โยชิโนริ โอซูมิ (ญี่ปุ่น: 大隅 良典, อักษรโรมัน: Yoshinori Ohsumi) เป็นนักชีววิทยาสาขาเซลล์และอาจารย์ชาวญี่ปุ่น ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ในปี 2016 จากการศึกษากลไกการกินตัวเองของเซลล์ (Autophagy) อันเป็นเป็นกลไกที่ทำลายและรีไซเคิลของเสียระดับเซลล์ภายในร่างกาย กลไกนี้จะทำงานเมื่อมนุษย์ทำการอดอาหารเป็นเวลาระยะเวลาหนึ่งแล้วแต่บุคคล ซึ่งทำให้ความเสี่ยงต่อโรคภัยลดลง
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร. โยชิโนริ โอซูมิ | |
---|---|
โอซูมิในปี 2016 | |
เกิด | จังหวัดฟูกูโอกะ ประเทศญี่ปุ่น | 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1945
ศิษย์เก่า | มหาวิทยาลัยโตเกียว |
มีชื่อเสียงจาก | (Autophagy) |
อาชีพทางวิทยาศาสตร์ | |
สาขา | ชีววิทยาสาขาเซลล์ |
สถาบันที่ทำงาน |
โอซูมิเกิดเมื่อปี 1945 ที่นครฟูกูโอกะ จังหวัดฟูกูโอกะ จบการศึกษาระดับปริญญาตรีวิทยาศาสตร์บัณฑิตเมื่อปี 1967 และจบการศึกษาระดับปริญญาเอกวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตเมื่อปี 1974 จากมหาวิทยาลัยโตเกียว จากนั้นทำงานวิจัยที่ นครนิวยอร์ก ระหว่างปี 1974–77 จากนั้น เขาเกินทางกลับญี่ปุ่นในปี 1977 แล้วทำงานที่มหาวิทยาลัยโตเกียวในฐานะนักวิจัย เขาได้รับแต่งตั้งเป็นอาจารย์ในปี 1986 และได้ตำแหน่งรองศาสตราจารย์ในปี 1988 ต่อมาเขาย้ายไปทำงานที่สถาบันชีววิทยาพื้นฐานแห่งชาติ และได้รับแต่งตั้งเป็นศาสตราจารย์
โยชิโนริ โอซูมิ เป็นชาวญี่ปุ่นคนที่ยี่สิบห้าที่ได้รับรางวัลโนเบล
อ้างอิง
- "Yoshinori Ohsumi – Nobel Lecture: Autophagy – an Intracellular Recycling System". . December 7, 2016. สืบค้นเมื่อ January 15, 2018.
- ผู้จัดการออนไลน์. รู้จักไหม... “กลไกกลืนกินตัวเอง” ผลงานรางวัลโนเบลแพทย์ 3 ต.ค. 2559
- Yoshinori Ohsumi's
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
oychionri oxsumi yipun 大隅 良典 xksrormn Yoshinori Ohsumi epnnkchiwwithyasakhaesllaelaxacarychawyipun idrbrangwloneblsakhasrirwithyahruxkaraephthyinpi 2016 cakkarsuksaklikkarkintwexngkhxngesll Autophagy xnepnepnklikthithalayaelariisekhilkhxngesiyradbesllphayinrangkay kliknicathanganemuxmnusythakarxdxaharepnewlarayaewlahnungaelwaetbukhkhl sungthaihkhwamesiyngtxorkhphyldlngsastracarykittikhun dr oychionri oxsumioxsumiinpi 2016ekid 1945 02 09 9 kumphaphnth kh s 1945 79 pi cnghwdfukuoxka praethsyipunsisyekamhawithyalyotekiywmichuxesiyngcak Autophagy xachiphthangwithyasastrsakhachiwwithyasakhaesllsthabnthithangan oxsumiekidemuxpi 1945 thinkhrfukuoxka cnghwdfukuoxka cbkarsuksaradbpriyyatriwithyasastrbnthitemuxpi 1967 aelacbkarsuksaradbpriyyaexkwithyasastrdusdibnthitemuxpi 1974 cakmhawithyalyotekiyw caknnthanganwicythi nkhrniwyxrk rahwangpi 1974 77 caknn ekhaekinthangklbyipuninpi 1977 aelwthanganthimhawithyalyotekiywinthanankwicy ekhaidrbaetngtngepnxacaryinpi 1986 aelaidtaaehnngrxngsastracaryinpi 1988 txmaekhayayipthanganthisthabnchiwwithyaphunthanaehngchati aelaidrbaetngtngepnsastracary oychionri oxsumi epnchawyipunkhnthiyisibhathiidrbrangwloneblxangxing Yoshinori Ohsumi Nobel Lecture Autophagy an Intracellular Recycling System December 7 2016 subkhnemux January 15 2018 phucdkarxxniln ruckihm klikklunkintwexng phlnganrangwloneblaephthy 3 t kh 2559 Yoshinori Ohsumi s