ไรซ์เบอร์รี บางแห่งสะกด ไรซ์เบอร์รี่ (อังกฤษ: Riceberry; ชื่อวิทยาศาสตร์: Oryza sativa) เป็นข้าวที่เกิดจากการผสมข้ามพันธุ์ระหว่างข้าวเจ้าหอมนิลและข้าวขาวดอกมะลิ มีลักษณะเป็นข้าวเจ้าสีม่วงเข้ม เมล็ดเรียวยาว ผิวมันวาว มีกลิ่นหอมเป็นเอกลักษณ์ มีรสชาติหวาน
ประวัติ
การคัดเลือกและพัฒนาพันธุ์ โดยการผสมข้ามพันธุ์ระหว่าง ข้าวเจ้าหอมนิล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (พันธุ์พ่อ) กับ ข้าวขาวดอกมะลิ 105(ข้าวหอมมะลิ) จากสถาบันวิจัยข้าว (พันธุ์แม่) โดยเริ่มผสมพันธุ์เมื่อปี พ.ศ. 2545 ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์ข้าวมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จ. นครปฐม เมื่อได้ลูกผสม F1 ปล่อยให้มีการผสมตัวเอง แล้วเก็บเมล็ด F2 มาปลูกต่อซึ่งมีจำนวนมากกว่า 10,000 ต้น คัดเลือกต้น F2 จากการสังเกตลักษณะทรงต้นที่ให้ผลผลิตดี, การติดเมล็ดดี, รูปร่างเมล็ดเรียวยาว จากนั้นประเมินคุณภาพเมล็ดโดยกระเทาะเมล็ดแล้วสังเกตความสม่ำเสมอ สังเกตความใส-ขุ่นของเมล็ด การแตกหักจากการสี แล้วจึงคัดเลือก F3 family เพื่อปลูกและคัดเลือกครอบครัวที่มีต้น ที่ให้ผลผลิตสูง ติดเมล็ดดี ขนาดเมล็ดใหญ่ ยาวเรียว, ไม่เป็นโรคไหม้คอรวง, เปลือกเมล็ดสะอาด, คัดเลือกสายพันธุ์ที่มีเมล็ดข้าวกล้องสีม่วงเข้ม-ดำ, น้ำหนักเมล็ดต่อครอบครัวดี แล้วคัดเลือกภายในครอบครัวให้ได้จำนวนประมาณ 2-5 ต้นในปี 2546 และทำเช่นนี้อีกในรุ่น F4 และ F5 ในปี 2547 จากนั้นเปรียบเทียบผลผลิตในรุ่น F6 และ F7 ในปี 2548 โดยเลือกครอบครัว F6 จำนวน 96 ครอบครัว ปลูกแบบปักดำจำนวน 25 ต้น/ครอบครัว ทำเป็น 3 ซ้ำ เพื่อเปรียบเทียบผลผลิต ลักษณะที่แสดงออก, ปริมาณธาตุเหล็กและปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระชนิดต่าง ๆ แล้วคัดเลือกต้นดีเด่นภายในครอบครัวแล้ว bulk ให้ครอบครัว F7 เพื่อปลูกเปรียบเทียบผลผลิตเป็นครั้งที่ 2 และวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการซ้ำอีกครั้งหนึ่ง ทำให้ค้นพบข้าวเจ้าสีม่วงเข้ม เมล็ดเรียวยาว ที่มีสารต้านอนุมูลอิสระสูงและมีคุณค่าทางโภชนาการโดยรวมดีเด่น 1 สายพันธุ์ในปี พ.ศ. 2548 โดยให้ชื่อพันธุ์ว่า ไรซ์เบอร์รี
การปรับปรุงพันธุ์ข้าวโภชนาการสูง จนเป็นที่มาของการค้นพบข้าวไรซ์เบอร์รี ได้เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปี 2547-2554 ภายใต้โครงการบูรณาการเทคโนโลยีชีวภาพในการสร้างพันธุ์ข้าวเพื่อเพิ่มมูลค่าและคุณค่าสูงที่ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ โดยศูนย์วิทยาศาสตร์ข้าว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ได้ร่วมทำวิจัยกับสถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักงานวิจัยคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในการศึกษาเชิงโภชนาการบำบัดของผลิตภัณฑ์ข้าวโภชนาการสูงอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ หลังจากได้พันธุ์ข้าวแล้ว สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ได้สนับสนุน โครงงานวิจัย “ธัญโอสถ” ตราเครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์จากข้าวโภชนาการสูง โดยมีเป้าหมายเพื่อสร้างความเด่นชัดให้กับข้าวไรซ์เบอร์รี ด้วยการพัฒนาเครื่องหมายคุณภาพที่เริ่มตั้งแต่การผลิตข้าวเปลือกจากแปลงเกษตรกรจนถึงข้าวถุงที่จะส่งถึงมือผู้บริโภคตลอดจนคุณภาพวัตถุดิบเช่นน้ำมันรำข้าวบีบเย็น และกากรำข้าวบีบปราศจากน้ำมัน ที่เกิดจากข้าวโภชนาการสูง ต่อมาได้มี โครงการส่งเสริมการปลูกข้าวไรซ์เบอร์รีอินทรีย์ ภายใต้ชื่อ “ธุรกิจเชิงสังคมข้าวไรซ์เบอร์รีอินทรีย์แบบครบวงจร ระหว่างมูลนิธิเพื่อนพึ่ง (ภา), มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ (ธกส.)
