เซอร์โรนัลด์ รอสส์ (Sir Ronald Ross; 13 พฤษภาคม ค.ศ. 1857 – 16 กันยายน ค.ศ. 1932) เป็นแพทย์ชาวอังกฤษ-อินเดีย ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์เมื่อปี ค.ศ. 1902 เนื่องจากการค้นพบวงจรชีวิตของปรสิตโรคมาลาเรีย พลาสโมเดียม (Plasmodium)
เซอร์โรนัลด์ รอสส์ | |
---|---|
เกิด | 13 พฤษภาคม ค.ศ. 1857 , อินเดีย |
เสียชีวิต | 16 กันยายน ค.ศ. 1932 ลอนดอน, อังกฤษ | (75 ปี)
สัญชาติ | สหราชอาณาจักร |
ศิษย์เก่า | St. Fratbore Hospital |
มีชื่อเสียงจาก | การค้นพบปรสิตโรคมาลาเรีย |
รางวัล | รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ (ค.ศ. 1902) |
อาชีพทางวิทยาศาสตร์ | |
สาขา | แพทยศาสตร์ |
ประวัติ
วัยเด็ก
โรนัลด์ รอสส์ เกิดที่ อินเดีย เขาเป็นบุตรชายคนโตของพลเอก เซอร์แคมป์เบลล์ เคลย์ แกรนท์ รอสส์ (General Sir Campbell Claye Grant Ross) แห่งกองทัพบริติชอินเดีย และมาธิลดา ชาร์ล็อตต์ เอลเดอร์ตัน (Matilda Charlotte Elderton) ปู่ของรอสส์คือพันโทฮิวจ์ รอสส์ (Lieutenant Colonel Hugh Ross)
เมื่อรอสส์อายุได้ 8 ปี เขาถูกส่งไปศึกษาที่อังกฤษ หลังจากสำเร็จการศึกษาชั้นต้นจากโรงเรียนเล็กๆ 2 แห่งในเมืองไรด์ เขาถูกส่งไปยังโรงเรียนประจำที่สปริงฮิลล์ ใกล้กับเมืองเซาท์แธมป์ตันในปี ค.ศ. 1869
รอสส์สำเร็จการศึกษาด้านแพทยศาสตร์จากโรงพยาบาลเซนต์บาร์โธโลมิวในลอนดอนเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 1875 เขาผ่านการสอบไล่ใน ค.ศ. 1880 และได้เป็นสมาชิกราชวิทยาลัยศัลยแพทย์ (MRCS) และ Worshipful Society of Apothecaries (LSA) เขาได้เข้าร่วมหน่วย Indian Medical Service ซึ่งเป็นหน่วยในหน่วยแพทย์ทหารของบริติชอินเดียใน ค.ศ. 1881 โดยรับตำแหน่งแรกที่มัทราส
การค้นพบ
รอสส์ศึกษาเกี่ยวกับมาลาเรียระหว่าง ค.ศ. 1881 และ 1899 เขาทำงานด้านมาลาเรียในกัลกัตตาที่โรงพยาบาล Presidency General Hospital ที่ซึ่งเขามีผู้ช่วยเป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวอินเดียชื่อ Kishori Mohan Bandyopadhyay ในปี ค.ศ. 1883 รอสส์รับตำแหน่งเป็นศัลยแพทย์กองทหารรักษาการณ์ (Acting Garrison Surgeon) ที่เบงคลูรูที่ซึ่งเขาค้นพบการควบคุมยุงโดยการป้องกันไม่ให้ยุงเข้าถึงแหล่งน้ำ
ใน ค.ศ. 1897 รอสส์ได้รับตำแหน่งที่ และป่วยด้วยโรคมาลาเรีย หลังจากนั้นเขาถูกย้ายไปโรงพยาบาลทหารที่ เขาได้ค้นพบเชื้อมาลาเรียภายในยุงก้นปล่อง เขาเรียกชื่อเชื้อในตอนแรกว่า ปีกเป็นจุดด่าง (dapple-wings) และจากสมมติฐานของเซอร์แพทริก แมนสัน (Sir Patrick Manson) ที่ว่าสารก่อโรคมาลาเรียนั่นมีในยุงซึ่งเป็นพาหะ เขาจึงสามารถพบเชื้อมาลาเรียได้จากยุงที่กัดผู้ป่วยมาลาเรียชื่อว่า ฮุสเซน ข่าน (Hussain Khan) หลังจากนั้นเขาได้ศึกษานกที่ป่วยด้วยมาลาเรีย และสามารถสรุปวงชีวิตของเชื้อพลาสโมเดียม ปรสิตโรคมาลาเรียได้อย่างสมบูรณ์ รวมทั้งค้นพบเชื้อในต่อมน้ำลายยุง เขาได้แสดงให้เห็นว่าโรคมาลาเรียสามารถติดต่อจากนกที่ป่วยไปยังนกปกติอีกตัวโดยยุงเป็นพาหะ การค้นพบนี้ทำให้สามารถสรุปกลไกการเกิดโรคในมนุษย์ได้
ในปี ค.ศ. 1902 รอสส์ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์สำหรับการศึกษาด้านมาลาเรีย ส่วนผู้ช่วยชาวอินเดียของเขา Kishori Mohan Bandyopadhyay ได้รับเหรียญทองจากกษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร
ในปี ค.ศ. 1899 รอสส์ได้กลับไปยังอังกฤษและทำงานที่โรงเรียนเวชศาสตร์เขตร้อนแห่งลิเวอร์พูล (Liverpool School of Tropical Medicine) ในตำแหน่งศาสตราจารย์ด้านเวชศาสตร์เขตร้อน ค.ศ. 1901 รอสส์ได้รับเลือกเป็นสมาชิกราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งอังกฤษ และยังเป็นสมาชิกราชสมาคมซึ่งเขาดำรงตำแหน่งรองประธานตั้งแต่ ค.ศ. 1911 ถึง 1913 รอสส์ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ Most Honourable Order of Bath จากสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 ในปี ค.ศ. 1902 และได้รับบรรดาศักดิ์เป็น Knight Commander of Order of Bath ในปี ค.ศ. 1911
