โรคลักปิดลักเปิด (อังกฤษ: scurvy) เป็นโรคที่เกิดจากการขาดวิตามินซี ซึ่งจำเป็นต่อการสังเคราะห์คอลลาเจนในมนุษย์ ทั้งนี้ ชื่อเคมีของวิตามินซี กรดแอสคอร์บิก มาจากคำว่า scorbutus ในภาษาละติน หรือ scurvy ในภาษาอังกฤษ โรคลักปิดลักเปิดมักแสดงอาการความรู้สึกไม่สบายและภาวะง่วงงุนในระยะเริ่มแรก ตามมาด้วยการเกิดจุดบนผิวหนัง เหงือกยุ่ย และเลือดออกตามเยื่อเมือก จุดดังกล่าวพบมากที่สุดบนต้นขาและขา และบุคคลที่ป่วยเป็นโรคลักปิดลักเปิดจะดูซีด ซึมเศร้า และเคลื่อนไหวไม่ได้บางส่วน เมื่อโรคทวีความรุนแรงขึ้น อาจมีแผลกลัดหนองเปิด สูญเสียฟัน ดีซ่าน ไข้ โรคเส้นประสาท จนถึงเสียชีวิตได้
โรคลักปิดลักเปิด | |
---|---|
เหงือกโรคลักปิดลักเปิด อาการของโรค สังเกตสีแดงของเหงือกใน | |
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก | |
ICD-10 | E54 |
ICD- | 267 |
240400 | |
13930 | |
000355 | |
med/2086 derm/521 ped/2073 radio/628 | |
MeSH | D012614 |
ครั้งหนึ่ง โรคลักปิดลักเปิดเคยพบมากในหมู่กะลาสี โจรสลัดและผู้ที่ล่องเรือในทะเลนานกว่าที่จะเก็บผักและผลไม้ได้ ซึ่งส่วนใหญ่คนเหล่านี้จะดำรงชีพด้วยเนื้อและธัญพืชที่ถนอมอาหารหรือเติมเกลือแทน และยังพบในหมู่ทหารที่ไม่ได้รับอาหารประเภทนี้เป็นเวลานาน ฮิปพอคราทีส (460-380 ปีก่อน ค.ศ.) เป็นผู้อธิบายโรคนี้ และการรักษาโรคด้วยสมุนไพรเป็นที่รู้จักกันในหลายวัฒนธรรมพื้นเมืองตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ โรคลักปิดลักเปิดเป็นหนึ่งในปัจจัยจำกัดการท่องทะเล มักคร่าชีวิตผู้โดยสารและลูกเรือเป็นจำนวนมากในการเดินทางไกล ๆ และยาวนาน
การรักษาโรคลักปิดลักเปิดด้วยการให้อาหารสด โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลไม้จำพวกส้ม เป็นคราว ๆ ปฏิบัติสืบต่อกันมาตั้งแต่สมัยโบราณ เจมส์ ลินด์ ศัลยแพทย์ชาวสก็อตในกองทัพเรืออังกฤษ เป็นคนแรกที่พิสูจน์ว่าโรคนี้สามารถรักษาได้ด้วยผลไม้พวกส้มในการทดลองที่เขาอธิบายในหนังสือของเขา A Treatise of the Scurvy (ศาสตร์นิพนธ์โรคลักปิดลักเปิด) ที่เขียนเมื่อ ค.ศ. 1753 แต่สาเหตุของโรคลักปิดลักเปิดยังไม่ทราบกันกระทั่ง ค.ศ. 1932
โรคลักปิดลักเปิดไม่เกิดในสัตว์ส่วนใหญ่ เพราะสัตว์สามารถสังเคราะห์วิตามินซีได้เอง ยกเว้นมนุษย์และไพรเมตชั้นสูงอื่น ๆ หนูตะเภา และค้างคาวเกือบทุกชนิด นกและปลาบางชนิด ที่ขาดเอนไซม์แอลกูโลโนแลกโตนอ็อกซิเดส (L-gulonolactone oxidase) ซึ่งจำเป็นต่อการสังเคราะห์วิตามินซี จึงจำเป็นต้องได้รับวิตามินซีจากอาหาร วิตามินซีพบมากในเยื่อพืช และมีความเข้มข้นสูงในผลไม้จำพวกส้ม (ส้ม เลมอน มะนาว เกรปฟรุต) มะเขือเทศ มันฝรั่ง กะหล่ำปลี และพริกหยวก นอกจากนี้ยังพบวิตามินซีในเนื้อเยื่อสัตว์ เช่นจากการศึกษาอาหารของชนพื้นเมืองอินุอิต (เอสกิโม) ซึ่งแทบไม่มีการรับประทานผักผลไม้แต่ไม่มีปัญหาโรคลักปิดลักเปิด พบว่าชาวอินุอิตได้รับวิตามินซีอย่างเพียงพอ จากอาหารพื้นเมืองเช่นหนังปลาวาฬ และผลิตภัณฑ์จากสัตว์อื่น ๆ ในเขตหนาวเช่น แมวน้ำ สิงโตทะเล ซึ่งมีวิตามินซีสูง โดยมีการรับประทานดิบ ๆ ไม่ผ่านความร้อน ทำให้วิตามินซีในเนื้อเยื่อสัตว์ไม่ถูกทำลาย
อ้างอิง
- Lind, James (1753). A Treatise on the Scurvy. London: A. Millar.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
orkhlkpidlkepid xngkvs scurvy epnorkhthiekidcakkarkhadwitaminsi sungcaepntxkarsngekhraahkhxllaecninmnusy thngni chuxekhmikhxngwitaminsi krdaexskhxrbik macakkhawa scorbutus inphasalatin hrux scurvy inphasaxngkvs orkhlkpidlkepidmkaesdngxakarkhwamrusukimsbayaelaphawangwngnguninrayaerimaerk tammadwykarekidcudbnphiwhnng ehnguxkyuy aelaeluxdxxktameyuxemuxk cuddngklawphbmakthisudbntnkhaaelakha aelabukhkhlthipwyepnorkhlkpidlkepidcadusid sumesra aelaekhluxnihwimidbangswn emuxorkhthwikhwamrunaerngkhun xacmiaephlkldhnxngepid suyesiyfn disan ikh orkhesnprasath cnthungesiychiwitidorkhlkpidlkepidehnguxkorkhlkpidlkepid xakarkhxngorkh sngektsiaedngkhxngehnguxkinbychicaaenkaelalingkipphaynxkICD 10E54ICD 26724040013930000355med 2086 derm 521 ped 2073 radio 628MeSHD012614 khrnghnung orkhlkpidlkepidekhyphbmakinhmukalasi ocrsldaelaphuthilxngeruxinthaelnankwathicaekbphkaelaphlimid sungswnihykhnehlanicadarngchiphdwyenuxaelathyphuchthithnxmxaharhruxetimekluxaethn aelayngphbinhmuthharthiimidrbxaharpraephthniepnewlanan hipphxkhrathis 460 380 pikxn kh s epnphuxthibayorkhni aelakarrksaorkhdwysmuniphrepnthiruckkninhlaywthnthrrmphunemuxngtngaetyukhkxnprawtisastr orkhlkpidlkepidepnhnunginpccycakdkarthxngthael mkkhrachiwitphuodysaraelalukeruxepncanwnmakinkaredinthangikl aelayawnan karrksaorkhlkpidlkepiddwykarihxaharsd odyechphaaxyangyingphlimcaphwksm epnkhraw ptibtisubtxknmatngaetsmyobran ecms lind slyaephthychawskxtinkxngthpheruxxngkvs epnkhnaerkthiphisucnwaorkhnisamarthrksaiddwyphlimphwksminkarthdlxngthiekhaxthibayinhnngsuxkhxngekha A Treatise of the Scurvy sastrniphnthorkhlkpidlkepid thiekhiynemux kh s 1753 aetsaehtukhxngorkhlkpidlkepidyngimthrabknkrathng kh s 1932 orkhlkpidlkepidimekidinstwswnihy ephraastwsamarthsngekhraahwitaminsiidexng ykewnmnusyaelaiphremtchnsungxun hnutaepha aelakhangkhawekuxbthukchnid nkaelaplabangchnid thikhadexnismaexlkuolonaelkotnxxksieds L gulonolactone oxidase sungcaepntxkarsngekhraahwitaminsi cungcaepntxngidrbwitaminsicakxahar witaminsiphbmakineyuxphuch aelamikhwamekhmkhnsunginphlimcaphwksm sm elmxn manaw ekrpfrut maekhuxeths mnfrng kahlapli aelaphrikhywk nxkcakniyngphbwitaminsiinenuxeyuxstw echncakkarsuksaxaharkhxngchnphunemuxngxinuxit exskiom sungaethbimmikarrbprathanphkphlimaetimmipyhaorkhlkpidlkepid phbwachawxinuxitidrbwitaminsixyangephiyngphx cakxaharphunemuxngechnhnngplawal aelaphlitphnthcakstwxun inekhthnawechn aemwna singotthael sungmiwitaminsisung odymikarrbprathandib imphankhwamrxn thaihwitaminsiinenuxeyuxstwimthukthalayxangxingLind James 1753 A Treatise on the Scurvy London A Millar bthkhwamaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk