โมรยา โคสาวี (อักษรโรมัน: Morya Gosavi หรือ Moraya Gosavi; Morayā Gosāvi) เป็นสันตะองค์สำคัญในศาสนาฮินดูนิกายคณปัตยะ ซึ่งนับถือพระคเณศเป็นพระเป็นเจ้าสูงสุด ท่านได้รับการนับถือให้เป็นปฐมาจารย์องค์สำคัญที่สุดในบรรดาผู้นับถือนิกายคาณปตยะ และได้รับการบรรยายไว้ว่าเป็น "ผู้นับถือพระคเณศคนที่สำคัญที่สุด"
โมรยา โคสาวี | |
---|---|
ภาพพิมพ์รูปโมรยา โคสาวี | |
ส่วนบุคคล | |
เกิด | ค.ศ. 1375 อินเดีย |
มรณภาพ | ค.ศ. 1561 อินเดีย (ปัจจุบัน คือ รัฐมหาราษฏระ ประเทศอินเดีย) |
ศาสนา | ศาสนาฮินดู |
ปรัชญา | คณปัตยะ |
เข้าใจว่าท่านมีชีวิตอยู่ในระหว่างศตวรรษที่ 13-17 ท่านเริ่มมีศรัทธาในพระคเณศหลังได้เดินทางไปสักการะศรีคเณศมยุเรศวรมนเทียรในโมรคาว ว่ากันว่าการบูชาของท่านในมนเทียรนั้นเป็นไปได้ไม่เต็มกำลัง เป็นผลมาจากสักการชนจำนวนมากในวิหาร พระคเณศจึงปรากฏพระองค์ต่อหน้าท่านและกล่าวว่าพระองค์จะปรากฏที่ให้โมรยาได้สักการะ โมรยาเดินทางไปยังจิญจวัฑ สร้างมนเทียรบูชาพระคเณศ และท้ายที่สุดได้ปฏิบัติ โดยการฝังตนเองทั้งเป็นในหลุมศพ
ช่วงชีวิต
ยุวราช กฤษัณ (Yuvraj Krishan) เชื่อว่าโมรยา โคสาวี มีช่วงชีวิตอยู่ระหว่างศตวรรษที่ 13-14 ส่วน เชื่อว่าท่านมีชีวิตอยู่ในศตวรรษที่ 16 Paul B. Courtright และ Anne Feldhaus ระบุช่วงปีอยู่ที่ 1610–59 ในขณะที่ระบุช่วงชีวิตท่านไว้ที่ราวปี 1330 ถึง 1556 พร้อมระบุปีที่แต่งงานคือ 1470 และปีที่ให้กำเนิดบุตรคือ 1481 ส่วน Encyclopedia of Religion ระบุปีเสียชีวิตของท่านอยู่ที่ 1651
ตำนานต่าง ๆ มีระบุว่าท่านมีความข้องเกี่ยวกับจักรพรรดิหุมายูง (1508–1556), (1594–1665) และ ศิวาจี (1627–1680)
ชีวิตช่วงต้น
เรื่องเล่าแบบแรกระบุว่าโมรยาเกิดที่ กรณาฏกะ ในครอบครัว โมรยาถูกทิ้งจากครอบครัวเพราะบิดามองว่าเขาใช้อะไรไม่ได้ โมรยาได้เดินทางไปยังในมหาราษฏระ และพบว่าตนเองมีความประทับใจในพระคเณศ และโมรยาได้ตั้งรกรากใหม่ใน ราว 50 ไมล์ (80 กิโลเมตร) จากโมรคาว
อีกเรื่องเล่าหนึ่งระบุว่าโมรยาเกิดในปูณา ในครอบครัวพราหมณ์เทศัสถะที่ยากไร้แต่เคร่งในศาสนา และเชื่อว่าโมรยาเกิดจากพระประสงค์ของพระคเณศ และคพิดามารดาของโมรยาแท้จริงไม่สามารถมีบุตรได้ หลังคลอดบุตร ครอบครัวได้ย้ายไปยังปิมปเล (Pimple) ราว 40 ไมล์ (64 กิโลเมตร) จากจิญจวัฑ หลังบิดามารดาเสียชีวิต ท่านได้ย้ายไปอยู่ที่ ราว 2 ไมล์ (3.2 กิโลเมตร) จากจิญจวัฑ ทั้งสองตำนานบอกเหมือนกันว่าท่านได้จาริกไปสักการะพระคเณศยังมนเทียรพระคเณศที่โมรคาวเป็นประจำทุกวัน หรือทุกเดือน