คุณค่าทางโภชนาการต่อ 100 กรัม (3.5 ออนซ์) | |
---|---|
พลังงาน | 1,631.76 กิโลจูล (390.00 กิโลแคลอรี) |
80 g | |
น้ำตาล | 0 g |
ใยอาหาร | 4 g |
4 g | |
อิ่มตัว | 0 g |
8 g | |
วิตามิน | |
วิตามินเอ | (1%) 63 μg |
โฟเลต (บี9) | (12%) 48 μg |
วิตามินอี | (5%) 0.68 มก. |
แร่ธาตุ | |
เหล็ก | (14%) 1.8 มก. |
โซเดียม | (3%) 50 มก. |
สังกะสี | (34%) 3.2 มก. |
ประมาณร้อยละคร่าว ๆ โดยใช้การแนะนำของสหรัฐสำหรับผู้ใหญ่ |
ลักษณะประจำพันธุ์
ความสูง | 105-110 ซ.ม. |
ความยาวของเมล็ด | 7.2 |
สัดส่วนความยาว/ความกว้าง | เรียว (>3.0) |
สีของรำข้าว | ม่วงเข้ม |
% การขัดสี | 50 |
ผลผลิต (กก./ไร่) | 700-800 |
อายุเก็บเกี่ยว | 130 |
Amylose content (%) | 15.6 |
อุณภูมิแป้งสุก(องศาเซลเซียส) | < 70 |
คุณค่าทางโภชนาการในข้าวไรซ์เบอร์รี
คุณค่าทางโภชนาการ ในรำข้าวไรซ์เบอร์รีมีแอนโทไซยานิน(Anthocyanin) ในระดับความเข้มข้น 15.7 มก./100กรัม รำข้าวไรซ์เบอร์รี มีค่า ORAC ถึง 400 Trolox eq./g งานวิจัยล่าสุดพบว่าในรำข้าวไรซ์เบอร์รี มีสารออกฤทธิ์ต้านเซลล์มะเร็ง Lupeol และสารอื่น ๆ ที่กำลังอยู่ในระหว่างการสกัด นับเป็นครั้งแรกที่มีรายงานการค้นพบ Lupeol ในข้าว ในส่วนของน้ำมันรำข้าวบีบเย็น เมื่อเทียบกับน้ำมันงาแบบหีบเย็น มี beta-carotene อยู่ถึง 23 µg/g และ lutein 14-15µg/g (ไม่มีในน้ำมันงา) พร้อมทั้ง gamma-oryzanol 135 µg/g โดยมีค่า ORAC อยู่ที่ 215 µmol Trolox/g จากการทดสอบคุณสมบัติของสารสกัดจากรำข้าวไรซ์เบอร์รี ในการต่อต้านเซลล์มะเร็ง 3 ชนิด คือเซลล์มะเร็งลำไส้ใหญ่ (Caco-2) เซลล์มะเร็งเต้านม (MCF-7) และเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาว (HL-60) พบว่า สารสกัด ทั้งชนิดไม่สกัดน้ำมันออก (DCM fraction) และชนิดที่สกัดน้ำมันออกไปบ้าง (MeOH fraction) ให้ผลยับยั้งเซลล์มะเร็งทั้ง 3 ชนิดได้อย่างมีนัยสำคัญ โดยเฉพาะสารสกัดจาก DCM fraction ให้ผลที่ดีกว่าสารสกัดจาก MeOH fraction และเซลล์มะเร็งในเม็ดเลือดขาว มีความไวต่อการถูกชักนำให้เกิดการตาย ภายหลังการได้รับสารสกัดได้เร็วที่สุด ข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า รำข้าวไรซ์เบอร์รีเป็นแหล่งของสารออกฤทธิ์ต้านมะเร็ง
อ้างอิง
- MGR Online (2016-01-19). "ข้าวไรซ์เบอร์รี สีสันแปลกใหม่ แต่มีประโยชน์สูง!!". mgronline.com.
- หลุมดำผู้ดูดกลืน (2023-10-20). "10 ข้าวไรซ์เบอร์รี ยี่ห้อไหนดี ช่วยคุมน้ำหนัก คุณประโยชน์เพียบ". www.wongnai.com.
- Praima S. (2023-05-17). "ประโยชน์ข้าวไรซ์เบอร์รี่ ดีต่อสุขภาพอย่างไร". th-hellomagazine.com.
- ข้าวไรซ์เบอร์รี, ศูนย์วิทยาศาสตร์ข้าว https://dna.kps.ku.ac.th/index.php/research-develop/rice-breeding-lab/riceberry-variety
- อภิชาติ วรรณวิจิตร, พรรัตน์สินชัยพานิช, สุกัญญา วงศ์พรชัย, รัชนี คงคาฉุยฉาย, ประไพศรี ศิริจักรวาล, ศรีวัฒนา ทรงจิตสมบูรณ์ และวิจิตราเลิศกมลกาญจน์. รายงานการวิจัย โครงการบูรณาการ เทคโนโลยีชีวภาพในการสร้างพันธุ์ข้าวเพื่อเพิ่มมูลค่าและคุณค่าสูง ปีงบประมาณ 2551. สำนักงาน คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
- ชเนษฎ์ ม้าลำพอง,อาณัติ สุขีวงศ์, ศิริพัฒน์ เรืองพยัคฆ์, ดนุพล เจกบุตร, สุริยะ ผึ้งบำรุง, ผดุงเกียรติ อุ่นสุวรรณ, มหาราช คุณาวุฒินันท์, สุมน ห้อยมาลา และ อภิชาติ วรรณวิจิตร“ธัญโอสถ” ตราเครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์จากข้าวโภชนาการสูง. ศูนย์วิทยาศาสตร์ข้าว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีงบประมาณ 2553. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
- รัชนี คงคาฉุยฉายและคณะ. 2553. รายงานการวิจัย โครงการบูรณาการเทคโนโลยีชีวภาพในการสร้างพันธุ์ข้าวเพื่อเพิ่มมูลค่าและคุณค่าสูง: โครงการวิจัยย่อยที่ 4: การศึกษาคุณค่าทางโภชนาการเบื้องต้น และการประเมินความเป็นประโยชน์ของธาตุเหล็กจากข้าวในระดับเซลล์. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
- Leardkamolkarn V, Thongthep W, Suttiarporn P, Kongkachuichai R, Wongpornchai S, Vanavichit A. 2011. Chemopreventive properties of the bran extracted from a newly-developed Thai rice: The Riceberry. Food Chem. 125 (3): 978-985.
- Prangthip, P., Surasiang, R., Charoensiri, R., Leardkamolkarn, V., Komindr, S., Yamborisut, U., Vanavichit, A., Kongkachuichai, R. 2013. Amelioration of hyperglycemia, hyperlipidemia, oxidative stress and inflammation in steptozotocin-induced diabetic rats fed a high fat diet by riceberry supplement .Journal of Functional Foods. 5 (1):195-203.