รอสส์ได้อุทิศตนทำงานเพื่อป้องกันโรคมาลาเรียในหลายประเทศ ไม่ว่าจะเป็นแอฟริกาตะวันตก, บริเวณคลองสุเอซ, กรีซ, มอริเชียส, ไซปรัส และบริเวณรับผลกระทบจากสงครามโลกครั้งที่ 1 เขาได้ตั้งองค์กรเพื่อป้องกันโรคมาลาเรียภายในโรงงานอุตสาหกรรมในอินเดียและศรีลังกา เขาได้อุทิศตนเพื่อศึกษาระบาดวิทยาของมาลาเรียและวิธีการสำรวจและประเมิน แต่ผลงานสำคัญของเขาคือการพัฒนาตัวแบบทางคณิตศาสตร์เพื่อใช้ศึกษาระบาดวิทยา โดยรายงานครั้งแรกที่มอริเชียสในปี ค.ศ. 1908 ซึ่งตัวแบบนี้ช่วยป้องกันโรคมาลาเรียที่มอริเชียสในปี ค.ศ. 1911 และต่อมาได้นำไปใช้ทั่วไปในรายงานซึ่งตีพิมพ์โดยราชสมาคมในปี ค.ศ. 1915 และ 1916
แหล่งข้อมูลอื่น
- History
- Anecdotes from Ronald Ross' life
- Royal Society citation (1901)[]
- Nobel prize page
- Ross and the Discovery that Mosquitoes Transmit Malaria Parasites
- Ross's three part paper on the theory of epidemics is available on the web
- Ronald Ross, "An Application of the Theory of Probabilities to the Study of a priori Pathometry. Part I", Proceedings of the Royal Society of London. Series A, Vol. 92 (1916)pp. 204-230.
- Ronald Ross; Hilda P. Hudson, "An Application of the Theory of Probabilities to the Study of a priori Pathometry. Part II", Proceedings of the Royal Society of London. Series A, Vol. 93 (1917)pp. 212-225.
- Ronald Ross; Hilda P. Hudson, "An Application of the Theory of Probabilities to the Study of a priori Pathometry. Part III", Proceedings of the Royal Society of London. Series A, Vol. 93 (1917)pp. 225-240.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
esxrornld rxss Sir Ronald Ross 13 phvsphakhm kh s 1857 16 knyayn kh s 1932 epnaephthychawxngkvs xinediy idrbrangwloneblsakhasrirwithyahruxkaraephthyemuxpi kh s 1902 enuxngcakkarkhnphbwngcrchiwitkhxngprsitorkhmalaeriy phlasomediym Plasmodium esxrornld rxssekid13 phvsphakhm kh s 1857 1857 05 13 xinediyesiychiwit16 knyayn kh s 1932 1932 09 16 75 pi lxndxn xngkvssychatishrachxanackrsisyekaSt Fratbore Hospitalmichuxesiyngcakkarkhnphbprsitorkhmalaeriyrangwlrangwloneblsakhasrirwithyahruxkaraephthy kh s 1902 xachiphthangwithyasastrsakhaaephthysastrprawtiwyedk ornld rxss ekidthi xinediy ekhaepnbutrchaykhnotkhxngphlexk esxraekhmpebll ekhly aekrnth rxss General Sir Campbell Claye Grant Ross aehngkxngthphbritichxinediy aelamathilda charlxtt exledxrtn Matilda Charlotte Elderton pukhxngrxsskhuxphnothhiwc rxss Lieutenant Colonel Hugh Ross emuxrxssxayuid 8 pi ekhathuksngipsuksathixngkvs hlngcaksaerckarsuksachntncakorngeriynelk 2 aehnginemuxngird ekhathuksngipyngorngeriynpracathispringhill iklkbemuxngesathaethmptninpi kh s 1869 rxsssaerckarsuksadanaephthysastrcakorngphyabalesntbarotholmiwinlxndxnemuxwnthi 29 tulakhm kh s 1875 ekhaphankarsxbilin kh s 1880 aelaidepnsmachikrachwithyalyslyaephthy MRCS aela Worshipful Society of Apothecaries LSA ekhaidekharwmhnwy Indian Medical Service sungepnhnwyinhnwyaephthythharkhxngbritichxinediyin kh s 1881 odyrbtaaehnngaerkthimthras karkhnphb rxsssuksaekiywkbmalaeriyrahwang kh s 1881 aela 1899 ekhathangandanmalaeriyinklkttathiorngphyabal Presidency General Hospital thisungekhamiphuchwyepnnkwithyasastrchawxinediychux Kishori Mohan Bandyopadhyay inpi kh s 1883 rxssrbtaaehnngepnslyaephthykxngthharrksakarn Acting Garrison Surgeon thiebngkhluruthisungekhakhnphbkarkhwbkhumyungodykarpxngknimihyungekhathungaehlngna in kh s 1897 rxssidrbtaaehnngthi aelapwydwyorkhmalaeriy hlngcaknnekhathukyayiporngphyabalthharthi ekhaidkhnphbechuxmalaeriyphayinyungknplxng ekhaeriykchuxechuxintxnaerkwa pikepncuddang dapple wings aelacaksmmtithankhxngesxraephthrik aemnsn Sir Patrick Manson thiwasarkxorkhmalaeriynnmiinyungsungepnphaha ekhacungsamarthphbechuxmalaeriyidcakyungthikdphupwymalaeriychuxwa husesn khan Hussain Khan hlngcaknnekhaidsuksankthipwydwymalaeriy aelasamarthsrupwngchiwitkhxngechuxphlasomediym prsitorkhmalaeriyidxyangsmburn rwmthngkhnphbechuxintxmnalayyung ekhaidaesdngihehnwaorkhmalaeriysamarthtidtxcaknkthipwyipyngnkpktixiktwodyyungepnphaha karkhnphbnithaihsamarthsrupklikkarekidorkhinmnusyid inpi kh s 1902 rxssidrbrangwloneblsakhasrirwithyahruxkaraephthysahrbkarsuksadanmalaeriy swnphuchwychawxinediykhxngekha Kishori Mohan Bandyopadhyay idrbehriyythxngcakkstriyaehngshrachxanackr inpi kh s 1899 rxssidklbipyngxngkvsaelathanganthiorngeriynewchsastrekhtrxnaehngliewxrphul Liverpool School of Tropical Medicine intaaehnngsastracarydanewchsastrekhtrxn kh s 1901 rxssidrbeluxkepnsmachikrachwithyalyslyaephthyaehngxngkvs aelayngepnsmachikrachsmakhmsungekhadarngtaaehnngrxngprathantngaet kh s 1911 thung 1913 rxssidrbekhruxngrachxisriyaphrn Most Honourable Order of Bath caksmedcphraecaexdewirdthi 7 inpi kh s 1902 aelaidrbbrrdaskdiepn Knight Commander of Order of Bath inpi kh s 1911 rxssidxuthistnthanganephuxpxngknorkhmalaeriyinhlaypraeths imwacaepnaexfrikatawntk briewnkhlxngsuexs kris mxriechiys isprs aelabriewnrbphlkrathbcaksngkhramolkkhrngthi 1 ekhaidtngxngkhkrephuxpxngknorkhmalaeriyphayinorngnganxutsahkrrminxinediyaelasrilngka ekhaidxuthistnephuxsuksarabadwithyakhxngmalaeriyaelawithikarsarwcaelapraemin aetphlngansakhykhxngekhakhuxkarphthnatwaebbthangkhnitsastrephuxichsuksarabadwithya odyrayngankhrngaerkthimxriechiysinpi kh s 1908 sungtwaebbnichwypxngknorkhmalaeriythimxriechiysinpi kh s 1911 aelatxmaidnaipichthwipinrayngansungtiphimphodyrachsmakhminpi kh s 1915 aela 1916aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb ornld rxss History Anecdotes from Ronald Ross life Royal Society citation 1901 lingkesiy Nobel prize page Ross and the Discovery that Mosquitoes Transmit Malaria Parasites Ross s three part paper on the theory of epidemics is available on the web Ronald Ross An Application of the Theory of Probabilities to the Study of a priori Pathometry Part I Proceedings of the Royal Society of London Series A Vol 92 1916 pp 204 230 Ronald Ross Hilda P Hudson An Application of the Theory of Probabilities to the Study of a priori Pathometry Part II Proceedings of the Royal Society of London Series A Vol 93 1917 pp 212 225 Ronald Ross Hilda P Hudson An Application of the Theory of Probabilities to the Study of a priori Pathometry Part III Proceedings of the Royal Society of London Series A Vol 93 1917 pp 225 240