อีกตำนานหนึ่งบอกว่าโมรยาเกิดมาในครอบครัวพราหมณ์เทศัสถะที่มีสกุลว่า "ศาลิคราม" (Shaligram) บิดาชื่อ ภัต ศาลิคราม (Bhat Shaligram) ไม่นานหลังบิดามารดาของท่านเดินทางสักการะบูชาพระคเณศองค์ที่โมรคาว ก็ได้ให้กำเนิดโมรยา ต่อมาโมรยาป่วยหนักและรักษาไม่หาย ทั้งคู่ได้สวดอ้อนวอนแก่องค์พระคเณศอีกครั้ง ไม่นานก็ได้พบกับ โคสาวี (นักบวช; Gosavi) นามว่า นายัณ ภารตี (Nayan Bharati) ผู้นำยามาให้และรักษาโมรยาได้สำเร็จ รวมถึงยังเผยแผ่คำสอนต่าง ๆ แก่โมรยาด้วย ครอบครัวภัตจึงได้ขอรับชื่อสกุลใหม่เป็นโคสาวี โมรยาจึงกลายมาเป็นที่รู้จักในชื่อโมรยา โคสาวี
จากโมรคาวสู่จิญจวัฑ
ตามตำนานหนึ่งเล่าว่าเมื่อครั้นเทศกาลคเณศจตุรถี ซึ่งเป็นเทศกาลบูชาพระคเณศที่ใหญ่ที่สุด โมรยาไม่สามารถหาที่ทางในวิหารซึ่งเติมไปด้วยบรรดาฆราวาสและครอบครัวปิงคเล (Pingle) ที่มั่งคั่ง โมรยาจึงวางเครื่องสักการะของเขาไว้ใต้ต้นไม้ต้นหนึ่ง และด้วย "ปาฏิหารย์" ของสักการะของโมรยาถูกสับเปลี่ยนกับของฆราวาสคนอื่นที่ใต้ต้นไม้นั้น ฆราวาสกลุ่มนั้นได้ใส่ความว่าโมรยาประกอบมนตร์ดำ และถูกสั่งห้ามเข้ามนเทียรที่โมรคาวนับจากนั้น จากนั้น พระคเณศได้ปรากฏพระองค์ในฝันของปิงคเล และแจ้งว่าพระองค์ทรงไม่ถูกพระทัยเนื่องจากโมรยาที่พระองค์โปรดมากนั้นถูกปฏิบัติด้วยอย่างเลว จากนั้น ปิงคเลได้ร้องขอให้โมรยาเดินทางกลับมายังโมรคาวอีก แต่โมรยาปฏิเสธ พระคเณศจึงปรากฏพระองค์อีกครั้งแต่โมรยา และกล่าวแก่โมรยาว่าพระองค์จะเสด็จมาประทับอยู่กับโมรยาด้วยที่จิญจวัฑ หลังจากนั้นโมรยาก็ได้พบเจอกับรูปเคารพพระคเณศที่คล้ายกับองค์ที่โมรคาวมากขณะอาบน้ำในแม่น้ำ เขาจึงสร้างวิหารเล็ก ๆ เพื่อบูชาเทวรูปองค์นั้น
อีกตำนานเล่าว่าหัวหน้านักบวชที่โมรคาวประทับใจมากกับความเคร่งครัดของโมรยา จึงได้มอบนมให้แก่โมรยาทุกวันที่เขามายังโมรคาว ครั้งหนึ่ง หัวหน้านักบวชไม่อยู่บ้าน จึงได้ให้เด็กหญิงตาบอดคนหนึ่งเดินทางไปมอบนมให้แก่โมรยาแทน เมื่อจังหวะที่เธอสัมผัสกับขอบเขตของบ้านที่โมรยากำลังรออยู่นั้น สายตาของเธอก็กลับมาเป็นปกติทันที โมรยาจึงกลายเป็นที่รู้จักมากจากปาฏิหารย์ในครั้งนี้ รวมถึงยังมีผู้กล่าวไว้ว่าโมรยายังเป็นผู้รักษาสายตาของจักรพรรดิศิวาจี (1627–1680) ผู้ซึ่งต่อมาเป็นจักรพรรดิมหาราชแห่งจักรวรรดิมราฐา เพื่อหลีกหนีผู้คนจำนวนมากมายมหาศาล โมรยาได้ตัดสินใจย้ายออกมาอาศัยในป่า ในพื้นที่ที่ปัจจุบันคือจิญจวัฑ เนื่องด้วยอายุที่มากขึ้น โมรยาเริ่มมีปัญหาในการเดินทางไปยังโมรคาวเป็นประจำ มีอยู่ครั้งหนึ่งที่โมรยาเดินทางไปถึงโมรคาวแล้ว แต่มนเทียรกลับปิด เขาจึงนอนหลับอยู่หน้าทางเข้ามนเทียรทั้งสภาพที่เหนื่อยและหิว