ภาษาทมิฬเป็นภาษารูปคำติคต่อ ประกอบด้วยรากศัพท์และหน่วยคำเติมเข้ามาตั้งแต่หนึ่งหน่วยหรือมากกว่า หน่วยคำเติมส่วนมากเป็นปัจจัย มีทั้งปัจจัยแปลงคำซึ่งเปลี่ยนรูปแบบของคำและความหมาย กับปัจจัยผันคำ ซึ่งเป็นการบ่งบอกจำนวน บุคคล รูปแบบของกริยา กาล เป็นต้น ไม่มีข้อกำหนดที่ตายตัวสำหรับความยาวหรือจำนวนของปัจจัยที่เติมทำให้สามารถสร้างคำขนาดยาวที่มีปัจจัยมากมายที่อาจแทนได้ด้วยคำหลายคำหรือเป็นประโยคในภาษาอังกฤษ
ตำราไวยากรณ์
ตำราไวยากรณ์ของภาษาทมิฬแบ่งเป็น 5 ส่วน ดังนี้
ชื่อภาษาทมิฬ | ความหมาย | เล่มหลัก |
eḻuttu | อักษร | Tolkāppiyam, Nannūl |
col | คำ | Tolkāppiyam, Nannūl |
porul | ความหมาย | Tolkāppiyam |
yāppu | รูปแบบ | Yāpparuṅkalakkārikai |
aṇi | วิธีการ | Tanṭiyalaṅkāram |
คำนาม
คำนามและสรรพนามในภาษาทมิฬแบ่งเป็นระดับสูงสองระดับคือ นามคิดได้ (uyartinai) กับนามคิดไม่ได้ (akrinai) มนุษย์และเทพเจ้า จัดเป็นนามคิดได้ นามอื่น ๆ ได้แก่ สัตว์ สิ่งของ จัดเป็นนามคิดไม่ได้ ทั้งสองระดับนี้แบ่งได้อีกเป็นห้าระดับตามเพศ นามคิดได้ แบ่งเป็นสามระดับคือ เอกบุรุษ เอกสตรี และพหูพจน์ รูปพหูพจน์ของนามชนิดนี้อาจใช้เป็นรูปเอกพจน์ ไม่ปรากฏเพศเพื่อแสดงความนับถือได้ ส่วนนามคิดไม่ได้ มีสองระดับคือเอกพจน์ และพหูพจน์ การแสดงระดับนี้มักแสดงด้วยปัจจัย ตัวอย่างเช่น การผันศัพท์ภาษาทมิฬที่แปลว่าผู้ทำ
นามคิดได้ เอกบุรุษ | นามคิดได้ เอกสตรี | นามคิดได้ พหูพจน์ | นามคิดไม่ได้ เอกพจน์ | นามคิดไม่ได้ พหูพจน์ |
---|---|---|---|---|
ceytavaṉ | ceytaval | ceytavar | ceytatu | ceytavai |
เขาผู้ทำ | เธอผู้ทำ | พวกเขาผู้ทำ | มันผู้ทำ | พวกมันผู้ทำ |
ปัจจัยใช้เป็นตัวบ่งชี้การกและปรบท ไวยากรณ์แบ่งเป็น 8 การกตามแบบภาษาสันสกฤต ได้แก่ การกประธาน กรรมตรง กรรมรอง ความเกี่ยวข้อง แสดงความเป็นเจ้าของ เครื่องมือ สถานที่ และแหล่งที่มา คำนามที่มาจากการเรียงคำแบบรูปคำติดต่อจะแปลได้ยาก ตัวอย่างเช่นศัพท์ภาษาทมิฬ poKamutiyatavarkalukkaKa หมายถึง “สำหรับจุดมุ่งหมายของเขาเหล่านั้นผู้ไม่สามารถไปได้” ซึ่งประกอบด้วยหน่วยคำดังนี้
poKa (ไป) - muti (ความสำเร็จ) – y- ata (ปฏิเสธ) - var (รูปประธาน) – kal (พหูพจน์) – ukku (ที่) - aKa (ชนิดของคำ)
คำนามภาษาทมิฬอาจเติมคำอุปสรรค i a u และ e ซึ่งมีการทำงานใกล้เคียงกับภาษาอังกฤษ ตัวอย่างเช่น vali หมายถึงทาง อาจเติมคำอุปสรรคเป็น ivvali = ทางนี้ avvali = ทางนั้น uvvali = ระหว่างทาง และ evvali = ทางนี้ นามบางคำสร้างโดยการเรียงติดต่อรูปคำ ตัวอย่างเช่น เขา-ผู้แต่ง-กริยาช่วย หรือ นั่น-สิ่งซึ่ง-จะ-มา นามเหล่านี้เรียกว่านามอนุภาค นามประกอบสร้างโดยการเชื่อมต่อคำคุณศัพท์และคำนามเช่นเชื่อมคำว่าดี และ เขา เป็น ดี-เขา หมายถึง คนดี ส่วน ดี-พวกเขา หมายถึงประชาชนที่ดี นามกริยาในภาษาทมิฬสร้างจากรากศัพท์ของคำกริยา เทียบเท่ากับคำที่เติม –ing ในภาษาอังกฤษ
คำกริยา
คำกริยาสร้างด้วยการเติมปัจจัยได้เช่นเดียวกับคำนาม ซึ่งจะแสดงบุคคล จำนวน รูปแบบ กาล และการกระทำ ตัวอย่างเช่น alintukkontironten = (ฉัน) กำลังถูกทำลาย
ali (รากศัพท์ = ทำลาย) – intu (อดีต-ถูกกระทำ) – kontu (กาล-ระหว่าง) – ironta (อดีต-กำลังกระทำ) – en (บุรุษที่ 1-เอกพจน์)
บุคคลและจำนวนแสดงโดยการเติมปัจจัยของการกกรรมตรงที่สรพนามที่เกี่ยวข้อง (en ในตัวอย่างข้างต้น) ปัจจัยที่ชี้บ่งกาลและการกระทำเติมที่รากศัพท์ การกระทำในภาษาทมิฬมีสองแบบคือประธานถูกกระทำโดยกรรม หรือประธานแสดงการกระทำต่อกรรม กาลในภาษาทมิฬมีสามแบบ คือ อดีต ปัจจุบัน และอนาคต ซึ่งจะบ่งชี้ด้วยปัจจัยธรรมดาหรือสัมบูรณ์ซึ่งเป็นปัจจัยประกอบ
องค์ประกอบอื่น
ภาษาทมิฬไม่มีคำนำหน้านาม มีการแยกสรพนามรวมและไม่รวมผู้ฟังสำหรับบุรุษที่ 1 พหูพจน์ ไม่มีการแบ่งระหว่างคำคุณศัพท์กับกริยาวิเศษณ์ เรียกว่า criccol เหมือนกัน คำสันธานเรียกว่า itaiccol
โครงสร้างประโยค
นอกจากในบทกวี การเรียงคำในประโยคเป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา ประโยคไม่จำเป็นต้องมีครบทั้งสามส่วน เป็นไปได้ที่จะมีประโยคที่มีแต่กริยา เช่น atu en uitu = คือบ้านของฉัน ไม่มีคำที่มีความหมายตรงกับ verb to be ในภาษาอังกฤษ
อ้างอิง
- A. H. Arden, A progressive grammar of the Tamil language, 5th edition, 1942.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phasathmilepnphasarupkhatikhtx prakxbdwyraksphthaelahnwykhaetimekhamatngaethnunghnwyhruxmakkwa hnwykhaetimswnmakepnpccy mithngpccyaeplngkhasungepliynrupaebbkhxngkhaaelakhwamhmay kbpccyphnkha sungepnkarbngbxkcanwn bukhkhl rupaebbkhxngkriya kal epntn immikhxkahndthitaytwsahrbkhwamyawhruxcanwnkhxngpccythietimthaihsamarthsrangkhakhnadyawthimipccymakmaythixacaethniddwykhahlaykhahruxepnpraoykhinphasaxngkvstaraiwyakrntaraiwyakrnkhxngphasathmilaebngepn 5 swn dngni chuxphasathmil khwamhmay elmhlkeḻuttu xksr Tolkappiyam Nannulcol kha Tolkappiyam Nannulporul khwamhmay Tolkappiyamyappu rupaebb Yapparuṅkalakkarikaiaṇi withikar Tanṭiyalaṅkaramkhanamkhanamaelasrrphnaminphasathmilaebngepnradbsungsxngradbkhux namkhidid uyartinai kbnamkhidimid akrinai mnusyaelaethpheca cdepnnamkhidid namxun idaek stw singkhxng cdepnnamkhidimid thngsxngradbniaebngidxikepnharadbtamephs namkhidid aebngepnsamradbkhux exkburus exkstri aelaphhuphcn rupphhuphcnkhxngnamchnidnixacichepnrupexkphcn impraktephsephuxaesdngkhwamnbthuxid swnnamkhidimid misxngradbkhuxexkphcn aelaphhuphcn karaesdngradbnimkaesdngdwypccy twxyangechn karphnsphthphasathmilthiaeplwaphutha namkhidid exkburus namkhidid exkstri namkhidid phhuphcn namkhidimid exkphcn namkhidimid phhuphcnceytavaṉ ceytaval ceytavar ceytatu ceytavaiekhaphutha ethxphutha phwkekhaphutha mnphutha phwkmnphutha pccyichepntwbngchikarkaelaprbth iwyakrnaebngepn 8 karktamaebbphasasnskvt idaek karkprathan krrmtrng krrmrxng khwamekiywkhxng aesdngkhwamepnecakhxng ekhruxngmux sthanthi aelaaehlngthima khanamthimacakkareriyngkhaaebbrupkhatidtxcaaeplidyak twxyangechnsphthphasathmil poKamutiyatavarkalukkaKa hmaythung sahrbcudmunghmaykhxngekhaehlannphuimsamarthipid sungprakxbdwyhnwykhadngni poKa ip muti khwamsaerc y ata ptiesth var rupprathan kal phhuphcn ukku thi aKa chnidkhxngkha khanamphasathmilxacetimkhaxupsrrkh i a u aela e sungmikarthanganiklekhiyngkbphasaxngkvs twxyangechn vali hmaythungthang xacetimkhaxupsrrkhepn ivvali thangni avvali thangnn uvvali rahwangthang aela evvali thangni nambangkhasrangodykareriyngtidtxrupkha twxyangechn ekha phuaetng kriyachwy hrux nn singsung ca ma namehlanieriykwanamxnuphakh namprakxbsrangodykarechuxmtxkhakhunsphthaelakhanamechnechuxmkhawadi aela ekha epn di ekha hmaythung khndi swn di phwkekha hmaythungprachachnthidi namkriyainphasathmilsrangcakraksphthkhxngkhakriya ethiybethakbkhathietim ing inphasaxngkvskhakriyakhakriyasrangdwykaretimpccyidechnediywkbkhanam sungcaaesdngbukhkhl canwn rupaebb kal aelakarkratha twxyangechn alintukkontironten chn kalngthukthalay ali raksphth thalay intu xdit thukkratha kontu kal rahwang ironta xdit kalngkratha en burusthi 1 exkphcn bukhkhlaelacanwnaesdngodykaretimpccykhxngkarkkrrmtrngthisrphnamthiekiywkhxng en intwxyangkhangtn pccythichibngkalaelakarkrathaetimthiraksphth karkrathainphasathmilmisxngaebbkhuxprathanthukkrathaodykrrm hruxprathanaesdngkarkrathatxkrrm kalinphasathmilmisamaebb khux xdit pccubn aelaxnakht sungcabngchidwypccythrrmdahruxsmburnsungepnpccyprakxbxngkhprakxbxunphasathmilimmikhanahnanam mikaraeyksrphnamrwmaelaimrwmphufngsahrbburusthi 1 phhuphcn immikaraebngrahwangkhakhunsphthkbkriyawiessn eriykwa criccol ehmuxnkn khasnthaneriykwa itaiccolokhrngsrangpraoykhnxkcakinbthkwi kareriyngkhainpraoykhepnaebbprathan krrm kriya praoykhimcaepntxngmikhrbthngsamswn epnipidthicamipraoykhthimiaetkriya echn atu en uitu khuxbankhxngchn immikhathimikhwamhmaytrngkb verb to be inphasaxngkvsxangxingA H Arden A progressive grammar of the Tamil language 5th edition 1942