บทความชีวประวัตินี้เขียน |
รองศาสตราจารย์ ดร.ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ (เกิด 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2507) อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต และ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต ตั้งแต่ปี 2562 มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นศิษย์เก่าสาขาวิชาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2524-2527 (สิงห์แดง 33) หลังจากนั้นศึกษาต่อปริญญาโทในสาขาวิชาประวัติศาสตร์ ที่คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ปี 2530-2534) และปริญญาเอก สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ปี 2546-2550)|
ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ | |
---|---|
เกิด | ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2507 อำเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์ ประเทศไทย เติบโตที่นครปฐม |
ศิษย์เก่า | มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ |
อาชีพ | นักวิชาการ |
มีชื่อเสียงจาก | วิจารณ์การเมือง |
ประวัติ
ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ มีผลงานวิทยานิพนธ์ด้านประวัติศาสตร์การเมืองที่สำคัญคือเรื่อง รัฐประหาร 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 ซึ่งต่อมาจะจัดพิมพ์ในชื่อ อันสร้างองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับการ และการล้มลงของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ทั้งยังเสนอให้เห็นถึงการต่อสู้ทางการเมืองระหว่างระบอบเก่าและระบอบใหม่ในช่วง 1 ปีหลังการปฏิวัติที่ดำเนินไปอย่างซับซ้อน และยังแสดงให้เห็นว่า การรัฐประหารครั้งแรกในการเมืองไทยภายใต้ระบอบประชาธิปไตย ก็คือ โดยนายกรัฐมนตรีพลเรือนคนแรกของไทย พระยามโนปกรณ์นิติธาดา
ผลงานวิชาการต่อๆ มา ยังคงเป็นการศึกษาการเมืองไทย ที่เน้นศึกษาผ่านผู้นำทางการเมืองไทย เช่น จอมพล ป. พิบูลสงคราม นายปรีดี พนมยงค์ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ จอมพลถนอม กิตติขจร ฯลฯ ซึ่งผู้นำทหารการเมืองคนท้ายสุดนี้ ได้กลายเป็นวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกในชื่อ “บทบาททางการเมืองของจอมพลถนอม กิตติขจร พ.ศ. 2506-2516” ที่เน้นศึกษากระบวนการขึ้นสู่อำนาจ การรักษาอำนาจโดยวิธีการต่างๆ และการจบจากอำนาจของผู้นำทหารคนนี้ในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516
ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ ในฐานะศิษย์เก่าด้านรัฐศาสตร์และประวัติศาสตร์ ได้รับรางวัลโล่เกียรติยศประเภทผู้ทำคุณประโยชน์ให้กับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ประจำปี 2554 (ครบรอบ 77 ปี) ผลงานของธำรงศักดิ์ยังแสดงความผูกผันทางด้านวิชาการและความทรงจำต่อธรรมศาสตร์ ผ่านงานสำคัญ คือ ธรรมศาสตร์การเมืองไทย: จากปฏิวัติ 2475 ถึง 14 ตุลาคม 2516 – 6 ตุลาคม 2519 และ ธรรมศาสตร์ Guidebook ซึ่งไม่เพียงจะช่วยให้เข้าใจกำเนิดและพัฒนาการของธรรมศาสตร์ได้อย่างกว้างขวางเท่านั้น หากยังช่วยให้เข้าใจสังคมการเมืองไทยได้อย่างกระชับอีกด้วย ทั้งยังมีบทบาทเป็นหนึ่งในคณะของอาจารย์ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ที่สร้างและพัฒนา "ธรรมศาสตร์ TU Walking Tour" ให้เป็นเครื่องมือในการเผยแพร่เรื่องราวธรรมศาสตร์กับการเมืองไทยให้กับนักศึกษาและบุคคลทั่วไป ผ่านวิธีการด้านการท่องเที่ยว
ในท่ามกลางวิกฤตทางการเมืองของความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับกัมพูชาในช่วงต้นทศวรรษ 2550 ผลงานของธำรงศักดิ์ที่ได้ศึกษามาอย่างยาวนานราว 2 ทศวรรษ ก็ได้ช่วยกระตุ้นเตือนให้สังคมไทยพิจารณาปัญหานี้ให้ถ่องแท้รอบด้านและรอบคอบมากยิ่งขึ้น จากงานที่รวมพิมพ์เป็นเล่มในปลายปี 2552 ในชื่อ สยามประเทศไทย กับ “ดินแดน” ในกัมพูชาและลาว และหนังสือวิชาการที่ให้เห็นพัฒนาการรัฐชาติไทย เรื่อง "วาทกรรมเสียดินแดน" (2560)
ผลงานทางวิชาการ
รองศาสตราจารย์ ดร.ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต ตั้งแต่ปี 2562 (เป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักสูตรรัฐศาสตร์หรือการศึกษาค้นคว้าอิสระได้ตามหลักเกณฑ์) อดีตรองคณบดีฝ่ายวิชาการวิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต และผู้อำนวยการหลักสูตรปริญญาโท สาขาผู้นำทางสังคม ธุรกิจ และการเมือง (ระบบออนไลน์) ปี 2553
การทำงาน
อดีตประธานหลักสูตรรัฐศาสตร และรองคณบดีฝ่ายวิชาการ วิทยาลัยบริหารรัฐกิจและรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ปี 2554-2560
ด้านสังคมวิชาการ
กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ปี 2546-2561 กรรมการและเหรัญญิก ปี 2562-2563
การศึกษา
- 2527: รัฐศาสตรบัณฑิต (การเมืองการปกครอง) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- 2534: ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ประวัติศาสตร์) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- 2550: อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ประวัติศาสตร์) คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หัวข้อวิทยานิพนธ์
ประสบการณ์
- วิทยากรประจำรายการ ทุกวันเสาร์ 08.00-09.00 และ 22.00-23.00 สถานีวิทยุศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ย. 2555-ปัจจุบัน
- วิทยากรประจำรายการ ในรายการ ทุกวันจันทร์ 13.00-13.15 เดือนเว้นเดือน สถานีวิทยุศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ปี 2552-2553
- วิทยากรประจำรายการ สถานีวิทยุศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ปี 2538-2547
- วิทยากรรายการ ประจำสัปดาห์ ทุกพุธ สถานีวิทยุ ปี 2542-2543
- นักเขียนร่วมในคอลัมน์ นสพ.กรุงเทพธุรกิจ ปี 2546-2547
การสอน
คณะรัฐศาสตร์ หลักสูตรปริญญาตรี มหาวิทยาลัยรังสิต วิชาการเมืองไทยสมัยใหม่ POL103 วิชาอาเซียนในยุคโลกาภิวัตน์ POL364 วิชาสัมมนาการเมืองการปกครองไทย POL421 วิชาสัมมนาการเมืองการปกครองท้องถิ่นไทย POL441
หลักสูตรปริญญาโทรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต วิชาการวิจัย วิชาสัมมนาการเมืองการปกครองไทย วิชารัฐกับการพัฒนา
ภาควิชาสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
- วิชา (SOC 113)
- วิชาเศรษฐกิจการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (POL 235)
- วิชาวิวัฒนาการทางการเมืองไทย (SOC 107)
- วิชาสังคมกับเศรษฐกิจ (SOC 104)
- วิชาระบบการเมืองเปรียบเทียบ (SOC 105)
- และ ฯลฯ
อาจารย์พิเศษ
- วิชาประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจไทยร่วมสมัย
- วิชาประวัติศาสตร์: การเข้าสู่รัฐประชาชาติจนถึงปัจจุบัน
- วิชาพื้นฐานทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรมไทย (อศ.212)
โครงการอบรมมัคคุเทศก์
- โครงการอบรมมัคคุเทศก์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตั้งแต่ปี 2537 ถึง 2549
ผลงานวิชาการและอื่น ๆ
งานศึกษาวิจัย
- “แนวความคิดทางการเมืองและเศรษฐกิจไทยของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช สมัยเป็นนายกรัฐมนตรี” ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (อนุมัติเผยแพร่ 2544)
- ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช นายกรัฐมนตรี กรุงเทพฯ: มติชน-ศิลปวัฒนธรรมฉบับพิเศษ, 2546. (หนังสือจากงานวิจัยข้างต้น)