ในฝันครั้นนั้น พระคเณศปรากฏพระองค์ต่อหน้าโมรยาและบอกให้โมรยาถวายบูชาต่อ และพระองค์จะเสด็จไปประทับกับโมรยาที่จิญจวัฑ รวมถึงจะอวตารลงมาในผู้สืบเป็นลูกหลานของโมรยาไปเจ็ดชั่วคน โมรยาตื่นขึ้นและพบว่าประตูมนเทียรได้เปิดขึ้นด้วยปาฏิหารย์ และได้ทำการถวายบูชาแด่พระคเณศ ในเช้าวันถัดมา เมื่อบรรดานักบวชเปิดประตูมนเทียรเข้าไปก็ต้องตะลึงกับดอกไม้สดที่มีตั้งถวายแด่องค์พระคเณศ และยังพบว่าสร้อยไข่มุกหายไปเส้นหนึ่ง ต่อมาจึงพบว่าสร้อยนั้นโมรยาเป็นผู้สวมอยู่ โมรยาถูกขังคุกแต่ต่อมาก็ถูกปล่อยออกมาด้วยความช่วยเหลือของพระคเณศ หลังจากนั้นโมรยาได้พบกับศิลารูปคล้ายพระคเณศผุดขึ้นมาในบ้านของเขาที่จิญจวัฑ เขาจึงสร้างวิหารบูชาศิลาเทวรูปนั้น
อีกตำนานหนึ่งไม่ได้เล่าถึงตอนที่โมรยาโดนจับกุม แต่ระบุว่าโมรยาสัมผัสได้ถึงการปรากฏพระองค์ของพระคเณศที่โมรคาว แต่พบว่ามีบางสิ่งขัดขวางการบูชาของเขาอยู่ เขาจึงย้ายไปยังป่าใกล้กับตถาวเฑ และทุกวันที่สี่ตามปฏิทินจันทรคติหลังคืนพระจันทร์เต็มดวง โมรยาจะเดินทางไปยังจินตามณีมนเทียรที่เถอูร์ ครั้งหนึ่ง บรรดาผู้ศรัทธาจากจิญจวัฑได้ร้องขอให้โมรยาเดินทางไปริมฝั่งในจิญจวัฑ เมื่อไปถึง เชื่อว่าพระคเณศในปางจินตามณี ซึ่งเป็นปางที่สักการะที่เถอูร์ ได้สั่งให้โมรยาแต่งงาน เขาจึงแต่งงานกับสตรีนามว่า อุมา ธิดาของโควินทราว กุลกรณี (Govindrao Kulkarni) ซึ่งมีครอบครัวตั้งรกรากอยู่ที่ตถาวเฑ
ในอีกเรื่องเล่าหนึ่ง โมรยาได้บำเพ็ญทุกรกิริยาโดยการอดอาหารอย่างเคร่งครัดนาน 42 วัน ตามคำสั่งของคุรุของท่าน ในช่วงของการอดอาหารนี้ เชื่อว่าโมรยาได้พบกับ "การปรากฏพระองค์ของพระเจ้า" ("divine revelations") หลังบิดามารดาของโมรยาเสียชีวิต ท่านได้ย้ายจากโมรคาวไปยังจิญจวัฑ สิ่งปลูกสร้างหลังปัจจุบันของจินตามณีมนเทียรที่เถอูร์นั้นสร้างขึ้นโดยโมรยา
การเสียชีวิตและผู้สืบเชื้อสาย
โมรยายังคงเดินทางไปยังเถอูร์ (ซึ่งเป็นที่ตั้งของมนเทียรพระคเณศอีกแห่ง คือคณปติมนเทียร) และจิญจวัฑ โมรยามีบุตรหนึ่งคน นามว่าจินตามณี หรือ จินตามณัณ จินตามณีได้รับการบูชาในฐานะรูปอวตารของพระคเณศ แต่ก่อนหน้าที่จะมีบุตรนั้น นักวิชาการจำนวนหนึ่งระบุว่าเขายังได้ช่วยจักรพรรดิโมกุล หุมายูง ซึ่งถูกล้มราชบัลลังก์ หลบหนีไปยังคาบูล เมื่อครั้นหุมายูงได้กลับมาครอบราชย์อีกครั้งเป็นจักรพรรดิแห่งเดลี ก็ได้มอบของขวัญมากมายแก่โมรยาเพื่อขอบคุณ ในขณะที่ข้อมูลของเธเร (Dhere) ระบุว่าบอดาของจักรพรรดิฉัตรปตีศิวาจี ซึ่งคือ ชาฮาจี (Shahaji, 1594–1665) เป็นผู้ที่มีบันทึกไว้ว่าเป็นคนบริจาคแก่โมรยา โคสาวี
