จิตวิทยาสังคม คือกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาหาคำอธิบายว่าความคิด, ความรู้สึก และพฤติกรรมต่าง ๆ ของคน ได้รับผลกระทบหรืออิทธิพลจากการแสดงออก, จากการจินตนาการหรือการแสดงนัยของผู้อื่นอย่างไร นิยามของคำว่า ความคิด, ความรู้สึก, พฤติกรรม ใช้ในความหมายที่รวมถึงตัวแปรทางจิตวิทยาที่สามารถวัดปริมาณได้ การที่เราสามารถถูกจินตนาการหรือเป็นนัยที่ผู้อื่นแสดงออกมา แสดงให้เห็นว่าคนเรามีแนวโน้มที่จะได้รับอิทธิพลทางสังคม (หรืออาจเรียกว่าเป็นแรงกดดันทางสังคม) ซึ่งแม้แต่ในสภาพแวดล้อมที่อยู่ตัวคนเดียวก็ได้รับอิทธิพลเช่นกัน เช่นในเวลาที่เราดูโทรทัศน์, การใช้หรือโต้ตอบกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (เกมส์, อินเทอร์เน็ต) หรือการทำตามบรรทัดฐานหรือธรรมเนียมของสังคม การร่วมมือ คือเป็นสถานการณ์ที่สมาชิกในกลุ่มมีการทำงานร่วมกัน หรือช่วยกันทำงานให้บรรลุเป้าหมายของกลุ่ม
ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการร่วมมือ มีหลายปัจจัยด้วยกันขึ้นอยู่กับสถานการณ์และสภาพแวดล้อมของทีมงานนั้นๆแต่โดยส่วนใหญ่แล้วจะประกอบไปด้วย 2 ปัจจัยคือ 1.เต็มใจที่จะทำงานนั้น ผู้ที่มีความเต็มใจทำงาน ถ้างานที่เราทำนั้นเราเต็มใจที่จะทำงานๆนั้นก็จะออกมา เต็มประสิทธิภาพของตัวเราแต่ในทางกลับกันถ้าเราถูกบังคับ ให้ทำงานนั้น ประสิทธิภาพในการทำงานของเราก็จะลดลง 2.ความชำนาญ ทักษะที่จะทำงานนั้นออกมาให้มีคุณภาพถ้าขาดข้อนี้ไปต่อให้มีความเต็มใจในการทำงานก็ไม่สามารถทำงานนั้นออกมาได้คุณภาพ
การร่วมมือกับประสิทธิภาพในการทำงาน การร่วมมือช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานมากกว่าการแข่งขันเนื่องด้วยสาเหตุของสิ่งตอบแทนเป็นเครื่องจูงใจถ้าสิ่งตอบแทนนั้นมีเพียงแค่ไม่กี่คนที่ได้รับคนอื่นที่คิดว่าตนไม่ได้รับสิ่งตอบแทนนั้นแน่นอนก็จะเกิดไม่อยากทำงานนั้นๆส่งผลให้ประสิทธิภาพการทำงานในภาครวมลดลงแต่ถ้าเกิดคนทุกคนได้รับสิ่งตอบแทนจากการทำงานนั้นแน่นอนงานก็จะดำเนินไปอย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพ
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
citwithyasngkhm khuxkrabwnkarthangwithyasastrthisuksahakhaxthibaywakhwamkhid khwamrusuk aelaphvtikrrmtang khxngkhn idrbphlkrathbhruxxiththiphlcakkaraesdngxxk cakkarcintnakarhruxkaraesdngnykhxngphuxunxyangir niyamkhxngkhawa khwamkhid khwamrusuk phvtikrrm ichinkhwamhmaythirwmthungtwaeprthangcitwithyathisamarthwdprimanid karthierasamarththukcintnakarhruxepnnythiphuxunaesdngxxkma aesdngihehnwakhneramiaenwonmthicaidrbxiththiphlthangsngkhm hruxxaceriykwaepnaerngkddnthangsngkhm sungaemaetinsphaphaewdlxmthixyutwkhnediywkidrbxiththiphlechnkn echninewlathieraduothrthsn karichhruxottxbkbopraekrmkhxmphiwetxr ekms xinethxrent hruxkarthatambrrthdthanhruxthrrmeniymkhxngsngkhm karrwmmux khuxepnsthankarnthismachikinklummikarthanganrwmkn hruxchwyknthanganihbrrluepahmaykhxngklum pccythimiphltxphvtikrrmkarrwmmux mihlaypccydwyknkhunxyukbsthankarnaelasphaphaewdlxmkhxngthimngannnaetodyswnihyaelwcaprakxbipdwy 2 pccykhux 1 etmicthicathangannn phuthimikhwametmicthangan thanganthierathanneraetmicthicathangannnkcaxxkma etmprasiththiphaphkhxngtweraaetinthangklbknthaerathukbngkhb ihthangannn prasiththiphaphinkarthangankhxngerakcaldlng 2 khwamchanay thksathicathangannnxxkmaihmikhunphaphthakhadkhxniiptxihmikhwametmicinkarthangankimsamarththangannnxxkmaidkhunphaph karrwmmuxkbprasiththiphaphinkarthangan karrwmmuxchwyephimprasiththiphaphinkarthanganmakkwakaraekhngkhnenuxngdwysaehtukhxngsingtxbaethnepnekhruxngcungicthasingtxbaethnnnmiephiyngaekhimkikhnthiidrbkhnxunthikhidwatnimidrbsingtxbaethnnnaennxnkcaekidimxyakthangannnsngphlihprasiththiphaphkarthanganinphakhrwmldlngaetthaekidkhnthukkhnidrbsingtxbaethncakkarthangannnaennxnngankcadaeninipxyangrabrunaelamiprasiththiphaph