กระบวนการคิดเชิงเทิดทูน (อังกฤษ: Halo effect) หมายถึงกระบวนการคิดเชิงลำเอียง (Cognitive bias) ที่เกิดขึ้นเมื่อสัญชานของบุคลิกภาพหนึ่งก่อตัวขึ้นจากอิทธิพลของอีกบุคลิกภาพเดิมบุคลิกภาพหนึ่งตามขั้นตอนของกระบวนการการตีความหมาย
นักจิตวิทยาชาวอเมริกันเป็นบุคคลแรกที่สนับสนุนทฤษฎี “กระบวนการคิดเชิงเทิดทูน” ที่มาจากการค้นคว้า (Empirical research) ในการวิจัยค้นคว้าทางจิตวิทยาที่ตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1920 จากการขอให้ผู้บังคับการกองทหารจัดลำดับบุคลิกภาพทหารของแต่ละคนผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาธอร์นไดค์พบว่าผลที่ออกมามีสหสัมพันธ์ไขว้ (cross-correlation) สูงระหว่างบุคลิกภาพทางบวกทั้งหมด หรือ บุคลิกภาพทางลบทั้งหมด จากการศึกษาดังว่าดูเหมือนว่าคนเรามักจะไม่มองผู้อื่นอย่างมีบุคลิกภาพผสมทั้งทางบวกและลบในบุคคลเดียวกัน แต่จะมักจะมองแต่ละคนว่าถ้าดีก็ดีตลอด หรือถ้าไม่ดีก็ไม่ดีตลอดไปทุกบุคลิกภาพที่วัด
งานวิจัยของนักจิตวิทยาชาวอเมริกันและผู้นำทางด้านจิตวิทยาสังคมเสนอว่าความมีหน้าตาดีเป็นบุคลิกภาพศูนย์กลาง ฉะนั้นเราจึงสรุปว่าบุคลิกภาพอื่นของผู้ที่มีหน้าตาดีเป็นบุคลิกภาพควรจะดีเท่ากันและเป็นบุคลิกภาพที่ต้องการที่จะแสวงหา
“กระบวนการคิดเชิงเทิดทูน” เกี่ยวข้องกับ (Implicit personality theory) โดยนักจิตวิทยาสังคมบุคลิกภาพแรกที่เราเรียนรู้จากผู้อื่นจะมีอิทธิพลต่อการตีความหมายและสัญชานของบุคลิกภาพที่ตามมาเพราะการวางมาตรการการเปรียบเทียบเอาไว้แล้ว บุคคลที่มีหน้าตาดีมักจะทำให้คิดกันโดยปริยายว่าเป็นผู้มีบุคลิกภาพดีและมีความสามารถมากว่าผู้มีหน้าตาธรรมดา ฉะนั้นเราจึงเห็นการใช้ผู้มีชื่อเสียงในการสนับสนุนสินค้าที่ตนเองไม่มีความรู้จริงในการวัดว่าสินค้าดีจริงหรือไม่ และอาจจะไม่มีความเกี่ยวข้องกับสินค้าดังว่ามาก่อนหน้าที่จะมาทำการสนับสนุน
“กระบวนการคิดเชิงเทิดทูน” มักจะเป็นศัพท์ที่ใช้บ่อยในแผนกจัดหาบุคคลกร ที่หมายถึงความลำเอียงที่อาจจะเกิดขึ้นได้กับผู้สัมภาษณ์ที่เมื่อเห็นบุคลิกภาพทางบวกของผู้ถูกสัมภาษณ์แล้วก็จะมองข้ามบุคลิกภาพทางลบหรือลดความสนใจที่จะแสวงหาบุคลิกภาพทางลบ หรือ ในกรณีตรงกันข้าม
กระบวนการคิดเชิงเทิดทูนมุมกลับ
ในทางตรงกันข้ามกับ “กระบวนการคิดเชิงเทิดทูน” เกิดขึ้นเมื่อบุคคล, ตรา หรือสิ่งอื่นๆ ที่ถือว่ามีลักษณะหนึ่งลักษณะใดที่ออกไปในทางลบเพียงอย่างเดียวที่เป็นผลให้ได้รับการตัดสินรวบยอดว่าคุณภาพอื่นๆ ไม่ดีตามไปด้วย ซึ่งเท่ากับเป็นการใช้จุดอ่อนจุดเดียวในการเป็นอิทธิพลต่อการตัดสินว่าลักษณะอื่นๆ เป็นลักษณะทางลบทั้งสิ้น This is also called the "devil effect."
อ้างอิง
- Weisman, Jonathan (August 9, 2005). "Snow Concedes Economic Surge Is Not Benefiting People Equally". washingtonpost.com. สืบค้นเมื่อ 2008-05-12.
- Deutsch, Claudia H. (August 16, 2006). "With Its Stock Still Lackluster, G.E. Confronts the Curse of the Conglomerate". nytimes.com. สืบค้นเมื่อ 2008-05-12.
- Hatcher, Cathrine (January 14, 2008). . cbs11tv.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-08-21. สืบค้นเมื่อ 2008-05-12.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
krabwnkarkhidechingethidthun xngkvs Halo effect hmaythungkrabwnkarkhidechinglaexiyng Cognitive bias thiekidkhunemuxsychankhxngbukhlikphaphhnungkxtwkhuncakxiththiphlkhxngxikbukhlikphaphedimbukhlikphaphhnungtamkhntxnkhxngkrabwnkarkartikhwamhmayixphxdsrangthsnkhtithangbwkaeksychankhxngsinkhaxunkhxngaexpepil nkcitwithyachawxemriknepnbukhkhlaerkthisnbsnunthvsdi krabwnkarkhidechingethidthun thimacakkarkhnkhwa Empirical research inkarwicykhnkhwathangcitwithyathitiphimphinpi kh s 1920 cakkarkhxihphubngkhbkarkxngthharcdladbbukhlikphaphthharkhxngaetlakhnphuxyuitbngkhbbychathxrnidkhphbwaphlthixxkmamishsmphnthikhw cross correlation sungrahwangbukhlikphaphthangbwkthnghmd hrux bukhlikphaphthanglbthnghmd cakkarsuksadngwaduehmuxnwakhneramkcaimmxngphuxunxyangmibukhlikphaphphsmthngthangbwkaelalbinbukhkhlediywkn aetcamkcamxngaetlakhnwathadikditlxd hruxthaimdikimditlxdipthukbukhlikphaphthiwd nganwicykhxngnkcitwithyachawxemriknaelaphunathangdancitwithyasngkhmesnxwakhwammihnatadiepnbukhlikphaphsunyklang channeracungsrupwabukhlikphaphxunkhxngphuthimihnatadiepnbukhlikphaphkhwrcadiethaknaelaepnbukhlikphaphthitxngkarthicaaeswngha krabwnkarkhidechingethidthun ekiywkhxngkb Implicit personality theory odynkcitwithyasngkhmbukhlikphaphaerkthieraeriynrucakphuxuncamixiththiphltxkartikhwamhmayaelasychankhxngbukhlikphaphthitammaephraakarwangmatrkarkarepriybethiybexaiwaelw bukhkhlthimihnatadimkcathaihkhidknodypriyaywaepnphumibukhlikphaphdiaelamikhwamsamarthmakwaphumihnatathrrmda channeracungehnkarichphumichuxesiynginkarsnbsnunsinkhathitnexngimmikhwamrucringinkarwdwasinkhadicringhruxim aelaxaccaimmikhwamekiywkhxngkbsinkhadngwamakxnhnathicamathakarsnbsnun krabwnkarkhidechingethidthun mkcaepnsphththiichbxyinaephnkcdhabukhkhlkr thihmaythungkhwamlaexiyngthixaccaekidkhunidkbphusmphasnthiemuxehnbukhlikphaphthangbwkkhxngphuthuksmphasnaelwkcamxngkhambukhlikphaphthanglbhruxldkhwamsnicthicaaeswnghabukhlikphaphthanglb hrux inkrnitrngknkhamkrabwnkarkhidechingethidthunmumklbinthangtrngknkhamkb krabwnkarkhidechingethidthun ekidkhunemuxbukhkhl tra hruxsingxun thithuxwamilksnahnunglksnaidthixxkipinthanglbephiyngxyangediywthiepnphlihidrbkartdsinrwbyxdwakhunphaphxun imditamipdwy sungethakbepnkarichcudxxncudediywinkarepnxiththiphltxkartdsinwalksnaxun epnlksnathanglbthngsin This is also called the devil effect xangxingWeisman Jonathan August 9 2005 Snow Concedes Economic Surge Is Not Benefiting People Equally washingtonpost com subkhnemux 2008 05 12 Deutsch Claudia H August 16 2006 With Its Stock Still Lackluster G E Confronts the Curse of the Conglomerate nytimes com subkhnemux 2008 05 12 Hatcher Cathrine January 14 2008 cbs11tv com khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2008 08 21 subkhnemux 2008 05 12 bthkhwamniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmul hmayehtu khxaenanaihcdhmwdhmuokhrngihekhakbenuxhakhxngbthkhwam duephimthi wikiphiediy okhrngkarcdhmwdhmuokhrngthiyngimsmburn dkhk