หลังภรรยาเสียชีวิตและหลังการประกอบสัญชีวันสมาธิของคุรุของโมรยา ท่ายได้เลือกที่จะประกอบตามไปด้วยเช่นกัน โดยใช้การฝังตนเองทั้งเป็นในหลุมศพ พร้อมถือคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ไว้ในมือ โมรยายังทิ้งคำสั่งอย่างรัดกุมไว้ว่าไม่ให้หลุมศพเขาถูกเปิดออกเป็นอันขาด จินตามณีได้สร้าง (วิหาร) ขึ้นครอบหลุมศพของบิดา มีผู้บรรยายไว้ว่าจินตามณีเริ่มแสดงตัวตนที่แท้จริงในฐานะพระคเณศแก่สันตะและกวี นามว่า (1577 – c.1650) ผู้เรียกจินตามณีว่า เทวะ สายตระกูลนี้จึงได้ถูกเรียกว่า "เทวะ" นับจากนั้น
สายตระกูล "เทวะ" บองจินตามณีมีลูกหลานตามมาคือ นารายัณ (Narayan), จินตามณีที่สอง (Chintamani II), ธรรมาธร (Dharmadhar), จินตามณีที่สาม (Chintamani III), นารายัณที่สอง (Narayan II) และ ธรรมาธรที่สอง (Dharmadhar II) จักรพรรดิโมกุล เอารังเซบ (1658–1707) ได้มอบของสืบทอดแก่นารายัณเป็นหมู่บ้านแปดหมู่ หลังประทับใจใน "ปาฏิหารย์" ของบิดาที่สามารถเปลี่ยนชิ้นเนื้อวัวที่ถูกส่งมาให้ ให้กลายเป็นดอกมะลิได้ (เนื้อวัวนี้ในศาสนาฮินดูถือว่าเป็นสิ่งต้องห้าม เพราะวัวเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ การฆ่าวัวจึงเป็นเรื่องที่ผิด) นารายัณที่สองได้แหกคำสั่งที่โมรยาสั่งไว้โดยการเปิดหลุมศพของโมรยาออก ในตำนานหนึ่งเล่าว่าเมื่อเปิดหลุมศพออกก็พบว่าโมรยายังคงทำสมาธิอยู่ในหลุมศพนั้น โมรยาได้ถูกรบกวนจึงสาปไว้ว่าบุตรของนารายัณที่สองจะเป็น "เทวะ" คนสุดท้าย ธรรมาธรที่สอง บุตรของนารายัณที่สอง และถือเป็นคนที่เจ็ดในสายตระกูลเทวะ ได้เสียชีวิตลงโดยไม่มีบุตรหลายวันปี 1810 ถือเป็นการสิ้นสุดสายตระกูลสายตรงของโมรยา กระนั้น ญาติห่าง ๆ ของธรรมาธร นามว่า สาขรี (Sakhari) ได้รับการแต่งตั้งโดยคษะนักบวชให้เป็น "เทวะ" สืบต่อไป เพื่อสืบทอดการหาทุนทรัพย์ของมนเทียร บทกวีบูชา "เทวะ" ทุกคนนั้นยังคงปรากฏมาจนถึงปัจจุบัน
การบูชา
โมรยา โคสาวี ได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้นำปฐมาจารย์ทางจิตวิญญาณและสันตะองค์สำคัญที่สุดของคาณปัตยะ ซึ่งเป็นนิกายที่บูชาพระคเณศในฐานะพระเป็นเจ้าสูงสุด รวมถึงยังได้รับการยอมรับว่าเป็น "ผู้บูชาพระคเณศที่มีชื่อเสียงที่สุด"
ใน รัฐมหาราษฏระ ยังคงมีหมู่ศาลบูชา "เทวะ" แต่ละองค์อยู่ รวมถึงมนเทียรบูชาโมรยา โคสาวี เช่นกัน ซึ่งเป็นอาคารเตี้ยเรียบง่าย (ขนาด 30' x 20' x 40') ประกอบด้วยมณฑปรูปจัตุรัส และศาลรูปแปดเหลี่ยม มีจารึกเป็นภาษามราฐีไว้ว่า "มนเทียรนี้เริ่มสร้างในคืนสว่างที่สิบสองของเดือน (พฤศจิกายน–ธันวาคม) 1580 (ค.ศ. 1658-9) วิลัมพิ และเสร็จในวันจันทร์ วันที่สี่ของคืนสว่าง ของเดือน วิการีสัมวัตสร" วิหารเหล่านี้สร้างขึ้นจากรายได้ของหมู่บ้านแปดหมู่ที่จักรพรรดิเอารังเซบมอบให้ไว้ ทั้งสัญชีวันสมาธิของท่านและมนเทียรที่ท่านสร้างขึ้นในจิญจวัฑยังคงเป็นจุดหมายปลายทางสำคัญของผู้ศรัทธาในพระคเณศ ผู้ศรัทธาเชื่อว่าถึงแม้ว่าโมรยา โคสาวี จะเข้าสู่โมกษะ (การหลุดพ้น) แล้ว แต่ "การมีอยู่ของท่านยังคงมอบความสำคัญในแง่ความศักดิ์สิทธิ์แก่มนเทียรนี้"
ตามเส้นทางเวียนเทียน () ในศรีคเณศมยุเรศวรมนเทียรในโมรคาว มีต้นกัลปพฤกษ์ต้นหนึ่งที่เข้าใจว่าเป็นจุดที่โมรยาได้ปลงอาบัติ ในมนเทียรยังมีการบูชาโมรยาด้วยเช่นกัน รวมถึงยังเข้าใจว่าท่านเป็นผู้ที่ทำให้มนเทียรที่โมรคาวเป็นที่นิยมขึ้นมามาก
อ้างอิง
- "Gāṇapatyas". Encyclopedia of Religion. Macmillan Reference USA, an imprint of the Gale Group. 2001. สืบค้นเมื่อ 13 January 2010.
- Dhere, R C. . Official site of R C Dhere. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-05-11. สืบค้นเมื่อ 12 January 2010.
- Krishan Yuvraj (1 January 1999). Gaṇeśa: unravelling an enigma Hinduism and Its Sources Series. Bharatiya Vidya Bhavan. p. 83. ISBN .
- Paul B. Courtright (1985). Ganesa. Oxford University Press, Incorporated. p. 221. ISBN .
- Anne Feldhaus (19 December 2003). Connected Places: Region, Pilgrimage, and Geographical Imagination in India. Palgrave Macmillan. pp. 142–3, 145–6, 160. ISBN .
- . Pimpri Chinchwad Municipal Corporation (PCMC). 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 February 2012. สืบค้นเมื่อ 9 January 2010.
- . The Gazetteers Department, Government of Maharashtra. 2006 [1885]. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 June 2011. สืบค้นเมื่อ 5 January 2010.
- Narendra K. Wagle (1980). Images of Maharashtra: A Regional Profile of India. Curzon Press. p. 110. ISBN .
- Narendra K. Wagle (1980). Images of Maharashtra: A Regional Profile of India. Curzon Press. p. 110. ISBN .
Moroba Gosavi was a Deshastha Brahmin surnamed Shaligram.
- John A. Grimes (1995). Gaṇapati: Song of the Self. SUNY Press. p. 119. ISBN .
- Frederick J. Simoons (1994). "Beef". Eat Not this Flesh: Food Avoidances from Prehistory to the Present. Univ of Wisconsin Press. ISBN . สืบค้นเมื่อ 30 July 2013.
- Milind Gunaji (2003). Offbeat Tracks in Maharashtra. