hlngcaknnbstiykepnpxmprakarsakhykhxngemuxng cnkrathnglwngmathungsmykhxngphraecahluysthi 11 phraxngkhthrngepliynihbstiyklayepneruxncaklangthiichinkarkhumkhngkhninemuxng aetthungaemcaepliynepneruxncaaelwktam aetphunthiedimbangswnkhxngbstiykyngkhngthukichepnosnxasyinthanaprasathaebbaetkxn sungyngkhngthukichepnthirxngrbphkxasyaelathicdnganruneringxnaesnfumefuxykhxngkstryaehngfrngessaelabukhkhlsakhytangxyuechnedim chwngstwrrsthi 16 pxmprakarbstiyaelaxanaphunthibriewniklekhiynginchwngpi 1575 sungaesdngtaaehnngkhxngpxmrupdawdanhna aelaornghlxpunihyinbriewnkhangekhiyng enuxngdwycanwnprachakrthimimakkhun inchwngstwrrsthi 16 twemuxngpariscungerimkhyaytwmakkhun odykhyaytwxxksuchnbthnxkkaaephngemuxngparisedim odyinchwngewlathikhwamepnemuxngkalngkxtwkhun xanabriewnphunthipxrtaesngtxngtwnaelabstiythukphthnaihepnhbinkarsrangxawuthcaphwkpunihy aelaxawuthxunthicaepninkarthasngkhram odyidrbkarsnbsnunepnxyangmakinchwngsmy aela phraecacharlthi 9 txmainchwngthswrrsthi 1550s smykhxngphraecaxxngrithi 2 mikaresrimaelaprbprungbstiykhnanihy enuxngdwyphraecaxxngrithi 2 nnmikhwamwitkwathangxngkvsaelackrwrrdiormnxnskdisiththicaekhamaocmtiemuxngparis odykarprbprungbstiyinkhrngniidmikarsrangprasathbriewnthangekhathisitepnehmuxnkxngbychakarhlkkhxngpxm aelapidtaypratuthangekhathiehluxkhxngbstiythnghmd caknnthibriewndanhnakhxngbstiybriewnkhuemuxngkmikarsrangpxmrupdawkhunmaephuxepnprakardanhnainkarpxngknpxmprakaraelaorngnganphlidxawuth odypxmrupdawnimiskyphaphaelaprasiththiphaphinkarpxngkniddikwahxkhxysngektkarnhlayethatw inkhnathipratupxrtaesngtxngtwnexngkthukprbepliynechnkn odyepliyncakpratuchktamsmykhxngyukhklang epnkarthmthangepnsaphanthiaekhngaerngkhun swnpratuemuxngedimkthukprbprungihepnpratuchythangsylksnesiymakkwa inchwngkhrunghlngkhxngstwrrsthi 16 bstiyklayepnxikhnungphunthikhdaeyngsakhyinchwngsngkhramsasnafrngess rahwangchawopsaetnaetnthaelachawkhathxlikodymichatimhaxanacxuntangihkarsnbsnunknkhnlafay odykhwamkhdaeyngthangsasnanitungekhriydcnthungkhrawpathuxxkinchwngsungerimkhuninwnthi 12 phvsphakhm 1588 emuxphwkkhathxlikhwrunaerngerimthakarclacltxtanxanackarpkkhrxngkhxngphraecaxxngrithi 3 hlngcakekidkartxsuipthwthngkrungparis phraecaxxngrithi 3 kesdchniipxyuyngbstiy kxncayxmcannaek Henry the Duke of Guise phunasnnibatkhathxlik aelathuklxbsngharinewlathdma hlngcaknnxxngri dyukhaehngkiskidtng chxngkh bussi elxaekhr Jean Bussy Leclerc epnhwhnaphukhwbkhumkhwameriybrxykhxngbstiy sungekhakichbstiyepnthanthimnkhxngklumkhathxlik aelacdkarkhwbkhumehlasmachikrthsphaaehngparis Parlement de Paris xnepnphwkkhunnangthiyngkhngphkdikbklumkstriymakhngkhukiwthibstiy sungehlaakhunnangaelasmachiksphakhunnangaehngparisehlaninnthukkhumkhngiwnanaermpicnkrathngcharl dyukhaehngmaaeyn Charles the Duke of Mayenne erimkhunmamixanacaelathakarithtwkhunnangehlanndwyengincanwnmak swnthangbussi elxaekhrnnkerimthicaesuxmxanaclngcninthisudinchwngeduxnthnwakhmpi 1592 bussi elxaekhrkthuksngkalngmalxmbstiyaelatxngyxmkhunbstiyihaekcharlaetodydi bstiyinchwngpi 1647 phaphwadaesdngthungpxmrupdawthimiaenwkaaephnghinechuxmkbthangekhathistawntkkhxngpxmbstiyxnepnthangekhahlkkhxngtwpxmprakar sungepnrupaebbkhxngpxmbstiyphayhlngkarprbprunginchwngthswrrsthi 1550s phunthibriewnkhxngbstiynn epnprakarthanthimnsakhykhxngphwksnnibatkhathxlik aelankrbphnthmitrtawntkxyangthharsepnaelathharchaweflmis sungepnewlahlaypimakkwathiphraecaxxngrithi 4 casamarthrwbrwmparisklbmaehmuxnedimid odyinchngpi 1594 phraecaxxngrithi 4 thrngnakalngbukphunthibstiycnehluxephiyngaetpxmprakarbstiyxnepnsunybychakarihykhxngphwksnnibatkhathxlikethann hlngcakkhwamtungekhriydxnphaniphlaywn thngsxngfayksamarthbrrlukhxtklngknid odyfaysnnibatkhathxlikyxmcannaelahnixxkcakemuxngparis sungsngphlthaihphraecaxxngrithi 4 sthapnaxanacetminkarpkkhrxngparisidxikkhrnghnung chwngtnstwrrsthi 17 bstiyyngkhngepnthngpxmprakaraelakhukxyangtxenuxngthnginsmykhxngphraecaxxngrithi 4 aelaphrarachoxrskhxngphraxngkhxyangphraecahluysthi 13 odyechphaainsmykhxngphraecahluysthi 13 thimikarphthnaprbprungihbstiyklayepnekhruxngmuxkhxngrthxyangcringcng thnghmdniekidcakaenwkhwamkhidkhxngphrakhardinlriechxrieyxthitxngkarsrangkhwammnkhngihkbrabbsthabnphramhakstriyfrngess sungbstiyuepnhnunginekhruxngmuxkarsrangkhwammnkhng insmynimikarephimphunthikhumkhngnkothsphayinbstiy aelaaetngtngnaythharradbsungepnphuduaelbstiyaethnthikhunnanginrachsankxnepnpraephnimatngaetsmyphraecaxxngrithi 4