- “บทที่ 11: สมัยรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร หลังการเลือกตั้ง พ.ศ. 2512 ถึงเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 (8 มีนาคม พ.ศ. 2512 ถึง 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516” ใน และคณะ รายงานผลการวิจัยเรื่อง “พัฒนาการระบบคณะรัฐมนตรีไทย หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 – 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519.” เอกสารโรเนียวเย็บเล่ม. สำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, 2549 หน้า 480-544 (13 บท 595 หน้า)
หนังสือวิชาการ
- 2475 และ 1 ปีหลังการปฏิวัติ</ref>[1] 2012-03-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2544. (จากวิทยานิพนธ์ปริญญาโท สาขาประวัติศาสตร์ เรื่อง “รัฐประหาร 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476” ได้รับรางวัลชมเชยจากการประกวดวิทยานิพนธ์ยอดเยี่ยมของ พ.ศ. 2534) และพิมพ์ครั้งใหม่ใน ปฏิวัติ 2475 (กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2547) (พิมพ์ครั้งที่ 2, 2552)
- “ข้ออ้าง” การปฏิวัติ-รัฐประหาร-กบฏ ในการเมืองไทยปัจจุบัน: บทวิเคราะห์และเอกสาร. (กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2550)
- ธรรมศาสตร์การเมืองไทย : จากปฏิวัติ 2475 ถึง 14 ตุลาคม 2516 – 6 ตุลาคม 2519. (กรุงเทพฯ : มติชน-ศิลปวัฒนธรรมฉบับพิเศษ, 2547)
- สยามประเทศไทย กับ “ดินแดน” ในกัมพูชาและลาว. (กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2552).
หนังสือสารคดีวิชาการ
- ธรรมศาสตร์ Guidebook (ร่วมกับ ) (กรุงเทพฯ: คณะกรรมการ, 2552)
งานแปล
- การเมืองระบบพ่อขุนอุปถัมภ์แบบเผด็จการ. ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 3 แปลจาก Thak Chaloemtiarana. Thailand: The Politics of Despotic Paternalism. ร่วมแปลกับ พรรณี ฉัตรพลรักษ์ และ ม.ร.ว.ประกายทอง สิริสุข (กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2552), (ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 3, 2548)
ผลงานวิชาการที่ตีพิมพ์แล้ว
- “การเมืองไทยในระบบสภาผู้แทนราษฎร : การเลือกตั้งครั้งแรก พ.ศ. 2476.” ใน ศิลปวัฒนธรรม 9 : 8 (มิถุนายน 2531), หน้า 62-85. และ 9 : 9 (กรกฎาคม 2531), หน้า 68-76.
- “การเรียกร้องดินแดน พ.ศ. 2483 : พิจารณาปัจจัยภายในเชิงคำอธิบาย.” ใน สมุดสังคมศาสตร์ (วารสารของสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย) 12 : 3-4 (กุมภาพันธ์-กรกฎาคม 2533), หน้า 23-83.
- “1 ปีหลังการปฏิวัติ 2475.” ใน รัฐศาสตร์สาร (วารสารคณะรัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์) 17 : 2 (2535), หน้า 1-66
- “ประวัติจอมพล ป. พิบูลสงคราม” ใน จอมพล ป. พิบูลสงคราม กับการเมืองไทยสมัยใหม่. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2540, หน้า (16) - (35)
- “เรื่องชื่อ “ประเทศไทย” : วิวัฒนาการทางการเมืองไทย.” ใน วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (คณะศิลปศาสตร์ ม.รังสิต) 1 : 3 (กันยายน-ธันวาคม 2543), หน้า 43-55
- “ทองเปลว ชลภูมิ์ : ชีวิตและงาน.” ใน ปรีดี พนมยงค์ และ 4 รัฐมนตรีอีสาน+1 กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ร่วมกับ หอจดหมายเหตุ
ธรรมศาสตร์, 2544, หน้า 256-306
- “ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช กับการเมืองไทย.” ใน วารสารรวมบทความประวัติศาสตร์ (สมาคมประวัติศาสตร์) ฉบับปีที่ 23 พ.ศ. 2544, หน้า 62-117
- “แนวความคิดทางการเมืองและเศรษฐกิจไทยของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช สมัยเป็นนายกรัฐมนตรี.” ใน วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (คณะศิลปศาสตร์ ม.รังสิต) 3 : 6 (มกราคม-เมษายน 2545), หน้า 80-99
- “10 ธันวาคม วันพระราชทานรัฐธรรมนูญ หรือ วันรัฐธรรมนูญ?” ใน ชาญวิทย์ เกษตรศิริ บรรณาธิการ, ธรรมศาสตร์และการเมืองเรื่องพื้นที่ : สู่ทศวรรษที่ 7 ปฏิวัติ 2475 / สถาปนา มธก. 2477. (กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2548), หน้า 89-113.
