ระดับเชาวน์ปัญญา หรือ ไอคิว (IQ ย่อจาก Intelligence quotient) หมายถึง ความฉลาดทางเชาวน์ปัญญา การคิด การใช้เหตุผล การคำนวณ การเชื่อมโยง ไอคิว เป็นศักยภาพทางสมองที่ติดตัวมาแต่กำเนิด เปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ยาก ไอคิว สามารถวัดออกมาเป็นค่าสัดส่วนตัวเลขที่แน่นอนได้
คำอื่นที่ใช้
นอกจากคำว่าไอคิวที่นิยมใช้ทับศัพท์ภาษาอังกฤษแล้วในทางประชากรศาสตร์ว่า "ผลการแสดงสติปัญญา" หรือ "ระดับปัญญา"
การวัดไอคิว
การวัดไอคิว เกิดขึ้นครั้งแรกในปีค.ศ.1905 โดยนักจิตวิทยาชาวฝรั่งเศสที่ต้องการแยกบุคคลปัญญาอ่อนออกจากคนปกติ เพื่อจะได้จัดการศึกษาให้อย่างเหมาะสม โดยใช้การเปรียบเทียบระหว่างความสามารถที่ควรจะเป็นกับอายุสมองแล้วคำนวณออกมาเป็นเปอร์เซ็นต์ ปัจจุบัน การวัดไอคิวมักใช้แบบทดสอบของ ที่เริ่มพัฒนามาตั้งแต่ปีค.ศ.1930 โดยอาศัยงานวิจัยของนักวิชาการและนักการทหาร เป็นกลุ่มข้อทดสอบทั้งหมด 11 กลุ่ม เป็นกลุ่มที่ต้องใช้ภาษาโต้ตอบ 6 กลุ่ม ไม่ต้องใช้ภาษาโต้ตอบ 5 กลุ่ม ดังนี้
- ข้อมูลทั่วไป เป็นคำถามเพื่อตรวจวัดความสนใจความรู้รอบตัว
- ความคิด ความเข้าใจ
- การคิดคำนวณ
- ความคิดที่เป็นนามธรรม โดยให้หาความเหมือน
- ความจำระยะสั้น โดยใช้การจำจากตัวเลข
- ภาษาในส่วนของการใช้คำ
- การต่อภาพในส่วนที่ขาดหายไป
- การจับคู่โครงสร้าง โดยดูจากรูปร่างหรือลวดลาย
- การเรียงลำดับภาพเหตุการณ์ต่าง ๆ
- การต่อภาพเป็นรูป ด้วยการต่อ
- การหาความสัมพันธ์ของตัวเลขและสัญลักษณ์
เนื่องจากไอคิวสามารถวัดออกมาเป็นตัวเลขได้ จึงมีผู้ให้ความสำคัญกับไอคิวมาโดยตลอด เด็กที่เรียนเก่ง จะมีแต่คนชื่นชม พ่อแม่ครูอาจารย์รักใคร่ ต่างจากเด็กที่เรียนปานกลางหรือเด็กที่เรียนแย่มักไม่ค่อยเป็นที่สนใจ หรือถูกดุว่า ทั้ง ๆ ที่เด็กเหล่านี้อาจจะมีความสามารถทางด้านอื่น เช่น ดนตรี กีฬา ศิลปะ เพียงแต่ไม่มีความถนัดเชิงวิชาการเท่านั้นเอง
มาในช่วงหลัง ๆ ความเชื่อมั่นในไอคิวเริ่มสั่นคลอนเมื่อมีการตั้งข้อสังเกตเกี่ยวกับการวัด และความสำคัญของไอคิว จนในที่สุดเมื่อ 10 ปีที่ผ่านมาจึงยอมรับกันว่า แทัจริงแล้ว ในความเป็นจริง ชีวิตต้องการทักษะและความสามารถในด้านอื่น ๆ อีกมากมายที่นอกเหลือไปจากการจำเก่ง การคิดเลขเก่ง หรือการเรียนเก่ง ความสามารถเหล่านี้อาจจะช่วยให้คน ๆ หนึ่งได้เรียน ได้ทำงานในสถานที่ดี ๆ แต่คงไม่สามารถเป็นหลักประกันถึงชีวิตที่มีความสุขได้
ยกตัวอย่างเช่น งานวิจัยชิ้นหนึ่งในรัฐแมสซาซูเสท สหรัฐอเมริกาที่ศึกษาความสัมพันธ์ของไอคิวกับความสำเร็จในชีวิต โดยติดตามเก็บข้อมูลจากเด็ก 450 คน นานถึง 40 ปี พบว่าไอคิวมีความสัมพันธ์เพียงเล็กน้อยกับความสามารถในการทำงานได้ดีหรือกับการดำเนินชีวิต และพบว่าปัจจัยที่สามารถจะทำนายถึงความสำเร็จในด้านต่าง ๆ ของชีวิตได้ดีกว่า กลับเป็นความสามารถด้านต่าง ๆ ในวัยเด็กที่ไม่เกี่ยวข้องกับไอคิว เช่น ความสามารถในการจัดการกับความผิดหวัง การควบคุมอารมณ์ และการเข้ากับบุคคลอื่น ๆ ได้ดี ตัวอย่างงานวิจัยอีกเรื่องหนึ่ง คือการติดตามเก็บข้อมูลจากผู้ที่จบปริญญาเอกทางวิทยาศาสตร์ 80 คน ตั้งแต่ตอนที่ยังศึกษาอยู่ไปจนถึงบั้นปลายชีวิตในวัย 70 ปี พบว่า ความสามารถทางด้านอารมณ์และสังคมมีส่วนทำให้ประสบความสำเร็จในวิชาชีพและมีชื่อเสียงมากกว่าความสามารถทางเชาวน์ปัญญาหรือไอคิวถึง 4 เท่า
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- Sackeim HA, Freeman J, McElhiney M, Coleman E, Prudic J, Devanand DP (March 1992). "Effects of major depression on estimates of intelligence". J Clin Exp Neuropsychol. 14 (2): 268–88. PMID 1572949.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list ()
