โรคโมยาโมยา (อังกฤษ: Moyamoya disease) เป็นโรคของหลอดเลือดแดงในสมอง ทำให้หลอดเลือดแดงในสมองบางส่วนเกิดตีบแคบ หรือตันขึ้นมา โดยไม่มีสาเหตุเหมือนโรคหลอดเลือดตีบจากสาเหตุอื่น (เช่น จากลิ่มเลือด หรือไขมันอุดตัน) จากนั้นร่างกายจึงสร้างเพื่อชดเชยการอุดตันของการไหลเวียนเลือด หลอดเลือดเบี่ยงที่ถูกสร้างขึ้นใหม่เหล่านี้จะมีขนาดเล็ก ผนังอ่อน เสี่ยงต่อการเกิด การเกิดเป็นหลอดเลือดโป่งพอง และการตีบตันจากการเกิดลิ่มเลือด ในการตรวจด้วย จะพบหลอดเลือดฝอยเล็กๆเหล่านี้ มีลักษณะปรากฎบนผลสแกนคล้ายกลุ่มควัน หรือ โมยาโมยา (もやもや) ในภาษาญี่ปุ่น
โรคโมยาโมยา (Moyamoya disease) | |
---|---|
ภาพ MRI แบบ T1W ของสมองผู้ป่วยโรคโมยาโมยา บริเวณศรชี้แสดงให้เห็นจุดที่ไม่มีเลือดไหลผ่านในบริเวณบาซัลแกงเกลีย | |
สาขาวิชา | ประสาทศัลยศาสตร์ |
อาการ | สมองขาดเลือดชั่วคราว, โรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลัน, อาการชัก |
ภาวะแทรกซ้อน | หลอดเลือดสมองโป่งพอง, หลอดเลือดสมองแตก |
การตั้งต้น | กลุ่มเด็กอายุ 5-9 ปี และกลุ่มผู้ใหญ่อายุ 35-39 ปี[ |
ปัจจัยเสี่ยง | พันธุกรรม, กลุ่มอาการดาวน์, โรคโลหิตจางเม็ดเลือดแดงรูปเคียว, นิวโรไฟโบรมาโตซิส I, โรคหัวใจแต่กำเนิด, การบาดเจ็บที่ศีรษะ |
การรักษา | การผ่าตัด |
ยา | ยาต้านเกล็ดเลือด |
หากพบเป็นโรคเดี่ยวๆ โดยไม่มีสาเหตุอื่น จะเรียกภาวะนี้ว่า "โรคโมยาโมยา (Moyamoya disease)" และมักพบหลอดเลือดตีบพร้อมมีหลอดเลือดเบี่ยงเช่นนี้ทั้งสองข้างเหมือนกัน ในขณะที่หากพบเป็นข้างเดียว หรือพบพร้อมกับสาเหตุอื่นที่ทำให้เกิดการตีบของหลอดเลือด จะเรียกภาวะดังกล่าวว่า "กลุ่มอาการโมยาโมยา (Moyamoya syndrome) " ภาวะที่เป็นสาเหตุของกลุ่มอาการโมยาโมยา เช่น SLE, โรค sickle cell anemia หรือ การอักเสบของหลอดเลือด
โรคนี้เจอมากในคนเชื้อสายเอเชียมากกว่ายุโรป โดยมีความชุกของโรคราว ๆ 1:200,000 คน ขณะที่ในสหรัฐอเมริกาจะมีความชุกราว 1 ในล้าน ทำให้เชื่อว่าเป็นโรคที่สามารถถ่ายทอดได้ทางพันธุกรรมได้บางส่วน
อาการ
ผู้ป่วยมักมาพบแพทย์ด้วยอาการสมองขาดเลือดชั่วคราว หลอดเลือดสมองตีบเฉียบพลัน หลอดเลือดสมองแตกเฉียบพลัน หรืออาการชัก ผู้ป่วยที่พบส่วนใหญ่มี 2 กลุ่ม คือกลุ่มเด็กอายุ 5-9 ปี และกลุ่มผู้ใหญ่อายุ 35-39 ปี โดยที่กลุ่มเด็กมักจะมาด้วยอาการคล้าย stroke ทำให้การวินิจฉัยล่าช้า ขณะที่กลุ่มผู้ใหญ่จะมีอาการของเลือดออกในสมองได้บ่อยกว่า
แต่บางรายอาจจะไม่มีอาการใดๆเลยก็ได้ เพราะตรวจพบโดยบังเอิญจากการตรวจสุขภาพประจำปีหรือมีการตรวจสแกนสมองจากสาเหตุอื่นๆ แต่กลุ่มนี้ก็พบความเสี่ยงจากโรคเส้นเลือดสมองตีบหรือแตกเช่นกัน โดยมีความเสี่ยงจากการเป็นโรคเส้นเลือดสมองต่อปี 3.2% เมื่อติดตามผลไปสักระยะ
การรักษา
การรักษาด้วยการใช้ยาได้แก่การใช้ยาต้านเกล็ดเลือด (เช่น แอสไพริน) เพื่อป้องกันการเกิดลิ่มเลือดใหม่ ไม่ให้ไปอุดตันเส้นเลือดที่ตีบเล็กนั้น แต่ถือว่าเป็นเพียงการซื้อเวลา แต่ส่วนใหญ่แล้วผู้ป่วยจะต้องได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัด เพื่อเชื่อมเส้นเลือดที่ดี เข้าสู่เนื้อสมองที่ขาดเลือดโดยตรง
ทั้งนี้จากการที่โรคโมยาโมยามักเกิดกับหลอดเลือดแดงอินเทอร์นัลคารอทิดและหลอดเลือดแดงในบริเวณใกล้เคียงอย่างหลอดเลือดแดงแอนทีเรียร์ซีรีบรัลและหลอดเลือดแดงมิดเดิลซีรีบรัลเท่านั้น ศัลยแพทย์สามารถผ่าตัดเชื่อมหลอดเลือดแดงอื่น เช่น หลอดเลือดแดงเอ็กซ์เทอร์นัลคารอทิด หรือ หลอดเลือดแดงซูเปอร์ฟิเชียลเทมโพรัล มาเชื่อมกันเพื่อเป็นทางส่งเลือดทดแทนหลอดเลือดเดิมได้ โดยอาจผ่าตัดเย็บเชื่อมเข้าโดยตรง (direct bypass) หรือผ่าตัดเพื่อวางหลอดเลือดลงบนเนื้อสมองให้เกิดการสร้างหลอดเลือดใหม่ (indirect bypass) ซึ่งการผ่าตัดแบบ indirect จะนิยมในเด็กมากกว่า เพราะการเชื่อมแบบโดยตรงทำได้ยากกว่า เพราะเส้นเลือดมีขนาดเล็ก
อย่างไรก็ตาม การเชื่อมเส้นเลือดแบบ indirect อาจจะต้องรอเวลาให้เส้นเลือดใหม่ ค่อยๆสร้างขึ้นมา และใช้เวลาหลายเดือน
พยากรณ์โรค
โรคนี้เป็นโรคที่มีระยะการดำเนินของโรคที่จะแย่ลงไปเรื่อยๆ (progressive disease) หากไม่ได้รับการรักษา โดยเริ่มต้นที่ระยะที่ 1 ไปจบที่ระยะที่ 6 ตามที่ศาสตราจารย์ซูซูกิบรรยายไว้ แต่ผลลัพธ์ของการรักษาเมื่อได้รับการผ่าตัดทำทางเลี่ยงหลอดเลือดที่ตีบแล้วค่อนข้างได้ผลดี ผู้ป่วยโรคนี้ประมาณร้อยละ 30 จะมีปัญหาสติปัญญาบกพร่องในภายหลัง แม้จะไม่เกิดโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลันก็ตาม ทำให้เชื่อกันว่าการมีเลือดไปเลี้ยงสมองน้อยกว่าปกติเรื้อรัง (chronic hypoperfusion) เป็นปัจจัยที่ส่งผล
อ้างอิง
- Scott, R. Michael; Smith, Edward R. (2009). "Moyamoya Disease and Moyamoya Syndrome". New England Journal of Medicine. 360 (12): 1226–1237. doi:10.1056/NEJMra0804622. PMID 19297575.
- Ganesan, Vijeya; Smith, Edward R. (2015). "Moyamoya: Defining current knowledge gaps". Developmental Medicine & Child Neurology. 57 (9): 786–787. doi:10.1111/dmcn.12708. PMID 25683905.
- Lee, Chang Min; Lee, Sang Yeob; Ryu, Seung Hoon; Lee, Sung Won; Park, Kyung Won; Chung, Won Tae (December 2003). "Systemic Lupus Erythematosus Associated with Familial Moyamoya Disease". The Korean Journal of Internal Medicine. 18 (4): 244–247. doi:10.3904/kjim.2003.18.4.244. ISSN 1226-3303. PMC 4531634. PMID 14717235.
- Kauv, Paul; Gaudré, Noémie; Hodel, Jérôme; Tuilier, Titien; Habibi, Anoosha; Oppenheim, Catherine; Edjlali, Myriam; Hervé, Dominique; Calvet, David; Bartolucci, Pablo (2019-01-22). "Characteristics of Moyamoya Syndrome in Sickle-Cell Disease by Magnetic Resonance Angiography: An Adult-Cohort Study". Frontiers in Neurology. 10: 15. doi:10.3389/fneur.2019.00015. ISSN 1664-2295. PMC 6349744. PMID 30723452.
- Kraemer, Markus; Berlit, Peter (May 2010). "Primary central nervous system vasculitis and moyamoya disease: similarities and differences". Journal of Neurology. 257 (5): 816–819. doi:10.1007/s00415-009-5425-7. ISSN 1432-1459. PMID 20037765.
- Hervé, D.; Touraine, P.; Verloes, A.; Miskinyte, S.; Krivosic, V.; Logeart, D.; Alili, N.; Laredo, J. D.; Gaudric, A.; Houdart, E.; Metzger, J. P. (July 20, 2010). "A hereditary moyamoya syndrome with multisystemic manifestations". Neurology. 75 (3): 259–264. doi:10.1212/WNL.0b013e3181e8ee3f. ISSN 1526-632X. PMID 20644152.
- Kleinloog, R (May 2012). "Regional differences in incidence and patient characteristics of moyamoya disease: a systematic review". J Neurol Neurosurg Psychiatry. 83 (5): 531–6. doi:10.1136/jnnp-2011-301387. PMID 22378916.
- Duan, Lian; Bao, Xiang-Yang; Yang, Wei-Zhong; Shi, Wan-Chao; Li, De-Sheng; Zhang, Zheng-Shan; Zong, Rui; Han, Cong; Zhao, Feng; Feng, Jie (2012). "Moyamoya Disease in China". Stroke. 43 (1): 56–60. doi:10.1161/STROKEAHA.111.621300. PMID 22020027.
- Kuroda, Satoshi; Hashimoto, Nobuo; Yoshimoto, Takashi; Iwasaki, Yoshinobu (May 2007). "Radiological Findings, Clinical Course, and Outcome in Asymptomatic Moyamoya Disease: Results of Multicenter Survey in Japan". Stroke (ภาษาอังกฤษ). 38 (5): 1430–1435. doi:10.1161/STROKEAHA.106.478297. ISSN 0039-2499.
- Gaillard, Frank. "Suzuki staging system for Moyamoya | Radiology Reference Article | Radiopaedia.org". Radiopaedia (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน).
- Sun, Hai; Wilson, Christopher; Ozpinar, Alp; Safavi-Abbasi, Sam; Zhao, Yan; Nakaji, Peter; Wanebo, John E.; Spetzler, Robert F. (August 2016). "Perioperative Complications and Long-Term Outcomes After Bypasses in Adults with Moyamoya Disease: A Systematic Review and Meta-Analysis". World Neurosurgery. 92: 179–188. doi:10.1016/j.wneu.2016.04.083. ISSN 1878-8769. PMID 27150649.
- . PMID 30309228.