- “14 ตุลา “วันประชาธิปไตย” กับปัญหาเมื่อวาระครบรอบ 30 ปี.” ใน ชาญวิทย์ เกษตรศิริ, 3ทศวรรษ 14 ตุลา กับประชาธิปไตยไทย. (กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2547), หน้า 131-143.
- “เดินประชาธิปไตย : จากหมุด 2475 ลานพระบรมรูปทรงม้า – อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ถึงลานโพธิ์ ธรรมศาสตร์.” ใน รัฐสภาสัญจร : เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา มหาราชินี (กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2547), หน้า 1-12
- “รัชกาลที่ 5 กับฝรั่งเศสและกัมพูชา” ใน ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และ อรอนงค์ ทิพย์พิมล, รัชกาลที่ 5: สยามกับอุษาคเนย์และชมพูทวีป. (กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ และมูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย, 2547), หน้า 433-492
- "“จอมพล ป. พิบูลสงคราม กับการ ‘ส้างวัธนธัมไทยใหม่’.” ใน สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ. บรรณาธิการ.
สายธารแห่งอดีต. กรุงเทพฯ: ภาควิชาปรวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณืมหาวิทยาลัย, 2549, หน้า 265-317
เอกสารวิชาการนำเสนอในที่ประชุมสัมมนา
- “คดีกบฏ พ.ศ. 2482: บทสรุปของการต่อสู้ทางการเมืองหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง” เอกสารประกอบการเสวนาทางวิชาการเรื่อง “50 ปี อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : ทบทวนประวัติศาสตร์คณะราษฎร” จัดโดยมูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2532 ณ ห้องประชุมชั้น 7 อาคารอเนกประสงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- “1 เมษายน 2476 : รัฐประหารครั้งแรกของไทย” การสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “ภาษากับประวัติศาสตร์ไทยและความเคลื่อนไหวในวิชาประวัติศาสตร์ไทย” จัดโดย โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ร่วมกับ สมาคมประวัติศาสตร์ ณ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า นครนายก วันที่ 16-18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2533
- "“กัมพูชาในกระแสการเปลี่ยนแปลง: การเมืองและเศรษฐกิจระหว่างปี 1990-2000” ในการประชุมวิชาการอินโดจีนศึกษาครั้งที่ 1 เรื่อง “อินโดจีนในกระแสการเปลี่ยนแปลง” จัดโดย ศูนย์วิจัยสังคมอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันที่ 29-30 พฤศจิกายน 2544, 14 หน้า
- “รัชกาลที่ 5 กับฝรั่งเศสและกัมพูชา” ในการสัมมนาเรื่อง “รัชกาลที่ 5 : สยามกับอุษาคเนย์และชมพูทวีป” (การสัมมนาวิชากาเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสที่วันพระบรมราชสมภพครบ 150 ปี) วันที่ 20 พฤศจิกายน 2546 ณ ศูนย์ประชุมมานุษยวิทยาสิรินธร จัดโดย มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย บริษัทโตโยต้ามอเตอร์ประเทศไทย และศูนย์ประชุมมานุษยวิทยาสิรินธร, 34 หน้า
อ้างอิง
- (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-03-08. สืบค้นเมื่อ 2012-02-24.
- จากปฏิวัติ 2475 ถึง 14 ตุลาคม 2516 – 6 ตุลาคม 2519[]
- สยามประเทศไทย กับ “ดินแดน” ในกัมพูชาและลาว
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamchiwprawtiniekhiynehmuxnprawtismkhrngankrunachwyprbprungodykarprbaekihmilksnaepnklangaelaepnsaranukrmmakkhun rxngsastracary dr tharngskdi ephchrelisxnnt ekid 1 krkdakhm ph s 2507 xacarypracakhnarthsastr mhawithyalyrngsit aela xacaryphurbphidchxbhlksutrrthsastrmhabnthit tngaetpi 2562 mhawithyalyrngsit epnsisyekasakhawichakaremuxngkarpkkhrxng khnarthsastr mhawithyalythrrmsastr pikarsuksa 2524 2527 singhaedng 33 hlngcaknnsuksatxpriyyaothinsakhawichaprawtisastr thikhnasilpsastr mhawithyalythrrmsastr pi 2530 2534 aelapriyyaexk sakhawichaprawtisastr khnaxksrsastr culalngkrnmhawithyaly pi 2546 2550 rxngsastracary tharngskdi ephchrelisxnntekidtharngskdi ephchrelisxnnt 1 krkdakhm ph s 2507 59 pi xaephxcxmphra cnghwdsurinthr praethsithy etibotthinkhrpthmsisyekamhawithyalythrrmsastrxachiphnkwichakarmichuxesiyngcakwicarnkaremuxngprawtitharngskdi ephchrelisxnnt miphlnganwithyaniphnthdanprawtisastrkaremuxngthisakhykhuxeruxng rthprahar 20 mithunayn ph s 2476 sungtxmacacdphimphinchux xnsrangxngkhkhwamruihmekiywkbkar aelakarlmlngkhxngrabxbsmburnayasiththirachy thngyngesnxihehnthungkartxsuthangkaremuxngrahwangrabxbekaaelarabxbihminchwng 1 pihlngkarptiwtithidaeninipxyangsbsxn aelayngaesdngihehnwa karrthpraharkhrngaerkinkaremuxngithyphayitrabxbprachathipity kkhux odynaykrthmntriphleruxnkhnaerkkhxngithy phrayamonpkrnnitithada phlnganwichakartx ma yngkhngepnkarsuksakaremuxngithy thiennsuksaphanphunathangkaremuxngithy echn cxmphl p phibulsngkhram naypridi phnmyngkh m r w khukvththi praomch cxmphlsvsdi thnarcht cxmphlthnxm kittikhcr l sungphunathharkaremuxngkhnthaysudni idklayepnwithyaniphnthpriyyaexkinchux bthbaththangkaremuxngkhxngcxmphlthnxm kittikhcr ph s 2506 2516 thiennsuksakrabwnkarkhunsuxanac karrksaxanacodywithikartang aelakarcbcakxanackhxngphunathharkhnniinehtukarn 14 tulakhm 2516 tharngskdi ephchrelisxnnt inthanasisyekadanrthsastraelaprawtisastr idrbrangwlolekiyrtiyspraephthphuthakhunpraoychnihkbmhawithyalythrrmsastrpracapi 2554 khrbrxb 77 pi phlngankhxngtharngskdiyngaesdngkhwamphukphnthangdanwichakaraelakhwamthrngcatxthrrmsastr phanngansakhy khux thrrmsastrkaremuxngithy cakptiwti 2475 thung 14 tulakhm 2516 6 tulakhm 2519 aela thrrmsastr Guidebook sungimephiyngcachwyihekhaickaenidaelaphthnakarkhxngthrrmsastridxyangkwangkhwangethann hakyngchwyihekhaicsngkhmkaremuxngithyidxyangkrachbxikdwy thngyngmibthbathepnhnunginkhnakhxngxacarychaywithy ekstrsiri thisrangaelaphthna thrrmsastr TU Walking Tour ihepnekhruxngmuxinkarephyaephreruxngrawthrrmsastrkbkaremuxngithyihkbnksuksaaelabukhkhlthwip phanwithikardankarthxngethiyw inthamklangwikvtthangkaremuxngkhxngkhwamsmphnthrahwangithykbkmphuchainchwngtnthswrrs 2550 phlngankhxngtharngskdithiidsuksamaxyangyawnanraw 2 thswrrs kidchwykratunetuxnihsngkhmithyphicarnapyhaniihthxngaethrxbdanaelarxbkhxbmakyingkhun caknganthirwmphimphepnelminplaypi 2552 inchux syampraethsithy kb dinaedn inkmphuchaaelalaw aelahnngsuxwichakarthiihehnphthnakarrthchatiithy eruxng wathkrrmesiydinaedn 2560 phlnganthangwichakarrxngsastracary dr tharngskdi ephchrelisxnnt xacaryphurbphidchxbhlksutrrthsastrmhabnthit tngaetpi 2562 epnthipruksawithyaniphnthhlksutrrthsastrhruxkarsuksakhnkhwaxisraidtamhlkeknth xditrxngkhnbdifaywichakarwithyalynwtkrrmsngkhm mhawithyalyrngsit aelaphuxanwykarhlksutrpriyyaoth sakhaphunathangsngkhm thurkic aelakaremuxng rabbxxniln pi 2553 karthangan xditprathanhlksutrrthsastr aelarxngkhnbdifaywichakar withyalybriharrthkicaelarthsastr mhawithyalyrngsit pi 2554 2560 dansngkhmwichakar krrmkaraelaphuchwyelkhanukar pi 2546 2561 krrmkaraelaehryyik pi 2562 2563karsuksa2527 rthsastrbnthit karemuxngkarpkkhrxng mhawithyalythrrmsastr 2534 silpsastrmhabnthit prawtisastr mhawithyalythrrmsastr 2550 xksrsastrdusdibnthit prawtisastr khnaxksrsastr culalngkrnmhawithyaly hwkhxwithyaniphnthprasbkarnwithyakrpracaraykar thukwnesar 08 00 09 00 aela 22 00 23 00 sthaniwithyusuksa krathrwngsuksathikar ph y 2555 pccubn withyakrpracaraykar inraykar thukwncnthr 13 00 13 15 eduxnewneduxn sthaniwithyusuksa krathrwngsuksathikar pi 2552 2553 withyakrpracaraykar sthaniwithyusuksa krathrwngsuksathikar pi 2538 2547 withyakrraykar pracaspdah thukphuth sthaniwithyu pi 2542 2543 nkekhiynrwminkhxlmn nsph krungethphthurkic pi 2546 2547karsxnkhnarthsastr hlksutrpriyyatri mhawithyalyrngsit wichakaremuxngithysmyihm POL103 wichaxaesiyninyukholkaphiwtn POL364 wichasmmnakaremuxngkarpkkhrxngithy POL421 wichasmmnakaremuxngkarpkkhrxngthxngthinithy POL441 hlksutrpriyyaothrthsastr mhawithyalyrngsit wichakarwicy wichasmmnakaremuxngkarpkkhrxngithy wicharthkbkarphthna phakhwichasngkhmsastr mhawithyalyrngsit wicha SOC 113 wichaesrsthkickaremuxnginexechiytawnxxkechiyngit POL 235 wichawiwthnakarthangkaremuxngithy SOC 107 wichasngkhmkbesrsthkic SOC 104 wicharabbkaremuxngepriybethiyb SOC 105 aela lxacaryphiess khnasilpsastr mhawithyalythrrmsastr wichaprawtisastrkaremuxngaelaesrsthkicithyrwmsmy wichaprawtisastr karekhasurthprachachaticnthungpccubn wichaphunthanthangsngkhm esrsthkic karemuxng aelawthnthrrmithy xs 212 okhrngkarxbrmmkhkhuethsk okhrngkarxbrmmkhkhuethsk mhawithyalythrrmsastr tngaetpi 2537 thung 2549phlnganwichakaraelaxun ngansuksawicy aenwkhwamkhidthangkaremuxngaelaesrsthkicithykhxng m r w khukvththi praomch smyepnnaykrthmntri idrbthunsnbsnunkarwicycakkhnakrrmkarwicyaehngchati xnumtiephyaephr 2544 m r w khukvththi praomch naykrthmntri krungethph mtichn silpwthnthrrmchbbphiess 2546 hnngsuxcaknganwicykhangtn bththi 11 smyrthbalcxmphlthnxm kittikhcr hlngkareluxktng ph s 2512 thungehtukarn 14 tulakhm ph s 2516 8 minakhm ph s 2512 thung 14 tulakhm ph s 2516 in aelakhna raynganphlkarwicyeruxng phthnakarrabbkhnarthmntriithy hlngkarepliynaeplngkarpkkhrxng wnthi 24 mithunayn ph s 2475 6 tulakhm ph s 2519 exksaroreniyweybelm sanknganelkhathikarkhnarthmntri 2549 hna 480 544 13 bth 595 hna hnngsuxwichakar 2475 aela 1 pihlngkarptiwti lt ref gt 1 2012 03 08 thi ewyaebkaemchchin krungethph sthabnexechiysuksa culalngkrnmhawithyaly rwmkb mulnithiokhrngkartarasngkhmsastraelamnusysastr 2544 cakwithyaniphnthpriyyaoth sakhaprawtisastr eruxng rthprahar 20 mithunayn ph s 2476 idrbrangwlchmechycakkarprakwdwithyaniphnthyxdeyiymkhxng ph s 2534 aelaphimphkhrngihmin ptiwti 2475 krungethph mulnithiokhrngkartarasngkhmsastraelamnusysastr 2547 phimphkhrngthi 2 2552 khxxang karptiwti rthprahar kbt inkaremuxngithypccubn bthwiekhraahaelaexksar krungethph mulnithiokhrngkartarasngkhmsastraelamnusysastr 2550 thrrmsastrkaremuxngithy cakptiwti 2475 thung 14 tulakhm 2516 6 tulakhm 2519 krungethph mtichn silpwthnthrrmchbbphiess 2547 syampraethsithy kb dinaedn inkmphuchaaelalaw krungethph mulnithiokhrngkartarasngkhmsastraelamnusysastr 2552 hnngsuxsarkhdiwichakar thrrmsastr Guidebook rwmkb krungethph khnakrrmkar 2552 nganaepl karemuxngrabbphxkhunxupthmphaebbephdckar chbbphimphkhrngthi 3 aeplcak Thak Chaloemtiarana Thailand The Politics of Despotic Paternalism rwmaeplkb phrrni chtrphlrks aela m r w prakaythxng sirisukh krungethph mulnithiokhrngkartarasngkhmsastraelamnusysastr 2552 chbbphimphkhrngthi 3 2548 phlnganwichakarthitiphimphaelw karemuxngithyinrabbsphaphuaethnrasdr kareluxktngkhrngaerk ph s 2476 in silpwthnthrrm 9 8 mithunayn 2531 hna 62 85 aela 9 9 krkdakhm 2531 hna 68 76 kareriykrxngdinaedn ph s 2483 phicarnapccyphayinechingkhaxthibay in smudsngkhmsastr warsarkhxngsmakhmsngkhmsastraehngpraethsithy 12 3 4 kumphaphnth krkdakhm 2533 hna 23 83 1 pihlngkarptiwti 2475 in rthsastrsar warsarkhnarthsastr m thrrmsastr 17 2 2535 hna 1 66 prawticxmphl p phibulsngkhram in cxmphl p phibulsngkhram kbkaremuxngithysmyihm krungethph mulnithiokhrngkartarasngkhmsastraelamnusysastr 2540 hna 16 35 eruxngchux praethsithy wiwthnakarthangkaremuxngithy in warsarmnusysastraelasngkhmsastr khnasilpsastr m rngsit 1 3 knyayn thnwakhm 2543 hna 43 55 thxngeplw chlphumi chiwitaelangan in pridi phnmyngkh aela 4 rthmntrixisan 1 krungethph mulnithiokhrngkartarasngkhmsastraelamnusysastr rwmkb hxcdhmayehtu thrrmsastr 2544 hna 256 306 m r w khukvththi praomch kbkaremuxngithy in warsarrwmbthkhwamprawtisastr smakhmprawtisastr chbbpithi 23 ph s 2544 hna 62 117 aenwkhwamkhidthangkaremuxngaelaesrsthkicithykhxng m r w khukvththi