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
radbechawnpyya hrux ixkhiw IQ yxcak Intelligence quotient hmaythung khwamchladthangechawnpyya karkhid karichehtuphl karkhanwn karechuxmoyng ixkhiw epnskyphaphthangsmxngthitidtwmaaetkaenid epliynaeplngaekikhidyak ixkhiw samarthwdxxkmaepnkhasdswntwelkhthiaennxnidkhaxunthiichnxkcakkhawaixkhiwthiniymichthbsphthphasaxngkvsaelwinthangprachakrsastrwa phlkaraesdngstipyya hrux radbpyya karwdixkhiwkarwdixkhiw ekidkhunkhrngaerkinpikh s 1905 odynkcitwithyachawfrngessthitxngkaraeykbukhkhlpyyaxxnxxkcakkhnpkti ephuxcaidcdkarsuksaihxyangehmaasm odyichkarepriybethiybrahwangkhwamsamarththikhwrcaepnkbxayusmxngaelwkhanwnxxkmaepnepxresnt pccubn karwdixkhiwmkichaebbthdsxbkhxng thierimphthnamatngaetpikh s 1930 odyxasynganwicykhxngnkwichakaraelankkarthhar epnklumkhxthdsxbthnghmd 11 klum epnklumthitxngichphasaottxb 6 klum imtxngichphasaottxb 5 klum dngni khxmulthwip epnkhathamephuxtrwcwdkhwamsnickhwamrurxbtw khwamkhid khwamekhaic karkhidkhanwn khwamkhidthiepnnamthrrm odyihhakhwamehmuxn khwamcarayasn odyichkarcacaktwelkh phasainswnkhxngkarichkha kartxphaphinswnthikhadhayip karcbkhuokhrngsrang odyducakrupranghruxlwdlay kareriyngladbphaphehtukarntang kartxphaphepnrup dwykartx karhakhwamsmphnthkhxngtwelkhaelasylksn enuxngcakixkhiwsamarthwdxxkmaepntwelkhid cungmiphuihkhwamsakhykbixkhiwmaodytlxd edkthieriynekng camiaetkhnchunchm phxaemkhruxacaryrkikhr tangcakedkthieriynpanklanghruxedkthieriynaeymkimkhxyepnthisnic hruxthukduwa thng thiedkehlanixaccamikhwamsamarththangdanxun echn dntri kila silpa ephiyngaetimmikhwamthndechingwichakarethannexng mainchwnghlng khwamechuxmninixkhiwerimsnkhlxnemuxmikartngkhxsngektekiywkbkarwd aelakhwamsakhykhxngixkhiw cninthisudemux 10 pithiphanmacungyxmrbknwa aethcringaelw inkhwamepncring chiwittxngkarthksaaelakhwamsamarthindanxun xikmakmaythinxkehluxipcakkarcaekng karkhidelkhekng hruxkareriynekng khwamsamarthehlanixaccachwyihkhn hnungideriyn idthanganinsthanthidi aetkhngimsamarthepnhlkpraknthungchiwitthimikhwamsukhid yktwxyangechn nganwicychinhnunginrthaemssasuesth shrthxemrikathisuksakhwamsmphnthkhxngixkhiwkbkhwamsaercinchiwit odytidtamekbkhxmulcakedk 450 khn nanthung 40 pi phbwaixkhiwmikhwamsmphnthephiyngelknxykbkhwamsamarthinkarthanganiddihruxkbkardaeninchiwit aelaphbwapccythisamarthcathanaythungkhwamsaercindantang khxngchiwitiddikwa klbepnkhwamsamarthdantang inwyedkthiimekiywkhxngkbixkhiw echn khwamsamarthinkarcdkarkbkhwamphidhwng karkhwbkhumxarmn aelakarekhakbbukhkhlxun iddi twxyangnganwicyxikeruxnghnung khuxkartidtamekbkhxmulcakphuthicbpriyyaexkthangwithyasastr 80 khn tngaettxnthiyngsuksaxyuipcnthungbnplaychiwitinwy 70 pi phbwa khwamsamarththangdanxarmnaelasngkhmmiswnthaihprasbkhwamsaercinwichachiphaelamichuxesiyngmakkwakhwamsamarththangechawnpyyahruxixkhiwthung 4 ethaduephimkhwamchladthangxarmnxangxingSackeim HA Freeman J McElhiney M Coleman E Prudic J Devanand DP March 1992 Effects of major depression on estimates of intelligence J Clin Exp Neuropsychol 14 2 268 88 PMID 1572949 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk