การศึกษาองค์การ (อังกฤษ: Organizational studies) หรือ พฤติกรรมองค์การ หรือ ทฤษฎีองค์การ เป็นสาขาวิชาหนึ่งที่สนใจศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับองค์การ โดยนำวิธีการและองค์ความรู้ของศาสตร์แขนงต่างมาใช้ในการวิเคราะห์และอธิบายปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับองค์การ ได้แก่ เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา รัฐศาสตร์ มานุษยวิทยา และจิตวิทยา โดยมีสาขาวิชาที่ใกล้เคียงอย่างเช่น
ขอบเขตของสาขาวิชา
วิชาองค์การเป็นการศึกษาพฤติกรรมของบุคคลและกลุ่มบุคคลที่เกิดขึ้นในองค์กร ตลอดจนศึกษาสภาวะขององค์กรในรูปแบบต่าง ๆ ความสนใจนี้ตั้งอยู่บนข้อสังเกตที่ว่า ปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่เกิดขึ้นในองค์กรนั้นเกิดจากตัวแปรต่าง ๆ มากมาย วิชาองค์การพยายามที่จะศึกษาทำความเข้าใจถึงตัวแปรต่าง ๆ เหล่านี้เพื่อสร้างตัวแบบสำหรับอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น จุดมุ่งหมายของสาขาวิชานี้ก็เช่นเดียวกับสาขาวิชาอื่น ๆ ด้านสังคมศาสตร์ นั่นก็คือเพื่อควบคุม ทำนาย และอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ และเนื่องจากเป็นการศึกษาเกี่ยวกับมนุษย์ จึงมีข้อโต้แยงเชิงจริยธรรมอยู่บ้าง ในเรื่องของความเหมาะสมของเป้าหมายที่ต้องการควบคุมพฤติกรรมมนุษย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อควบคุมพฤติกรรมของคนงาน ดังเช่นที่สาขาพฤติกรรมองค์การหรือจิตวิทยาอุตสาหกรรมเคยถูกกล่าวหามาแล้วว่าใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์มาจัดการพฤติกรรมของบุคคล โดยละเลยความเป็นมนุษย์อย่างไรก็ดี ข้อกล่าวหาดังกล่าวก็ไม่สามารถขัดขวางความก้าวหน้าในการศึกษาและสั่งสมองค์ความรู้ในด้านนี้ได้ ดังนั้น วิชาพฤติกรรมองค์การจึงมีบทบาทอย่างยิ่งต่อการศึกษาองค์การ โดยเฉพาะในปัจจุบันมีบทบาทอย่างยิ่งต่อวิชาการพัฒนาองค์การ organizational development
ประวัติ
แม้ว่ารากฐานการศึกษาเรื่องพฤติกรรมองค์การอาจย้อนไปได้ถึง (Max Weber) หรือก่อนหน้านั้น แต่การศึกษาในลักษณะที่เป็นสาขาวิชาหนึ่งนั้นอาจกล่าวได้ว่าเริ่มต้นเมื่อมีการนำเสนอแนวคิดการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ (scientific management) ในช่วงทศวรรษ 1980 ตามแนวคิดของเทเลอย์ (Taylorism) โดยตั้งอยู่บนข้อสมมติที่ว่าการจัดองค์การโดยการจัดแบ่งหน้าที่และโครงสร้างอย่างสมเหตุสมผล และกำหนดวิธีการทำงานที่ดีที่สุดจากการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบไทม์ โมชั่นจะทำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น ตามมาด้วยการเสนอระบบค่าตอบแทนตามผลงาน (different compensation systems)
ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 การศึกษาเรื่ององค์การเปลี่ยนจุดสนใจมาที่ตัวแปรทางจิตวิทยาและพฤติกรรมของบุคคลที่มีผลกระทบต่อองค์การ การเปลี่ยนแปลงนี้เกิดขึ้นจากผลการศึกษาทดลองที่ฮอว์ธอร์น (Hawthorne Effect) ก่อนที่จะพัฒนามาเป็นกลุ่มศึกษาแบบมนุษยสัมพันธ์ (Human Relations Movement) มุ่งเน้นความสนใจไปที่การทำงานร่วมกัน (teams) และการจูงใจ (motivation) รวมทั้งการให้ความสำคัญของคุณค่าที่แต่ละปัจเจกบุคคลมุ่งหมายในการเข้าร่วมทำงานกับองค์การ ผู้นำการศึกษาในแนวทางนี้ได้แก่ Chester Barnard, Henri Fayol, Mary Parker Follett, Frederick Herzberg, Abraham Maslow, David McClelland, Victor Vroom
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 การศึกษาองค์การเปลี่ยนจุดสนใจอีกครั้ง เนื่องจากการพัฒนาองค์ความรู้ในด้านการขนส่งขนาดใหญ่จากประสบการณ์ในการส่งกำลังบำรุงทางทหาร การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (operations research) ส่งผลให้องค์การมีผลผลิตเพิ่มขึ้นอย่างมากจนกระทั่งทำให้นักวิชาการหันมาสนใจในเรื่องการจัดวางระบบและแนวทางการศึกษาแบบมีเหตุมีผลเชิงปริมาณอีกครั้ง ในช่วงทศวรรษ 1960-70 เป็นช่วงที่สาขาวิชานี้ได้รับอิทธิพลจากสาขาวิชาจิตวิทยาสังคม (social psychology) ควบคู่ไปกับการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ (quantitative research) เพื่อพัฒนาองค์ความรู้
ต่อมาในช่วงทศวรรษ 1980 การลงทุนข้ามประเทศทำให้วิชาองค์การเริ่มหันมาสนใจในเรื่องวัฒนธรรมและการเปลี่ยนแปลงองค์การ งานวิจัยเชิงคุณภาพเริ่มได้รับการยอมรับมากขึ้น โดยได้รับอิทธิพลจากสาขาวิชามานุษยวิทยา จิตวิทยา และสังคมวิทยา
สถานภาพของวิชาองค์การในปัจจุบัน
พฤติกรรมองค์กรเป็นสาขาวิชาที่กำลังเติบโตมีการพัฒนาองค์ความรู้อย่างต่อเนื่อง ส่วนใหญ่จะจัดการเรียนการสอนเป็นสาขาหนึ่งของการบริหารธุรกิจ แม้ว่าจะมีหลายสถาบันที่จัดเป็นส่วนหนึ่งของวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรม หรือเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม (industrial economics programs) องค์ความรู้ของสาขาวิชานี้มีความสำคัญมากต่อการบริหารธุรกิจ โดยการประยุกต์ใช้จากนักบริหารที่มีชื่ออย่าง ปีเตอร์ ดรักเกอร์ (Peter Drucker) (Peter Senge) การศึกษาพฤติกรรมองค์การมีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ซึ่งการบริหารธุรกิจต้องเผชิญกับความแตกต่างหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม การนำองค์ความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมองค์กรมาใช้เพื่อให้เกิดการทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล แม้ส่วนหนึ่งจะถูกวิจารณ์ว่า ไม่ให้ความเคารพต่อความแตกต่างทางชาติพันธ์และเป็นเครื่องมือของระบบทุนนิยม
อ้างอิง
- Weick, Karl E. The Social Psychology of Organizing 2nd Ed. McGraw Hill (1979) .
- Simon, Herbert A. Administrative Behavior: A Study of Decision-Making Processes in Administrative Organizations 4th Ed. The Free Press (1997) .
- An overview of the field, including readings and outlines of major theories
- History of I/O
- Intro to Organizational Behavior
- Barley, S., & Kunda, G. (1992) "Design and devotion: Surges of rational and normative ideologies of control in managerial discourse", Administrative Science Quarterly, vol. 37, pp. 363-399.
- Research on Organizations: Bibliography Database and Maps
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karsuksaxngkhkar xngkvs Organizational studies hrux phvtikrrmxngkhkar hrux thvsdixngkhkar epnsakhawichahnungthisnicsuksaeruxngrawekiywkbxngkhkar odynawithikaraelaxngkhkhwamrukhxngsastraekhnngtangmaichinkarwiekhraahaelaxthibaypraktkarnthiekiywkhxngkbxngkhkar idaek esrsthsastr sngkhmwithya rthsastr manusywithya aelacitwithya odymisakhawichathiiklekhiyngxyangechnkhxbekhtkhxngsakhawichawichaxngkhkarepnkarsuksaphvtikrrmkhxngbukhkhlaelaklumbukhkhlthiekidkhuninxngkhkr tlxdcnsuksasphawakhxngxngkhkrinrupaebbtang khwamsnicnitngxyubnkhxsngektthiwa ptismphnthrahwangbukhkhlthiekidkhuninxngkhkrnnekidcaktwaeprtang makmay wichaxngkhkarphyayamthicasuksathakhwamekhaicthungtwaeprtang ehlaniephuxsrangtwaebbsahrbxthibaypraktkarntang thiekidkhun cudmunghmaykhxngsakhawichanikechnediywkbsakhawichaxun dansngkhmsastr nnkkhuxephuxkhwbkhum thanay aelaxthibaypraktkarntang aelaenuxngcakepnkarsuksaekiywkbmnusy cungmikhxotaeyngechingcriythrrmxyubang ineruxngkhxngkhwamehmaasmkhxngepahmaythitxngkarkhwbkhumphvtikrrmmnusy odyechphaaxyangyingephuxkhwbkhumphvtikrrmkhxngkhnngan dngechnthisakhaphvtikrrmxngkhkarhruxcitwithyaxutsahkrrmekhythukklawhamaaelwwaichekhruxngmuxthangwithyasastrmacdkarphvtikrrmkhxngbukhkhl odylaelykhwamepnmnusyxyangirkdi khxklawhadngklawkimsamarthkhdkhwangkhwamkawhnainkarsuksaaelasngsmxngkhkhwamruindanniid dngnn wichaphvtikrrmxngkhkarcungmibthbathxyangyingtxkarsuksaxngkhkar odyechphaainpccubnmibthbathxyangyingtxwichakarphthnaxngkhkar organizational developmentprawtiaemwarakthankarsuksaeruxngphvtikrrmxngkhkarxacyxnipidthung Max Weber hruxkxnhnann aetkarsuksainlksnathiepnsakhawichahnungnnxacklawidwaerimtnemuxmikarnaesnxaenwkhidkarcdkaraebbwithyasastr scientific management inchwngthswrrs 1980 tamaenwkhidkhxngethelxy Taylorism odytngxyubnkhxsmmtithiwakarcdxngkhkarodykarcdaebnghnathiaelaokhrngsrangxyangsmehtusmphl aelakahndwithikarthanganthidithisudcakkarekbrwbrwmkhxmulaebbithm omchncathaihphlphlitephimkhun tammadwykaresnxrabbkhatxbaethntamphlngan different compensation systems phayhlngsngkhramolkkhrngthi 1 karsuksaeruxngxngkhkarepliyncudsnicmathitwaeprthangcitwithyaaelaphvtikrrmkhxngbukhkhlthimiphlkrathbtxxngkhkar karepliynaeplngniekidkhuncakphlkarsuksathdlxngthihxwthxrn Hawthorne Effect kxnthicaphthnamaepnklumsuksaaebbmnusysmphnth Human Relations Movement mungennkhwamsnicipthikarthanganrwmkn teams aelakarcungic motivation rwmthngkarihkhwamsakhykhxngkhunkhathiaetlapceckbukhkhlmunghmayinkarekharwmthangankbxngkhkar phunakarsuksainaenwthangniidaek Chester Barnard Henri Fayol Mary Parker Follett Frederick Herzberg Abraham Maslow David McClelland Victor Vroom inchwngsngkhramolkkhrngthi 2 karsuksaxngkhkarepliyncudsnicxikkhrng enuxngcakkarphthnaxngkhkhwamruindankarkhnsngkhnadihycakprasbkarninkarsngkalngbarungthangthhar karwicyechingptibtikar operations research sngphlihxngkhkarmiphlphlitephimkhunxyangmakcnkrathngthaihnkwichakarhnmasnicineruxngkarcdwangrabbaelaaenwthangkarsuksaaebbmiehtumiphlechingprimanxikkhrng inchwngthswrrs 1960 70 epnchwngthisakhawichaniidrbxiththiphlcaksakhawichacitwithyasngkhm social psychology khwbkhuipkbkarsuksawicyechingpriman quantitative research ephuxphthnaxngkhkhwamru txmainchwngthswrrs 1980 karlngthunkhampraethsthaihwichaxngkhkarerimhnmasnicineruxngwthnthrrmaelakarepliynaeplngxngkhkar nganwicyechingkhunphapherimidrbkaryxmrbmakkhun odyidrbxiththiphlcaksakhawichamanusywithya citwithya aelasngkhmwithyasthanphaphkhxngwichaxngkhkarinpccubnphvtikrrmxngkhkrepnsakhawichathikalngetibotmikarphthnaxngkhkhwamruxyangtxenuxng swnihycacdkareriynkarsxnepnsakhahnungkhxngkarbriharthurkic aemwacamihlaysthabnthicdepnswnhnungkhxngwichacitwithyaxutsahkrrm hruxesrsthsastrxutsahkrrm industrial economics programs xngkhkhwamrukhxngsakhawichanimikhwamsakhymaktxkarbriharthurkic odykarprayuktichcaknkbriharthimichuxxyang pietxr drkekxr Peter Drucker Peter Senge karsuksaphvtikrrmxngkhkarmikhwamsakhytxrabbesrsthkicinyukholkaphiwtnsungkarbriharthurkictxngephchiykbkhwamaetktanghlakhlaythangechuxchatiaelawthnthrrm karnaxngkhkhwamruekiywkbphvtikrrmxngkhkrmaichephuxihekidkarthanganrwmknxyangmiprasiththiphaphaelaprasiththiphl aemswnhnungcathukwicarnwa imihkhwamekharphtxkhwamaetktangthangchatiphnthaelaepnekhruxngmuxkhxngrabbthunniymxangxingWeick Karl E The Social Psychology of Organizing 2nd Ed McGraw Hill 1979 ISBN 0 07 554808 9 Simon Herbert A Administrative Behavior A Study of Decision Making Processes in Administrative Organizations 4th Ed The Free Press 1997 ISBN 0 684 83582 7 An overview of the field including readings and outlines of major theories History of I O Intro to Organizational Behavior Barley S amp Kunda G 1992 Design and devotion Surges of rational and normative ideologies of control in managerial discourse Administrative Science Quarterly vol 37 pp 363 399 Research on Organizations Bibliography Database and Maps bthkhwamniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmul hmayehtu khxaenanaihcdhmwdhmuokhrngihekhakbenuxhakhxngbthkhwam duephimthi wikiphiediy okhrngkarcdhmwdhmuokhrngthiyngimsmburn dkhk