{{}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
((help));|title=
ไม่มีหรือว่างเปล่า ((help))
แหล่งข้อมูลอื่น
การจำแนกโรค | D |
---|---|
ทรัพยากรภายนอก |
|
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
orkhomyaomya xngkvs Moyamoya disease epnorkhkhxnghlxdeluxdaednginsmxng thaihhlxdeluxdaednginsmxngbangswnekidtibaekhb hruxtnkhunma odyimmisaehtuehmuxnorkhhlxdeluxdtibcaksaehtuxun echn caklimeluxd hruxikhmnxudtn caknnrangkaycungsrangephuxchdechykarxudtnkhxngkarihlewiyneluxd hlxdeluxdebiyngthithuksrangkhunihmehlanicamikhnadelk phnngxxn esiyngtxkarekid karekidepnhlxdeluxdopngphxng aelakartibtncakkarekidlimeluxd inkartrwcdwy caphbhlxdeluxdfxyelkehlani milksnaprakdbnphlsaeknkhlayklumkhwn hrux omyaomya もやもや inphasayipunorkhomyaomya Moyamoya disease phaph MRI aebb T1W khxngsmxngphupwyorkhomyaomya briewnsrchiaesdngihehncudthiimmieluxdihlphaninbriewnbaslaekngekliysakhawichaprasathslysastrxakarsmxngkhadeluxdchwkhraw orkhhlxdeluxdsmxngechiybphln xakarchkphawaaethrksxnhlxdeluxdsmxngopngphxng hlxdeluxdsmxngaetkkartngtnklumedkxayu 5 9 pi aelaklumphuihyxayu 35 39 pi pccyesiyngphnthukrrm klumxakardawn orkholhitcangemdeluxdaedngrupekhiyw niworifobrmaotsis I orkhhwicaetkaenid karbadecbthisirsakarrksakarphatdyayatanekldeluxd hakphbepnorkhediyw odyimmisaehtuxun caeriykphawaniwa orkhomyaomya Moyamoya disease aelamkphbhlxdeluxdtibphrxmmihlxdeluxdebiyngechnnithngsxngkhangehmuxnkn inkhnathihakphbepnkhangediyw hruxphbphrxmkbsaehtuxunthithaihekidkartibkhxnghlxdeluxd caeriykphawadngklawwa klumxakaromyaomya Moyamoya syndrome phawathiepnsaehtukhxngklumxakaromyaomya echn SLE orkh sickle cell anemia hrux karxkesbkhxnghlxdeluxd orkhniecxmakinkhnechuxsayexechiymakkwayuorp odymikhwamchukkhxngorkhraw 1 200 000 khn khnathiinshrthxemrikacamikhwamchukraw 1 inlan thaihechuxwaepnorkhthisamarththaythxdidthangphnthukrrmidbangswnxakarphupwymkmaphbaephthydwyxakarsmxngkhadeluxdchwkhraw hlxdeluxdsmxngtibechiybphln hlxdeluxdsmxngaetkechiybphln hruxxakarchk phupwythiphbswnihymi 2 klum khuxklumedkxayu 5 9 pi aelaklumphuihyxayu 35 39 pi odythiklumedkmkcamadwyxakarkhlay stroke thaihkarwinicchylacha khnathiklumphuihycamixakarkhxngeluxdxxkinsmxngidbxykwa aetbangrayxaccaimmixakaridelykid ephraatrwcphbodybngexiycakkartrwcsukhphaphpracapihruxmikartrwcsaeknsmxngcaksaehtuxun aetklumnikphbkhwamesiyngcakorkhesneluxdsmxngtibhruxaetkechnkn odymikhwamesiyngcakkarepnorkhesneluxdsmxngtxpi 3 2 emuxtidtamphlipskrayakarrksakarrksadwykarichyaidaekkarichyatanekldeluxd echn aexsiphrin ephuxpxngknkarekidlimeluxdihm imihipxudtnesneluxdthitibelknn aetthuxwaepnephiyngkarsuxewla aetswnihyaelwphupwycatxngidrbkarrksadwykarphatd ephuxechuxmesneluxdthidi ekhasuenuxsmxngthikhadeluxdodytrng thngnicakkarthiorkhomyaomyamkekidkbhlxdeluxdaedngxinethxrnlkharxthidaelahlxdeluxdaednginbriewniklekhiyngxyanghlxdeluxdaedngaexnthieriyrsiribrlaelahlxdeluxdaedngmidedilsiribrlethann slyaephthysamarthphatdechuxmhlxdeluxdaedngxun echn hlxdeluxdaedngexksethxrnlkharxthid hrux hlxdeluxdaedngsuepxrfiechiylethmophrl maechuxmknephuxepnthangsngeluxdthdaethnhlxdeluxdedimid odyxacphatdeybechuxmekhaodytrng direct bypass hruxphatdephuxwanghlxdeluxdlngbnenuxsmxngihekidkarsranghlxdeluxdihm indirect bypass sungkarphatdaebb indirect caniyminedkmakkwa ephraakarechuxmaebbodytrngthaidyakkwa ephraaesneluxdmikhnadelk xyangirktam karechuxmesneluxdaebb indirect xaccatxngrxewlaihesneluxdihm khxysrangkhunma aelaichewlahlayeduxnphyakrnorkhorkhniepnorkhthimirayakardaeninkhxngorkhthicaaeylngiperuxy