praomch smyepnnaykrthmntri in warsarmnusysastraelasngkhmsastr khnasilpsastr m rngsit 3 6 mkrakhm emsayn 2545 hna 80 99 10 thnwakhm wnphrarachthanrththrrmnuy hrux wnrththrrmnuy in chaywithy ekstrsiri brrnathikar thrrmsastraelakaremuxngeruxngphunthi suthswrrsthi 7 ptiwti 2475 sthapna mthk 2477 krungethph mulnithiokhrngkartarasngkhmsastraelamnusysastr 2548 hna 89 113 14 tula wnprachathipity kbpyhaemuxwarakhrbrxb 30 pi in chaywithy ekstrsiri 3thswrrs 14 tula kbprachathipityithy krungethph mulnithiokhrngkartarasngkhmsastraelamnusysastr 2547 hna 131 143 edinprachathipity cakhmud 2475 lanphrabrmrupthrngma xnusawriyprachathipity thunglanophthi thrrmsastr in rthsphasycr echlimphraekiyrti 72 phrrsa mharachini krungethph sanknganelkhathikarsphaphuaethnrasdr 2547 hna 1 12 rchkalthi 5 kbfrngessaelakmphucha in chaywithy ekstrsiri aela xrxnngkh thiphyphiml rchkalthi 5 syamkbxusakhenyaelachmphuthwip krungethph mulnithiokhrngkartarasngkhmsastraelamnusysastr aelamulnithiotoytapraethsithy 2547 hna 433 492 cxmphl p phibulsngkhram kbkar sangwthnthmithyihm in suthachy yimpraesrith brrnathikar saytharaehngxdit krungethph phakhwichaprwtisastr khnaxksrsastr culalngkrnumhawithyaly 2549 hna 265 317 exksarwichakarnaesnxinthiprachumsmmna khdikbt ph s 2482 bthsrupkhxngkartxsuthangkaremuxnghlngkarepliynaeplngkarpkkhrxng exksarprakxbkareswnathangwichakareruxng 50 pi xnusawriyprachathipity thbthwnprawtisastrkhnarasdr cdodymulnithiokhrngkartarasngkhmsastraelamnusysastr emuxwnthi 7 krkdakhm ph s 2532 n hxngprachumchn 7 xakharxenkprasngkh mhawithyalythrrmsastr 1 emsayn 2476 rthpraharkhrngaerkkhxngithy karsmmnathangwichakareruxng phasakbprawtisastrithyaelakhwamekhluxnihwinwichaprawtisastrithy cdody orngeriynnayrxyphraculcxmekla rwmkb smakhmprawtisastr n orngeriynnayrxyphraculcxmekla nkhrnayk wnthi 16 18 kumphaphnth ph s 2533 kmphuchainkraaeskarepliynaeplng karemuxngaelaesrsthkicrahwangpi 1990 2000 inkarprachumwichakarxinodcinsuksakhrngthi 1 eruxng xinodcininkraaeskarepliynaeplng cdody sunywicysngkhmxnuphumiphakhlumnaokhng khnasilpsastr mhawithyalyxublrachthani wnthi 29 30 phvscikayn 2544 14 hna rchkalthi 5 kbfrngessaelakmphucha inkarsmmnaeruxng rchkalthi 5 syamkbxusakhenyaelachmphuthwip karsmmnawichakaechlimphraekiyrtiphrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhw enuxnginoxkasthiwnphrabrmrachsmphphkhrb 150 pi wnthi 20 phvscikayn 2546 n sunyprachummanusywithyasirinthr cdody mulnithiokhrngkartarasngkhmsastraelamnusysastr mulnithiotoytapraethsithy bristhotoytamxetxrpraethsithy aelasunyprachummanusywithyasirinthr 34 hnaxangxing PDF khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2012 03 08 subkhnemux 2012 02 24 cakptiwti 2475 thung 14 tulakhm 2516 6 tulakhm 2519 lingkesiy syampraethsithy kb dinaedn inkmphuchaaelalaw