- Kongkachuichai, R., Prangthip, P., Surasiang, R., Posuwan, J., Charoensiri, R., Kettawan, A., Vanavichit, A. 2013. Effect of Riceberry oil (deep purple oil; Oryza sativa Indica) supplementation on hyperglycemia and change in lipid profile in Streptozotocin (STZ)-induced diabetic rats fed a high fat diet. International Food Research Journal. 20 (2):873-882.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
irsebxrri bangaehngsakd irsebxrri xngkvs Riceberry chuxwithyasastr Oryza sativa epnkhawthiekidcakkarphsmkhamphnthurahwangkhawecahxmnilaelakhawkhawdxkmali milksnaepnkhawecasimwngekhm emlderiywyaw phiwmnwaw miklinhxmepnexklksn mirschatihwanrwngkhawirsebxrriprawtikarkhdeluxkaelaphthnaphnthu odykarphsmkhamphnthurahwang khawecahxmnil mhawithyalyekstrsastr phnthuphx kb khawkhawdxkmali 105 khawhxmmali caksthabnwicykhaw phnthuaem odyerimphsmphnthuemuxpi ph s 2545 n sunywithyasastrkhawmhawithyalyekstrsastr withyaekhtkaaephngaesn c nkhrpthm emuxidlukphsm F1 plxyihmikarphsmtwexng aelwekbemld F2 mapluktxsungmicanwnmakkwa 10 000 tn khdeluxktn F2 cakkarsngektlksnathrngtnthiihphlphlitdi kartidemlddi ruprangemlderiywyaw caknnpraeminkhunphaphemldodykraethaaemldaelwsngektkhwamsmaesmx sngektkhwamis khunkhxngemld karaetkhkcakkarsi aelwcungkhdeluxk F3 family ephuxplukaelakhdeluxkkhrxbkhrwthimitn thiihphlphlitsung tidemlddi khnademldihy yaweriyw imepnorkhihmkhxrwng epluxkemldsaxad khdeluxksayphnthuthimiemldkhawklxngsimwngekhm da nahnkemldtxkhrxbkhrwdi aelwkhdeluxkphayinkhrxbkhrwihidcanwnpraman 2 5 tninpi 2546 aelathaechnnixikinrun F4 aela F5 inpi 2547 caknnepriybethiybphlphlitinrun F6 aela F7 inpi 2548 odyeluxkkhrxbkhrw F6 canwn 96 khrxbkhrw plukaebbpkdacanwn 25 tn khrxbkhrw thaepn 3 sa ephuxepriybethiybphlphlit lksnathiaesdngxxk primanthatuehlkaelaprimansartanxnumulxisrachnidtang aelwkhdeluxktndiednphayinkhrxbkhrwaelw bulk ihkhrxbkhrw F7 ephuxplukepriybethiybphlphlitepnkhrngthi 2 aelawiekhraahkhunkhathangophchnakarsaxikkhrnghnung thaihkhnphbkhawecasimwngekhm emlderiywyaw thimisartanxnumulxisrasungaelamikhunkhathangophchnakarodyrwmdiedn 1 sayphnthuinpi ph s 2548 odyihchuxphnthuwa irsebxrri karprbprungphnthukhawophchnakarsung cnepnthimakhxngkarkhnphbkhawirsebxrri iderimdaeninkarmatngaetpi 2547 2554 phayitokhrngkarburnakarethkhonolyichiwphaphinkarsrangphnthukhawephuxephimmulkhaaelakhunkhasungthiidrbthunsnbsnunkarwicycak sankngankhnakrrmkarwicyaehngchati odysunywithyasastrkhaw mhawithyalyekstrsastr withyaekhtkaaephngaesn idrwmthawicykbsthabnwicyophchnakar mhawithyalymhidl sanknganwicykhnaaephthysastr orngphyabalramathibdi khnawithyasastr mhawithyalymhidl phakhwichaekhmi khnawithyasastr mhawithyalyechiyngihm inkarsuksaechingophchnakarbabdkhxngphlitphnthkhawophchnakarsungxyangepnwithyasastr hlngcakidphnthukhawaelw sankngankhnakrrmkarwicyaehngchati idsnbsnun okhrngnganwicy thyoxsth traekhruxnghmaymatrthanphlitphnthcakkhawophchnakarsung odymiepahmayephuxsrangkhwamednchdihkbkhawirsebxrri dwykarphthnaekhruxnghmaykhunphaphthierimtngaetkarphlitkhawepluxkcakaeplngekstrkrcnthungkhawthungthicasngthungmuxphubriophkhtlxdcnkhunphaphwtthudibechnnamnrakhawbibeyn aelakakrakhawbibprascaknamn thiekidcakkhawophchnakarsung txmaidmi okhrngkarsngesrimkarplukkhawirsebxrrixinthriy phayitchux thurkicechingsngkhmkhawirsebxrrixinthriyaebbkhrbwngcr rahwangmulnithiephuxnphung pha mhawithyalyekstrsastraelathnakharephuxkarekstraelashkrn thks Whole Grain RiceberryWhole Grain Riceberrykhunkhathangophchnakartx 100 krm 3 5 xxns phlngngan1 631 76 kiolcul 390 00 kiolaekhlxri kharobihedrt80 gnatal0 giyxahar4 gikhmn4 gximtw0 goprtin8 gwitaminwitaminexbita aekhorthin 1 63 mgofelt bi9 12 48 mgwitaminxi 5 0 68 mk aerthatuehlk 14 1 8 mk osediym 3 50 mk sngkasi 34 3 2 mk hnwy mg imokhrkrm mg millikrm IU hnwysaklpramanrxylakhraw odyichkaraenanakhxngshrthsahrbphuihylksnapracaphnthukhwamsung 105 110 s m khwamyawkhxngemld 7 2sdswnkhwamyaw khwamkwang eriyw gt 3 0 sikhxngrakhaw mwngekhm karkhdsi 50phlphlit kk ir 700 800xayuekbekiyw 130Amylose content 15 6xunphumiaepngsuk xngsaeslesiys lt 70khunkhathangophchnakarinkhawirsebxrrikhunkhathangophchnakar inrakhawirsebxrrimiaexnothisyanin Anthocyanin inradbkhwamekhmkhn 15 7 mk 100krm rakhawirsebxrri mikha ORAC thung 400 Trolox eq g nganwicylasudphbwainrakhawirsebxrri misarxxkvththitanesllmaerng Lupeol aelasarxun thikalngxyuinrahwangkarskd nbepnkhrngaerkthimirayngankarkhnphb Lupeol inkhaw inswnkhxngnamnrakhawbibeyn emuxethiybkbnamnngaaebbhibeyn mi beta carotene xyuthung 23 µg g aela lutein 14 15µg g immiinnamnnga phrxmthng gamma oryzanol 135 µg g odymikha ORAC xyuthi 215 µmol Trolox g cakkarthdsxbkhunsmbtikhxngsarskdcakrakhawirsebxrri inkartxtanesllmaerng 3 chnid khuxesllmaernglaisihy Caco 2 esllmaerngetanm MCF 7 aelaesllmaerngemdeluxdkhaw HL 60 phbwa sarskd thngchnidimskdnamnxxk DCM fraction aelachnidthiskdnamnxxkipbang MeOH fraction ihphlybyngesllmaerngthng 3 chnididxyangminysakhy odyechphaasarskdcak DCM fraction ihphlthidikwasarskdcak MeOH fraction aelaesllmaernginemdeluxdkhaw mikhwamiwtxkarthukchknaihekidkartay phayhlngkaridrbsarskdiderwthisud khxmuldngklawaesdngihehnwa rakhawirsebxrriepnaehlngkhxngsarxxkvththitanmaerngxangxingMGR Online 2016 01 19 khawirsebxrri sisnaeplkihm aetmipraoychnsung mgronline com hlumdaphududklun 2023 10 20 10 khawirsebxrri yihxihndi chwykhumnahnk khunpraoychnephiyb www wongnai com Praima S 2023 05 17 praoychnkhawirsebxrri ditxsukhphaphxyangir th hellomagazine com khawirsebxrri sunywithyasastrkhaw https dna kps ku ac th index php research develop rice breeding lab riceberry variety xphichati wrrnwicitr phrrtnsinchyphanich sukyya wngsphrchy rchni khngkhachuychay praiphsri sirickrwal sriwthna thrngcitsmburn aelawicitraeliskmlkaycn rayngankarwicy okhrngkarburnakar ethkhonolyichiwphaphinkarsrangphnthukhawephuxephimmulkhaaelakhunkhasung pingbpraman 2551 sankngan khnakrrmkarwicyaehngchati chensd malaphxng xanti sukhiwngs siriphthn eruxngphykhkh dnuphl eckbutr suriya phungbarung phdungekiyrti xunsuwrrn mharach khunawuthinnth sumn hxymala aela xphichati wrrnwicitr thyoxsth traekhruxnghmaymatrthanphlitphnthcakkhawophchnakarsung sunywithyasastrkhaw mhawithyalyekstrsastr pingbpraman 2553 sankngankhnakrrmkarwicyaehngchati rchni khngkhachuychayaelakhna 2553 rayngankarwicy okhrngkarburnakarethkhonolyichiwphaphinkarsrangphnthukhawephuxephimmulkhaaelakhunkhasung okhrngkarwicyyxythi 4 karsuksakhunkhathangophchnakarebuxngtn aelakarpraeminkhwamepnpraoychnkhxngthatuehlkcakkhawinradbesll sankngankhnakrrmkarwicyaehngchati Leardkamolkarn V Thongthep W Suttiarporn P Kongkachuichai R Wongpornchai S Vanavichit A 2011 Chemopreventive properties of the bran extracted from a newly developed Thai rice The Riceberry Food Chem 125 3 978 985 Prangthip P Surasiang R Charoensiri R Leardkamolkarn V Komindr S Yamborisut U Vanavichit A Kongkachuichai R 2013 Amelioration of hyperglycemia hyperlipidemia oxidative stress and inflammation in steptozotocin induced diabetic rats fed a high fat diet by riceberry supplement Journal of Functional Foods 5 1 195 203 Kongkachuichai R Prangthip P Surasiang R Posuwan J Charoensiri R Kettawan A Vanavichit A 2013 Effect of Riceberry oil deep purple oil Oryza sativa Indica supplementation on hyperglycemia and change in lipid profile in Streptozotocin STZ induced diabetic rats fed a high fat diet International Food Research Journal 20 2 873 882