progressive disease hakimidrbkarrksa odyerimtnthirayathi 1 ipcbthirayathi 6 tamthisastracarysusukibrryayiw aetphllphthkhxngkarrksaemuxidrbkarphatdthathangeliynghlxdeluxdthitibaelwkhxnkhangidphldi phupwyorkhnipramanrxyla 30 camipyhastipyyabkphrxnginphayhlng aemcaimekidorkhhlxdeluxdsmxngechiybphlnktam thaihechuxknwakarmieluxdipeliyngsmxngnxykwapktieruxrng chronic hypoperfusion epnpccythisngphlxangxingScott R Michael Smith Edward R 2009 Moyamoya Disease and Moyamoya Syndrome New England Journal of Medicine 360 12 1226 1237 doi 10 1056 NEJMra0804622 PMID 19297575 Ganesan Vijeya Smith Edward R 2015 Moyamoya Defining current knowledge gaps Developmental Medicine amp Child Neurology 57 9 786 787 doi 10 1111 dmcn 12708 PMID 25683905 Lee Chang Min Lee Sang Yeob Ryu Seung Hoon Lee Sung Won Park Kyung Won Chung Won Tae December 2003 Systemic Lupus Erythematosus Associated with Familial Moyamoya Disease The Korean Journal of Internal Medicine 18 4 244 247 doi 10 3904 kjim 2003 18 4 244 ISSN 1226 3303 PMC 4531634 PMID 14717235 Kauv Paul Gaudre Noemie Hodel Jerome Tuilier Titien Habibi Anoosha Oppenheim Catherine Edjlali Myriam Herve Dominique Calvet David Bartolucci Pablo 2019 01 22 Characteristics of Moyamoya Syndrome in Sickle Cell Disease by Magnetic Resonance Angiography An Adult Cohort Study Frontiers in Neurology 10 15 doi 10 3389 fneur 2019 00015 ISSN 1664 2295 PMC 6349744 PMID 30723452 Kraemer Markus Berlit Peter May 2010 Primary central nervous system vasculitis and moyamoya disease similarities and differences Journal of Neurology 257 5 816 819 doi 10 1007 s00415 009 5425 7 ISSN 1432 1459 PMID 20037765 Herve D Touraine P Verloes A Miskinyte S Krivosic V Logeart D Alili N Laredo J D Gaudric A Houdart E Metzger J P July 20 2010 A hereditary moyamoya syndrome with multisystemic manifestations Neurology 75 3 259 264 doi 10 1212 WNL 0b013e3181e8ee3f ISSN 1526 632X PMID 20644152 Kleinloog R May 2012 Regional differences in incidence and patient characteristics of moyamoya disease a systematic review J Neurol Neurosurg Psychiatry 83 5 531 6 doi 10 1136 jnnp 2011 301387 PMID 22378916 Duan Lian Bao Xiang Yang Yang Wei Zhong Shi Wan Chao Li De Sheng Zhang Zheng Shan Zong Rui Han Cong Zhao Feng Feng Jie 2012 Moyamoya Disease in China Stroke 43 1 56 60 doi 10 1161 STROKEAHA 111 621300 PMID 22020027 Kuroda Satoshi Hashimoto Nobuo Yoshimoto Takashi Iwasaki Yoshinobu May 2007 Radiological Findings Clinical Course and Outcome in Asymptomatic Moyamoya Disease Results of Multicenter Survey in Japan Stroke phasaxngkvs 38 5 1430 1435 doi 10 1161 STROKEAHA 106 478297 ISSN 0039 2499 Gaillard Frank Suzuki staging system for Moyamoya Radiology Reference Article Radiopaedia org Radiopaedia phasaxngkvsaebbxemrikn Sun Hai Wilson Christopher Ozpinar Alp Safavi Abbasi Sam Zhao Yan Nakaji Peter Wanebo John E Spetzler Robert F August 2016 Perioperative Complications and Long Term Outcomes After Bypasses in Adults with Moyamoya Disease A Systematic Review and Meta Analysis World Neurosurgery 92 179 188 doi 10 1016 j wneu 2016 04 083 ISSN 1878 8769 PMID 27150649 PMID 30309228 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a Cite journal txngkar journal help title immihruxwangepla help aehlngkhxmulxunkarcaaenkorkhDICD 10 Xxx xICD xxxMeSH D009072thrphyakrphaynxk orkhomyaomya bthkhwamaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk