ธุดงค์ (บาลี: ธุตงฺค) เป็นวัตรปฏิบัติที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตไว้ ไม่มีการบังคับ แล้วแต่ผู้ใดจะสมัครใจปฏิบัติ เป็นอุบายวิธีกำจัดขัดเกลากิเลส ทำให้เกิดความมักน้อยสันโดษยิ่งขึ้น ไม่สะสม เพื่อให้เบาสบายไปมาได้สะดวกด้วยไม่มีภาระมาก เหมือนนกที่มีเพียงปีกก็บินไป มิใช่เพื่อสะสมหรือเพื่อลาภสักการะและชื่อเสียง ถ้าทำเพื่อลาภ เพื่อชื่อเสียง ต้องอาบัติ
โดยรูปศัพท์ ธุดงค์ แปลว่า องค์คุณเป็นเครื่องกำจัดกิเลส, องค์คุณของผู้กำจัดกิเลส หรือ การสมาทานเพื่อเป็นเครื่องกำจัดกิเลสอันอันตรายต่อสัมมาปฏิบัติ
ธุดงค์นั้น เป็นศัพท์เฉพาะที่ปรากฏในพระไตรปิฎกเถรวาท โดยพระพุทธเจ้าตรัสแสดงธุดงค์ลักษณะต่าง ๆ ไว้หลายพระสูตร เมื่อรวมแล้วจึงได้ทั้งหมด 13 ข้อ
ธุดงค์ในปัจจุบันยังคงเป็นแนวการปฏิบัติที่เป็นที่นิยมของชาวพุทธเถรวาททั่วไปในหลายประเทศ โดยไม่จำกัดเฉพาะพระสงฆ์เท่านั้น คฤหัสถ์ทั่วไปก็ถือปฏิบัติได้บางข้อเช่นกัน
ปัจจุบัน คำว่า ธุดงค์ ในประเทศไทยใช้ในความหมายว่าเป็นการเดินจาริกของพระสงฆ์ไปยังที่ต่าง ๆ หรือเรียกว่า การเดินธุดงค์ ซึ่งความหมายนี้แตกต่างจากความหมายเดิมในพระไตรปิฎก1
ความหมาย
ธุดงค์ คือวัตร หรือแนวทางการปฏิบัติจำนวน 13 ข้อ ที่พระพุทธเจ้าอนุญาตไว้ให้แก่พระสงฆ์สำหรับเลือกนำไปปฏิบัติ เพื่อมุ่งให้เป็นแนวปฏิบัติเพิ่มเติมของพระสงฆ์ที่ตั้งใจสมาทานความเพียรเพื่อมุ่งขัดเกลาทางจิตเพื่อกำจัดกิเลส โดยธุดงค์นี้เป็นเพียงวัตร หรือแนวทางการประพฤติ ที่ไม่ใช่ศีลของพระสงฆ์ พระสงฆ์จึงเลือกปฏิบัติหรือไม่ก็ได้ขึ้นอยู่กับความสมัครใจ และการปฏิบัติธุดงค์
ธุดงค์ ในภาษาไทย ใช้เรียกพระภิกษุแบกกลดเดินไปตามทางหรือเข้าป่าไปว่า หรือ เรียกภิกษุที่ปฏิบัติเช่นนั้นว่า
ธุดงค์ ในภาษาไทย ใช้เรียกพระภิกษุแบกกลดเดินไปตามทางหรือเข้าป่าไปว่า หรือ โดยการปฏิบัติที่ว่าด้วยการออกเดินทางนั้น เป็นข้อวัตรปฏิบัติพิเศษที่ชื่อว่า โมเนยยปฏิบัติ คือการอย่าเที่ยวภิกขาจารในที่เดิมซ้ำ อย่านอนในที่เดิมซ้ำ เพื่อไม่ตัดสินว่าใครดีชั่ว เพื่อไม่พิจารณาว่าสิ่งใดที่ไหนหยาบปราณีต เรียกภิกษุที่ปฏิบัติเช่นนั้นว่า ธุดงค์ในภาษาไทยนี้จึงมีความหมายเฉพาะตัวตามประเพณีของพระวัดป่าของประเทศไทย
ธุดงควัตร
ธุดงควัตร หมายถึงกิจวัตรของการธุดงค์ที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตมี 13 วิธีจัดเป็นข้อสมาทานละเว้น และข้อสมาทานปฏิบัติ คือ
- ปังสุกูลิกังคะ ละเว้นใช้ผ้าที่ประณีตเหมือนที่คหบดีใช้ (พระป่านิยมใช้ผ้าท่อนเก่า) สมาทานถือใช้แต่ผ้าบังสุกุลที่เขาทิ้งแล้ว (ข้อนี้ตามคัมภีร์เมื่อเทียบกับวัดป่าไม่ต่างกัน)
- เตจีวริตังคะ ละเว้นการมีผ้าครอบครองและใช้สอยผ้าเกิน 3 ผืน (วัดป่าสมาทานการใช้สอยผ้าไตรจีวร ในความหมายว่าผ้านุ่ง ผ้าห่ม ผ้าคลุมด้วย (ในทางปฏิบัติจะใช้ผ้าคลุมนุ่งเมื่อซักตากผ้านุ่งและผ้าห่มชั่วคราว) คือ ผ้าที่เป็นผืน ๆ ที่ไม่ได้ตัดเป็นชุด ตามหลักผ้าใช้นุ่งห่มเพื่อกันความร้อนความเย็นและปกปิดร่างกายกันความน่าอายเท่านั้น
- ปิณฑปาติกังคะ ละเว้นรับอดิเรกลาภ (คือรับนิมนต์ไปฉันที่ได้มานอกจากบิณฑบาตรเช่นไปฉันที่บ้านที่โยมจัดไว้ต้อนรับ) สมาทาน เที่ยวบิณฑบาตเป็นประจำ (ข้อนี้ตามคัมภีร์เมื่อเทียบกับวัดป่าไม่ต่างกัน)
- สปทานจาริปังคะ ละเว้นการโลเล (ยึดติด) เที่ยวจาริก (ภิกขาจาร) (เพื่อมิให้ผูกพันกับญาติโยม) สมาทานบิณฑบาตรตามลำดับ ลำดับบ้าน ไม่เลือกบ้านที่จะรับบิณฑบาต เดินแสวงหาบิณฑบาตไปตามลำดับ. ส่วนของวัดป่าบางที่นั้นจะมีวิธีการเพิ่มออกนอกไปจากคัมภีร์อีก คือ ละเว้นบิณฑบาตซ้ำที่เดิม ถืออย่างเบาย้ายสายบิณฑบาตทุกวัน อย่างหนักออกเดินทางย้ายที่เที่ยวบิณฑบาตไม่ต่ำกว่าที่เดิมไม่เกินโยชน์ (16 กิโลเมตร) สมาทานบิณฑบาตตามลำดับบ้าน ลำดับอายุพรรษา ไม่เดินแซง (แย่งอาหาร) ซึ่งไม่ผิดจากพระไตรปิฎก-อรรถกถาแต่อย่างใด สามารถทำได้เช่นกัน.
- เอกาสนิกังคะ ละเว้นที่สอง สมาทานอาสนะเดียว (ฉันมื้อเดียว). ปกติมักถือการนั่งฉันเมื่อเคลื่อนก้นจากฐานอาสนะที่นั่งเป็นอันยุติการฉันหรือรับประทานอาหารในวันนั้น ส่วนของวัดป่านั้นจะมีวิธีการเพิ่มออกนอกไปจากคัมภีร์อีก คือ จะกำหนดเวลาฉันในแต่ละวัน เช่นกำหนดฉันเวลา 9 นาฬิกา ก็จะฉันในเวลานั้นทุกวัน (จะไม่ฉันก่อนเวลานั้น หรือ หลังเวลานั้น เช่นเวลา 8 นาฬิกา หรือ 10 นาฬิกา) จะไม่เปลี่ยนเวลาฉันตามความอยากฉัน หรือ ไม่อยากฉันตามอารมณ์ แต่ฉันตามสัจจะตามเวลาที่อธิษฐานไว้
- ปัตตปิณฑิกังคะ ละเว้นฉันภาชนะที่ 2 ใส่อาหารรวมในภาชนะเดียวกันทั้งหมด สมาทาน ฉันเฉพาะในบาตร. ส่วนของวัดป่าบางที่นั้นจะมีวิธีการเพิ่มออกนอกไปจากคัมภีร์อีก คือ จะต้องคนอาหารรวมกันด้วย ซึ่งแม้จะไม่มีในข้อธุดงค์ตามคัมภีร์แต่ก็ทำได้ไม่ผิดอะไร.
- ขลุปัจฉาภัตติกังคะ ละเว้นการรับประทานอาหารเหลือ สมาทานเมื่อเริ่มลงมือฉันแล้วไม่ยอมรับเพิ่ม. ส่วนของวัดป่าบางที่นั้นจะมีวิธีการเพิ่มออกนอกไปจากคัมภีร์อีก คือ ละเว้นฉันเหลือให้เป็นเดน (ฉันเหลือเนื่องจากไม่ประมาณในการบริโภค) ซึ่งก็ทำได้ไม่ผิด ทั้งยังเป็นมรรยาทที่ดีงามและพบตัวอย่างของพระสมัยพุทธกาลที่ทำเช่นนี้ด้วย. (อติริตต อาหารอันเป็นเดน)
- อารัญญิกังคะ ละเว้นการอยู่ในเสนาสนะใกล้บ้าน สมาทานการอยู่ในป่าไกล 500 ชั่วคันธนู หรือ ราว 1 กิโลเมตร โดยจะต้องให้ตะวันขึ้นในป่า หากตัวอยู่ในบ้านตอนตะวันขึ้น เป็นอันธุดงค์แตก สมาทานถืออยู่ในป่า (วน - กลุ่มต้นไม้, อรัญญ - ป่าไกลบ้าน)
- รุกขมูลิกังคะ ละเว้นนอนในที่มีที่มุงที่บัง (เช่นบ้าน ถ้ำ กุฏิ) สมาทานอยู่โคนไม้ แต่ท่านอนุญาตให้ทำซุ้มจีวรได้ ส่วนของวัดป่าบางที่นั้นจะต่างออกไปเล็กน้อย คือ จะใช้การปักกลดแทน ประเพณีนี้ไม่ทราบที่มาแน่ชัดนัก แต่ถ้าไม่เอาด้ามกลดปักดินก็ทำได้เพราะถึงอย่างไรกลดก็ไม่ใช่กุฏิ (ปักกลด คือการกางร่มกลด (ร่มที่พระใช้ขณะเดินทาง) ใต้ต้นไม้ เป็นวิธีการของพระสายวัดป่าไทยโดยเฉพาะแต่เดิมครั้งพุทธกาลไม่มีมาก่อน กลดมี 2 ลักษณะคือผูกเชือกแล้วแขวนกลด และใช้ด้ามกลดปักพื้น (มักทำพระกันบ่อยด้วยปฐวิขณนสิกขาบท เพราะจงใจขุดดินทั้งที่รู้ตัว) บางรูปวางกับพื้น เรียกว่ากางโลงศพเพราะได้แต่อิริยาบถนอนในกลดเท่านั้น ลุกมานั่งสมาธิไม่ได้ (แต่สามารถถือวางพาดบ่าก็ลุกนั่งได้) โดยปกติจะครอบคลุมด้วยผ้ามุงทรงกระบอกเพื่อกันยุง ในครั้งพุทธกาลพระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้ใส่รองเท้าเมื่อเดินลุยในน้ำ ไม่ทรงอนุญาตให้ใส่ที่อื่น เนื่องจากเดินลุยน้ำเรามองไม่เห็นว่าในน้ำมีอะไรจึงต้องใส่รองเท้า แต่บนพื้นเรามองเห็นอยู่จะพลาดเหยียบหนามก็เพราะขาดสติ (ทรงอนุญาตให้ใส่รองเท้าในวัด หรือป่า เป็นต้นได้ แต่ห้ามใส่เข้าในเขตหมู่บ้าน) อีกทั้งทรงอนุญาตให้ใช้ร่มเมื่อเข้าไปในใต้ต้นไม้เพื่อป้องกันการร่วงหล่นใส่ของกิ่งไม้แต่ในเบื้องต้นยังไม่อนุญาตให้กางนอกต้นไม้เพื่อใช้กันแดดกันฝน ในคัมภีร์ท่านไม่ได้อนุญาตให้กางร่มกลดไว้ แต่หากเอาตามอัพโภกาสิกังคธุดงค์แล้วก็ทรงอนุญาตให้ทำซุ้มจีวรได้ (สันนิษฐานว่าคงเป็นผ้ามุ้งหูเดียวที่ผูกแขวนใต้ต้นไม้เพราะข้อธุดงค์รุกขมูลที่กำหนดไว้ให้อยู่ใต้ต้นไม้ ไม่น่าจะเป็นการเอาไม้มาพาดแล้วคลุมด้วยผ้าคล้ายเต็นท์ เพราะเต็นท์จะอยู่นอกใต้ต้นไม้ได้) อย่างไรก็ตามการใช้กลดก็ไม่ผิด เพราะก็อยู่โคนไม้ไม่ใช่กุฏิเหมือนกัน).
- อัพโภกาสิกังคะ ละเว้นการเข้าในที่มีที่มุงที่บังและใต้ต้นไม้ สมาทานอยู่กลางแจ้ง คือการไม่เข้าไปพักในร่มไม้หรือชายคาหลังคาใด ๆ หรือแม้การกางร่มกลดเพื่อกันแดดกันฝนก็ไม่ได้ห้ามทั้งซุ้มจีวรและการใช้มุงใด ๆ.วัดป่าบางทีก็ถือการไม่ใช่อาสนะใด ๆ เลยเช่น เก้าอี้ เตียง ผ้าปูหรือ แม้แต่ผูกเปล รวมทั้งไม่นอนบนต้นไม้ โดยถือหลักการไม่อิงอาศัยสิ่งใดเกินจำเป็น แม้แต่รองเท้าก็ตาม
- โสสานิกังคะ ละเว้นการอยูในสถานที่ไม่เปลี่ยว สมาทานอยู่ป่าช้า ในคัมภึร์หมายถึงป่าช้าเผาศพ ซึ่งต้องเคยมีการเผาศพมาก่อนอย่างน้อยครั้งหนึ่ง แต่ไม่ใช่ป่าช้าฝังผี ข้อนี้ก็เหมือนกับ 2 ข้อ ก่อน ตรงที่ถ้าไม่ได้อยู่ในป่าช้าตอนตะวันขึ้นธุดงค์ก็แตกเช่นกัน.วัดป่ามักถือการไม่อยู่ในป่าช้าใกล้ ๆกับที่มีมนุษย์อยู่ในบริเวณใกล้ๆกับสถานที่ตนอยู่ เพราะการอยู่ในป่าช้าก็เพื่อการทดสอบจิตใจต่อการกลัวในความมืดและความเงียบ โดยการอยู่ในที่เปลี่ยวในป่าช้าห่างไกลผู้คนและหมายถึงป่าทั้งที่ฝังและเผา (สน สงัด สุสาน มีปกติสงัดดี)
- ยถาสันถติกังคะ ละเว้นการโลเล (ยึดติด) ในเสนาสนะ สมาทานอยู่ในที่ตามมีตามได้ เสนาสนคาหาปกะจัดให้อย่างไรก็อยู่ตามนั้น. ส่วนของวัดป่านั้นจะมีวิธีการเพิ่มออกนอกไปจากคัมภีร์อีก คือ ละเว้นการนอนซ้ำที่เดิม (เพื่อไม่หวงแหนในติดในสถานที่) โดย
- ถืออย่างเบาคือนอนย้ายที่ในอาวาสทุกวัน
- ถืออย่างหนักคือออกเดินทางย้ายที่นอนทุกวัน
- ถ้านอกอาวาส ถ้าหลายรูปให้พรรษาที่สูงกว่าเลือกให้และให้สูงกว่าเลือกก่อน (ข้อนี้เป็นสมาจาริกศีล ไม่ใช่ธุดงค์) และ
- อยู่บนกุฏิวิหารให้ทำให้สะอาด ถ้าตามโคนไม้ไม่กวาดหรือทำอะไรเพราะใบไม้มีประโยชน์เช่นทำให้เท้าไม่ เปื้อนก่อนเข้าอาสนะ และสัตว์หรือคนเข้ามาย่อมได้ยินเสียง.
- เนสัชชิกังคะ สมาทานถืออิริยาบถนั่ง-อิริยาบถยืน-อิริยาบถเดินเพียง 3 อิริยาบถไม่อยู่ในอิริยาบถนอน ส่วนของวัดป่านั้นจะมีวิธีการเพิ่มออกนอกไปจากคัมภีร์อีก คือ ละเว้นการหลับด้วย ซึ่งก็ทำได้ไม่ผิด (มักเรียกการประพฤตินี้ว่าเนสัชชิก)
วัตรปฏิบัติ
หมวดที่ 1 จีวรปฏิสังยุตต์ (เกี่ยวกับจีวร)
- การถือผ้าบังสุกุลเป็นวัตร คือการใช้แต่ผ้าเก่าที่คนเขาทิ้งเอาไว้ตามกองขยะบ้าง ข้างถนนบ้าง ผ้าห่อศพบ้าง นำผ้าเหล่านั้นมาซัก ย้อมสี เย็บต่อกันจนเป็นผืนใหญ่แล้วนำมาใช้ งดเว้นจากการใช้ผ้าของโยมโดยตรงทุกชนิด (วางใกล้เท้าได้)
- การถือผ้า 3 ผืน (ไตรจีวร) เป็นวัตร คือการใช้ผ้าเฉพาะที่จำเป็นเท่านั้น อันได้แก่ (ผ้านุ่ง) จีวร (ผ้าห่ม) สังฆาฏิ (ผ้าสารพัดประโยชน์ เช่น คลุมกันหนาว ปูนั่ง ปูนอน ปัดฝุ่น ใช้แทนสบง หรือจีวรเพื่อซักผ้าเหล่านั้น ปัจจุบันภิกษุไทยมักใช้พาดบ่าเมื่อประกอบพิธีกรรม)
หมวดที่ 2 ปิณฑปาตปฏิสังยุตต์ (เกี่ยวกับบิณฑบาต)
- การถือบิณฑบาตเป็นวัตร คือการบริโภคอาหารเฉพาะที่ได้มาจากการรับบิณฑบาตเท่านั้น ไม่บริโภคอาหารที่คนเขานิมนต์ไปฉันตามบ้าน
- ถือการบิณฑบาตตามลำดับบ้านเป็นวัตร คือจะรับบิณฑบาตโดยไม่เลือกที่รักมักที่ชัง ไม่เลือกว่าเป็นบ้านคนรวยคนจน ไม่เลือกว่าอาหารดีไม่ดี มีใครใส่บาตรก็รับไปตามลำดับ ไม่ข้ามบ้านที่ไม่ถูกใจไป
- ถือการฉันในอาสนะเดียวเป็นวัตร คือ ในแต่ละวันจะบริโภคอาหารเพียงครั้งเดียว เมื่อนั่งแล้วก็ฉันจนเสร็จ หลังจากนั้นก็จะไม่บริโภคอาหารอะไรอีกเลย นอกจากน้ำดื่ม
- ถือการฉันในบาตรเป็นวัตร คือจะนำอาหารทุกชนิดที่จะบริโภคในมื้อนั้น มารวมกันในบาตร แล้วจึงฉันอาหารนั้น เพื่อไม่ให้ติดในรสชาติของอาหาร
- ถือการห้ามภัตที่ถวายภายหลังเป็นวัตร คือเมื่อรับอาหารมามากพอแล้ว ตัดสินใจว่าจะไม่รับอะไรเพิ่มอีกแล้ว หลังจากนั้นถึงแม้มีใครนำอะไรมาถวายเพิ่มอีก ก็จะไม่รับอะไรเพิ่มอีกเลย ถึงแม้อาหารนั้นจะถูกใจเพียงใดก็ตาม
หมวดที่ 3 เสนาสนปฏิสังยุตต์ (เกี่ยวกับเสนาสนะ)
- ถือการอยู่ป่าเป็นวัตร คือจะอยู่อาศัยเฉพาะในป่าเท่านั้น จะไม่อยู่ในหมู่บ้านเลย เพื่อไม่ให้ความพลุกพล่านวุ่นวายของเมืองรบกวนการปฏิบัติ หรือเพื่อป้องกันการพอกพูนของกิเลส
- ถือการอยู่โคนไม้เป็นวัตร คือจะพักอาศัยอยู่ใต้ต้นไม้เท่านั้น งดเว้นจากการอยู่ในที่มีหลังคาที่สร้างขึ้นมามุงบัง
- ถือการอยู่กลางแจ้งเป็นวัตร คือจะอยู่แต่ในที่กลางแจ้งเท่านั้น จะไม่เข้าสู่ที่มุงบังใดๆ เลย แม้แต่โคนต้นไม้ เพื่อไม่ให้ติดในที่อยู่อาศัย
- ถือการอยู่ในป่าช้าเป็นวัตร คือจะงดเว้นจากที่พักอันสุขสบายทั้งหลาย แล้วไปอาศัยอยู่ในป่าช้า เพื่อจะได้ระลึกถึงความตายอยู่เสมอ ไม่ประมาท
- ถือการอยู่ในเสนาสนะที่เขาจัดไว้ให้เป็นวัตร คือเมื่อใครชี้ให้ไปพักที่ไหน หรือจัดที่พักอย่างใดไว้ให้ ก็พักอาศัยในที่นั้นๆ โดยไม่เลือกว่าสะดวกสบาย หรือถูกใจหรือไม่ และเมื่อมีใครขอให้สละที่พักที่กำลังพักอาศัยอยู่นั้น ก็พร้อมจะสละได้ทันที
- ถือการนั่งเป็นวัตร คือจะงดเว้นอิริยาบถนอน จะอยู่ใน 3 อิริยาบถเท่านั้น คือ ยืน เดิน นั่ง จะไม่เอนตัวลงให้หลังสัมผัสพื้นเลย ถ้าง่วงมากก็จะใช้การนั่งหลับเท่านั้น เพื่อไม่ให้เพลิดเพลินในการนอน
คำสมาทานธุดงค์
- คำสมาทานธุดงค์ 13 แบบ
- ถือ " ผ้าบังสุกุล " เป็นวัตร สมาทานว่า " คะหะปะติจีวะรัง ปะฏิกขิปามิ ปังสุกูลิกังคัง สะมาธิยามิ "
- ถือ " เพียงไตรจีวร " เป็นวัตร สมาทานว่า " จะตุตถะจีวะรัง ปะฏิกขิปามิ เตจีวะริกังคัง สะมาทิยามิ "
- ถือ " เที่ยวบิณฑบาต " เป็นวัตร สมาทานว่า " อะติเรกะลาภัง ปะฏิกขิปามิ ปิณฑปาติกังคัง สะมาทิยามิ "
- ถือ" เที่ยวบิณฑบาตไปตามแนว " เป็นวัตร สมาทานว่า " โลลุปปะจารัง ปะฏิกขิปามิ สะปะทานะจาริกังคัง สะมาทิยามิ "
- ถือ" นั่งฉันอาสนะเดียว " เป็นวัตร สมาทานว่า " นานาสะนะโภชะนัง ปะฏิกขิปามิ เอกาสะนิกังคัง สะมาทิยามิ "
- ถือ " ฉันเฉพาะในบาตรเดียว " เป็นวัตร สมาทานว่า " ทุติยะภาชะนัง ปะฏิกขิปามิ ปัตตะปิณฑิกังคัง สะมาทิยามิ "
- ถือ " ห้ามภัต อันนำมาถวายเมื่อภายหลัง " เป็นวัตร สมาทานว่า " อะติริตตะโภชะนัง ปะฏิกขิปามิ ขะลุปัจฉาภัตติกังคัง สะมาทิยามิ "
- ถือ " อยู่ป่า " เป็นวัตร สมาทานว่า " คามันตะเสนาสะนัง ปะฏิกขิปามิ อารัญญิกังคัง สะมาทิยามิ "
- ถือ " อยู่โคนไม้ " เป็นวัตร สมาทานว่า " ฉันนัง ปะฏิกขิปามิ รุกขะมูลิกังคัง สะมาทิยามิ "
- ถือ " อยู่ที่แจ้ง "เป็นวัตร สมาทานว่า " ฉันนัญจะ รุกขะมูลัญจะ ปะฏิกขิปามิ อัพโภกาสิกังคัง สะมาทิยามิ "
- ถือ " อยู่ป่าช้า " เป็นวัตร สมาทานว่า " อะสุสานัง ปะฏิกขิปามิ โสสานิกังคัง สะมาทิยามิ "
- ถือ " การอยู่ในเสนาสนะอันท่านจัดให้อย่างไร พอใจอย่างนั้น " เป็นวัตร สมาทานว่า " เสนาสะนะโลลุปปัง ปะฏิกขิปามิ ยะถาสันถะติกังคัง สะมาทิยามิ "
- ถือ " การนั่ง " เป็นวัตร สมาทานว่า " เสยยัง ปะฏิกขิปามิ เนสัชชิกังคัง สะมาธิยามิ "
พระอริยบุคคลที่มีความสำคัญด้านถือธุดงค์
- พระมหากัสสปะ ถือผ้าบังสุกุล อยูป่า บิณฑบาตรเป็นวัตร
- พระนาลกะ ถือไม่โลเลในการภิกขาจาร ไม่โลเลในเสนาสนะ
- ถือบังสุกุลทรงจีวรเศร้าหมอง
- ถือเนสัชชิก
- ถืออยู่ป่าช้า
เชิงอรรถ
หมายเหตุ 1: การจาริก ด้วยเท้า ของพระสงฆ์ในประเทศไทย มักเข้าใจปะปนกับคำว่า ธุดงค์ ทั้งนี้เนื่องจากบางข้อของธุดงควัตร เช่น อรัญญิกังคะ หมายถึงการอยู่ในบริเวณป่า ทำให้พระสงฆ์ที่ถือธุดงค์ข้อนี้จะต้องเดินทางไปหาที่วิเวกในบริเวณป่าและไม่อยู่ติดที่เป็นเวลานาน เพื่อให้ห่างไกลจากการรบกวนของผู้คน การทำเช่นนี้ของพระสงฆ์มีมาตั้งแต่พุทธกาล พระสงฆ์ในประเทศไทยคงได้ถือคตินี้และปฏิบัติมาแต่โบราณ ทำให้คนทั่วไปในปัจจุบันมักเรียกกิริยาเช่นนั้น (การจาริกเดินเท้าของพระสงฆ์โดยแบกบริขาร เช่น กลดย่าม และบาตร เพื่อเดินทางไปยังที่ต่าง ๆ ) ว่า พระเดินธุดงค์ หรือ การเดินธุดงค์ ซึ่งเป็นเพียงคำเรียกทั่วไป ที่หากพระสงฆ์ผู้เดินจาริกไม่ได้ถือสมาทานองค์คุณแห่งธุดงค์ข้อใดข้อหนึ่งแล้ว ย่อมไม่ใช่ความหมายของคำว่าธุดงค์ตามนัยในพระไตรปิฎก
อ้างอิง
- พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๑ ขุททกนิกาย มหานิทเทส ทุฏฐัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๓. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [1]. เข้าถึงเมื่อ 4-4-55
- พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). (2548). พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง. หน้า 56
- ธุตังคนิเทศ ปริจเฉทที่ ๒. วิสุทธิมรรค เล่ม ๑ ภาคศีล ปริเฉทที่ ๒. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [2] เก็บถาวร 2009-12-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. เข้าถึงเมื่อ 4-4-55
- พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑ ปาราชิกกัณฑ์ ปฐมปาราชิกสิกขาบท . พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [3]. เข้าถึงเมื่อ 4-4-55
- พระไตรปิฎก เล่มที่ ๕ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๕ มหาวรรค ภาค ๒ กฐินขันธกะ. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [4]. เข้าถึงเมื่อ 4-4-55
- The Path of Freedom (Vimuttimagga), Buddhist Publication Society, Kandy, Sri Lanka.
- พระราชวุฒาจารย์ (ดูลย์ อตุโล). (2555). แบบฉบับการเดินธุดงค์. [ออน-ไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.atulo.org/history/history056.htm 2012-11-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน เข้าถึงเมื่อ 5-4-55
- พระไตรปิฎก เล่มที่ ๕ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๕ มหาวรรค ภาค ๒ เรื่องพระโสณกุฏิกัณณะ. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออน-ไลน์]. เข้าถึงได้จาก [5]. เข้าถึงเมื่อ 4-4-55
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
- พระราชนิโรธรังสีคัมภีรปัญญาวิศิษฏ์ (เทสก์ เทสรังสี) ธรรมเทสนา ชุด โอวาทหลังปาติโมกข์ เรื่อง: ขนบธรรมเนียม ระเบียบ ของพระธุดงค์
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
thudngkh bali thutng kh epnwtrptibtithiphraphuththecathrngxnuyatiw immikarbngkhb aelwaetphuidcasmkhricptibti epnxubaywithikacdkhdeklakiels thaihekidkhwammknxysnodsyingkhun imsasm ephuxihebasbayipmaidsadwkdwyimmipharamak ehmuxnnkthimiephiyngpikkbinip miichephuxsasmhruxephuxlaphskkaraaelachuxesiyng thathaephuxlaph ephuxchuxesiyng txngxabtithudngkh hmaythungkhxthuxwtrptibtiephuxkhdeklakiels 13 khx khxngphuththsasnikchn sungimidhmayechphaaaekhkarthuxkldxxkedincarikipyngpaekhaephuxwiewkkhxngphrasngkhxyangediywethannpccubnkhawathudngkhinpraethsithyichinkhwamhmaywaepnkaredincarikkhxngphrasngkh hrux karedinthudngkh sungaetktangcakkhwamhmayediminphraitrpidkkarthuxthudngkhtamkhwamhmayinphraitrpidksamartheluxksmathanid odyimcaepntxngyudtidkbrupaebbkaredinthuxkrdbatripthitang echn karthuxxryyikngkha xyupa ossanikngkha xyupacha ephraathudngkhepnaenwthangexuxihphuptibtiidmikhwamwiewkprascakkhwamwunwaycaksngkhm ephuxmungtxkarptibtithrrmthangcitxyangekhmngwdkarcarikkhxngphrasngkhinpraethsithy mkekhaicpapnkbkhawa thudngkh thngnienuxngcakbangkhxkhxngthudngkhwtr echn xryyikngkha hmaythungkarxyuinbriewnpa thaihphrasngkhthithuxthudngkhkhxnicatxngedinthangiphathiwiewkinbriewnpaaelaimxyutidthiepnewlanan odyrupsphth thudngkh aeplwa xngkhkhunepnekhruxngkacdkiels xngkhkhunkhxngphukacdkiels hrux karsmathanephuxepnekhruxngkacdkielsxnxntraytxsmmaptibti thudngkhnn epnsphthechphaathipraktinphraitrpidkethrwath odyphraphuththecatrsaesdngthudngkhlksnatang iwhlayphrasutr emuxrwmaelwcungidthnghmd 13 khx thudngkhinpccubnyngkhngepnaenwkarptibtithiepnthiniymkhxngchawphuththethrwaththwipinhlaypraeths odyimcakdechphaaphrasngkhethann khvhsththwipkthuxptibtiidbangkhxechnkn pccubn khawa thudngkh inpraethsithyichinkhwamhmaywaepnkaredincarikkhxngphrasngkhipyngthitang hruxeriykwa karedinthudngkh sungkhwamhmayniaetktangcakkhwamhmayediminphraitrpidk1khwamhmaythudngkh khuxwtr hruxaenwthangkarptibticanwn 13 khx thiphraphuththecaxnuyatiwihaekphrasngkhsahrbeluxknaipptibti ephuxmungihepnaenwptibtiephimetimkhxngphrasngkhthitngicsmathankhwamephiyrephuxmungkhdeklathangcitephuxkacdkiels odythudngkhniepnephiyngwtr hruxaenwthangkarpraphvti thiimichsilkhxngphrasngkh phrasngkhcungeluxkptibtihruximkidkhunxyukbkhwamsmkhric aelakarptibtithudngkh thudngkh inphasaithy icheriykphraphiksuaebkkldediniptamthanghruxekhapaipwa hrux eriykphiksuthiptibtiechnnnwa thudngkh inphasaithy icheriykphraphiksuaebkkldediniptamthanghruxekhapaipwa hrux odykarptibtithiwadwykarxxkedinthangnn epnkhxwtrptibtiphiessthichuxwa omenyyptibti khuxkarxyaethiywphikkhacarinthiedimsa xyanxninthiedimsa ephuximtdsinwaikhrdichw ephuximphicarnawasingidthiihnhyabpranit eriykphiksuthiptibtiechnnnwa thudngkhinphasaithynicungmikhwamhmayechphaatwtampraephnikhxngphrawdpakhxngpraethsithythudngkhwtrthudngkhwtr hmaythungkicwtrkhxngkarthudngkhthiphraphuththecathrngxnuyatmi 13 withicdepnkhxsmathanlaewn aelakhxsmathanptibti khux pngsukulikngkha laewnichphathipranitehmuxnthikhhbdiich phrapaniymichphathxneka smathanthuxichaetphabngsukulthiekhathingaelw khxnitamkhmphiremuxethiybkbwdpaimtangkn etciwritngkha laewnkarmiphakhrxbkhrxngaelaichsxyphaekin 3 phun wdpasmathankarichsxyphaitrciwr inkhwamhmaywaphanung phahm phakhlumdwy inthangptibticaichphakhlumnungemuxsktakphanungaelaphahmchwkhraw khux phathiepnphun thiimidtdepnchud tamhlkphaichnunghmephuxknkhwamrxnkhwameynaelapkpidrangkayknkhwamnaxayethann pinthpatikngkha laewnrbxdierklaph khuxrbnimntipchnthiidmanxkcakbinthbatrechnipchnthibanthioymcdiwtxnrb smathan ethiywbinthbatepnpraca khxnitamkhmphiremuxethiybkbwdpaimtangkn spthancaripngkha laewnkarolel yudtid ethiywcarik phikkhacar ephuxmiihphukphnkbyatioym smathanbinthbatrtamladb ladbban imeluxkbanthicarbbinthbat edinaeswnghabinthbatiptamladb swnkhxngwdpabangthinncamiwithikarephimxxknxkipcakkhmphirxik khux laewnbinthbatsathiedim thuxxyangebayaysaybinthbatthukwn xyanghnkxxkedinthangyaythiethiywbinthbatimtakwathiedimimekinoychn 16 kiolemtr smathanbinthbattamladbban ladbxayuphrrsa imedinaesng aeyngxahar sungimphidcakphraitrpidk xrrthkthaaetxyangid samarththaidechnkn exkasnikngkha laewnthisxng smathanxasnaediyw chnmuxediyw pktimkthuxkarnngchnemuxekhluxnkncakthanxasnathinngepnxnyutikarchnhruxrbprathanxaharinwnnn swnkhxngwdpanncamiwithikarephimxxknxkipcakkhmphirxik khux cakahndewlachninaetlawn echnkahndchnewla 9 nalika kcachninewlannthukwn caimchnkxnewlann hrux hlngewlann echnewla 8 nalika hrux 10 nalika caimepliynewlachntamkhwamxyakchn hrux imxyakchntamxarmn aetchntamsccatamewlathixthisthaniw pttpinthikngkha laewnchnphachnathi 2 isxaharrwminphachnaediywknthnghmd smathan chnechphaainbatr swnkhxngwdpabangthinncamiwithikarephimxxknxkipcakkhmphirxik khux catxngkhnxaharrwmkndwy sungaemcaimmiinkhxthudngkhtamkhmphiraetkthaidimphidxair khlupcchaphttikngkha laewnkarrbprathanxaharehlux smathanemuxerimlngmuxchnaelwimyxmrbephim swnkhxngwdpabangthinncamiwithikarephimxxknxkipcakkhmphirxik khux laewnchnehluxihepnedn chnehluxenuxngcakimpramaninkarbriophkh sungkthaidimphid thngyngepnmrryaththidingamaelaphbtwxyangkhxngphrasmyphuththkalthithaechnnidwy xtiritt xaharxnepnedn xaryyikngkha laewnkarxyuinesnasnaiklban smathankarxyuinpaikl 500 chwkhnthnu hrux raw 1 kiolemtr odycatxngihtawnkhuninpa haktwxyuinbantxntawnkhun epnxnthudngkhaetk smathanthuxxyuinpa wn klumtnim xryy paiklban rukkhmulikngkha laewnnxninthimithimungthibng echnban tha kuti smathanxyuokhnim aetthanxnuyatihthasumciwrid swnkhxngwdpabangthinncatangxxkipelknxy khux caichkarpkkldaethn praephniniimthrabthimaaenchdnk aetthaimexadamkldpkdinkthaidephraathungxyangirkldkimichkuti pkkld khuxkarkangrmkld rmthiphraichkhnaedinthang ittnim epnwithikarkhxngphrasaywdpaithyodyechphaaaetedimkhrngphuththkalimmimakxn kldmi 2 lksnakhuxphukechuxkaelwaekhwnkld aelaichdamkldpkphun mkthaphraknbxydwypthwikhnnsikkhabth ephraacngickhuddinthngthirutw bangrupwangkbphun eriykwakangolngsphephraaidaetxiriyabthnxninkldethann lukmanngsmathiimid aetsamarththuxwangphadbakluknngid odypkticakhrxbkhlumdwyphamungthrngkrabxkephuxknyung inkhrngphuththkalphraphuththecathrngxnuyatihisrxngethaemuxedinluyinna imthrngxnuyatihisthixun enuxngcakedinluynaeramxngimehnwainnamixaircungtxngisrxngetha aetbnphuneramxngehnxyucaphladehyiybhnamkephraakhadsti thrngxnuyatihisrxngethainwd hruxpa epntnid aethamisekhainekhthmuban xikthngthrngxnuyatihichrmemuxekhaipinittnimephuxpxngknkarrwnghlniskhxngkingimaetinebuxngtnyngimxnuyatihkangnxktnimephuxichknaeddknfn inkhmphirthanimidxnuyatihkangrmkldiw aethakexatamxphophkasikngkhthudngkhaelwkthrngxnuyatihthasumciwrid snnisthanwakhngepnphamunghuediywthiphukaekhwnittnimephraakhxthudngkhrukkhmulthikahndiwihxyuittnim imnacaepnkarexaimmaphadaelwkhlumdwyphakhlayetnth ephraaetnthcaxyunxkittnimid xyangirktamkarichkldkimphid ephraakxyuokhnimimichkutiehmuxnkn xphophkasikngkha laewnkarekhainthimithimungthibngaelaittnim smathanxyuklangaecng khuxkarimekhaipphkinrmimhruxchaykhahlngkhaid hruxaemkarkangrmkldephuxknaeddknfnkimidhamthngsumciwraelakarichmungid wdpabangthikthuxkarimichxasnaid elyechn ekaxi etiyng phapuhrux aemaetphukepl rwmthngimnxnbntnim odythuxhlkkarimxingxasysingidekincaepn aemaetrxngethaktam ossanikngkha laewnkarxyuinsthanthiimepliyw smathanxyupacha inkhmphurhmaythungpachaephasph sungtxngekhymikarephasphmakxnxyangnxykhrnghnung aetimichpachafngphi khxnikehmuxnkb 2 khx kxn trngthithaimidxyuinpachatxntawnkhunthudngkhkaetkechnkn wdpamkthuxkarimxyuinpachaikl kbthimimnusyxyuinbriewniklkbsthanthitnxyu ephraakarxyuinpachakephuxkarthdsxbcitictxkarklwinkhwammudaelakhwamengiyb odykarxyuinthiepliywinpachahangiklphukhnaelahmaythungpathngthifngaelaepha sn sngd susan mipktisngddi ythasnthtikngkha laewnkarolel yudtid inesnasna smathanxyuinthitammitamid esnasnkhahapkacdihxyangirkxyutamnn swnkhxngwdpanncamiwithikarephimxxknxkipcakkhmphirxik khux laewnkarnxnsathiedim ephuximhwngaehnintidinsthanthi ody thuxxyangebakhuxnxnyaythiinxawasthukwn thuxxyanghnkkhuxxxkedinthangyaythinxnthukwn thanxkxawas thahlayrupihphrrsathisungkwaeluxkihaelaihsungkwaeluxkkxn khxniepnsmacariksil imichthudngkh aela xyubnkutiwiharihthaihsaxad thatamokhnimimkwadhruxthaxairephraaibimmipraoychnechnthaihethaim epuxnkxnekhaxasna aelastwhruxkhnekhamayxmidyinesiyng enschchikngkha smathanthuxxiriyabthnng xiriyabthyun xiriyabthedinephiyng 3 xiriyabthimxyuinxiriyabthnxn swnkhxngwdpanncamiwithikarephimxxknxkipcakkhmphirxik khux laewnkarhlbdwy sungkthaidimphid mkeriykkarpraphvtiniwaenschchik wtrptibtihmwdthi 1 ciwrptisngyutt ekiywkbciwr karthuxphabngsukulepnwtr khuxkarichaetphaekathikhnekhathingexaiwtamkxngkhyabang khangthnnbang phahxsphbang naphaehlannmask yxmsi eybtxkncnepnphunihyaelwnamaich ngdewncakkarichphakhxngoymodytrngthukchnid wangiklethaid karthuxpha 3 phun itrciwr epnwtr khuxkarichphaechphaathicaepnethann xnidaek phanung ciwr phahm sngkhati phasarphdpraoychn echn khlumknhnaw punng punxn pdfun ichaethnsbng hruxciwrephuxskphaehlann pccubnphiksuithymkichphadbaemuxprakxbphithikrrm hmwdthi 2 pinthpatptisngyutt ekiywkbbinthbat karthuxbinthbatepnwtr khuxkarbriophkhxaharechphaathiidmacakkarrbbinthbatethann imbriophkhxaharthikhnekhanimntipchntamban thuxkarbinthbattamladbbanepnwtr khuxcarbbinthbatodyimeluxkthirkmkthichng imeluxkwaepnbankhnrwykhncn imeluxkwaxahardiimdi miikhrisbatrkrbiptamladb imkhambanthiimthukicip thuxkarchninxasnaediywepnwtr khux inaetlawncabriophkhxaharephiyngkhrngediyw emuxnngaelwkchncnesrc hlngcaknnkcaimbriophkhxaharxairxikely nxkcaknadum thuxkarchninbatrepnwtr khuxcanaxaharthukchnidthicabriophkhinmuxnn marwmkninbatr aelwcungchnxaharnn ephuximihtidinrschatikhxngxahar thuxkarhamphtthithwayphayhlngepnwtr khuxemuxrbxaharmamakphxaelw tdsinicwacaimrbxairephimxikaelw hlngcaknnthungaemmiikhrnaxairmathwayephimxik kcaimrbxairephimxikely thungaemxaharnncathukicephiyngidktamhmwdthi 3 esnasnptisngyutt ekiywkbesnasna thuxkarxyupaepnwtr khuxcaxyuxasyechphaainpaethann caimxyuinhmubanely ephuximihkhwamphlukphlanwunwaykhxngemuxngrbkwnkarptibti hruxephuxpxngknkarphxkphunkhxngkiels thuxkarxyuokhnimepnwtr khuxcaphkxasyxyuittnimethann ngdewncakkarxyuinthimihlngkhathisrangkhunmamungbng thuxkarxyuklangaecngepnwtr khuxcaxyuaetinthiklangaecngethann caimekhasuthimungbngid ely aemaetokhntnim ephuximihtidinthixyuxasy thuxkarxyuinpachaepnwtr khuxcangdewncakthiphkxnsukhsbaythnghlay aelwipxasyxyuinpacha ephuxcaidralukthungkhwamtayxyuesmx impramath thuxkarxyuinesnasnathiekhacdiwihepnwtr khuxemuxikhrchiihipphkthiihn hruxcdthiphkxyangidiwih kphkxasyinthinn odyimeluxkwasadwksbay hruxthukichruxim aelaemuxmiikhrkhxihslathiphkthikalngphkxasyxyunn kphrxmcaslaidthnthi thuxkarnngepnwtr khuxcangdewnxiriyabthnxn caxyuin 3 xiriyabthethann khux yun edin nng caimexntwlngihhlngsmphsphunely thangwngmakkcaichkarnnghlbethann ephuximihephlidephlininkarnxnkhasmathanthudngkhkhasmathanthudngkh 13 aebbthux phabngsukul epnwtr smathanwa khahapaticiwarng patikkhipami pngsukulikngkhng samathiyami thux ephiyngitrciwr epnwtr smathanwa catutthaciwarng patikkhipami etciwarikngkhng samathiyami thux ethiywbinthbat epnwtr smathanwa xatierkalaphng patikkhipami pinthpatikngkhng samathiyami thux ethiywbinthbatiptamaenw epnwtr smathanwa olluppacarng patikkhipami sapathanacarikngkhng samathiyami thux nngchnxasnaediyw epnwtr smathanwa nanasanaophchanng patikkhipami exkasanikngkhng samathiyami thux chnechphaainbatrediyw epnwtr smathanwa thutiyaphachanng patikkhipami pttapinthikngkhng samathiyami thux hampht xnnamathwayemuxphayhlng epnwtr smathanwa xatirittaophchanng patikkhipami khalupcchaphttikngkhng samathiyami thux xyupa epnwtr smathanwa khamntaesnasanng patikkhipami xaryyikngkhng samathiyami thux xyuokhnim epnwtr smathanwa chnnng patikkhipami rukkhamulikngkhng samathiyami thux xyuthiaecng epnwtr smathanwa chnnyca rukkhamulyca patikkhipami xphophkasikngkhng samathiyami thux xyupacha epnwtr smathanwa xasusanng patikkhipami ossanikngkhng samathiyami thux karxyuinesnasnaxnthancdihxyangir phxicxyangnn epnwtr smathanwa esnasanaolluppng patikkhipami yathasnthatikngkhng samathiyami thux karnng epnwtr smathanwa esyyng patikkhipami enschchikngkhng samathiyami phraxriybukhkhlthimikhwamsakhydanthuxthudngkhphramhaksspa thuxphabngsukul xyupa binthbatrepnwtr phranalka thuximolelinkarphikkhacar imolelinesnasna thuxbngsukulthrngciwresrahmxng thuxenschchik thuxxyupachaechingxrrthhmayehtu 1 karcarik dwyetha khxngphrasngkhinpraethsithy mkekhaicpapnkbkhawa thudngkh thngnienuxngcakbangkhxkhxngthudngkhwtr echn xryyikngkha hmaythungkarxyuinbriewnpa thaihphrasngkhthithuxthudngkhkhxnicatxngedinthangiphathiwiewkinbriewnpaaelaimxyutidthiepnewlanan ephuxihhangiklcakkarrbkwnkhxngphukhn karthaechnnikhxngphrasngkhmimatngaetphuththkal phrasngkhinpraethsithykhngidthuxkhtiniaelaptibtimaaetobran thaihkhnthwipinpccubnmkeriykkiriyaechnnn karcarikedinethakhxngphrasngkhodyaebkbrikhar echn kldyam aelabatr ephuxedinthangipyngthitang wa phraedinthudngkh hrux karedinthudngkh sungepnephiyngkhaeriykthwip thihakphrasngkhphuedincarikimidthuxsmathanxngkhkhunaehngthudngkhkhxidkhxhnungaelw yxmimichkhwamhmaykhxngkhawathudngkhtamnyinphraitrpidkxangxingphraitrpidkelmthi 29 phrasuttntpidk elmthi 21 khuththknikay mhanitheths thutthtthksuttnithethsthi 3 phraitrpidkchbbsyamrth xxniln ekhathungidcak 1 ekhathungemux 4 4 55 phrathrrmkittiwngs thxngdi suretoch 2548 phcnanukrmephuxkarsuksaphuththsasn chud khawd krungethphmhankhr orngphimpheliyngechiyng hna 56 thutngkhnieths pricechththi 2 wisuththimrrkh elm 1 phakhsil priechththi 2 xxniln ekhathungidcak 2 ekbthawr 2009 12 18 thi ewyaebkaemchchin ekhathungemux 4 4 55 phraitrpidk elmthi 1 phrawinypidk elmthi 1 mhawiphngkh phakh 1 parachikknth pthmparachiksikkhabth phraitrpidkchbbsyamrth xxniln ekhathungidcak 3 ekhathungemux 4 4 55 phraitrpidk elmthi 5 phrawinypidk elmthi 5 mhawrrkh phakh 2 kthinkhnthka phraitrpidkchbbsyamrth xxniln ekhathungidcak 4 ekhathungemux 4 4 55 The Path of Freedom Vimuttimagga Buddhist Publication Society Kandy Sri Lanka ISBN 955 24 0054 6 phrarachwuthacary duly xtuol 2555 aebbchbbkaredinthudngkh xxn iln ekhathungidcak http www atulo org history history056 htm 2012 11 29 thi ewyaebkaemchchin ekhathungemux 5 4 55 phraitrpidk elmthi 5 phrawinypidk elmthi 5 mhawrrkh phakh 2 eruxngphraosnkutiknna phraitrpidkchbbsyamrth xxn iln ekhathungidcak 5 ekhathungemux 4 4 55duephimcarikaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb edinthudngkh phrarachniorthrngsikhmphirpyyawisist ethsk ethsrngsi thrrmethsna chud oxwathhlngpatiomkkh eruxng khnbthrrmeniym raebiyb khxngphrathudngkh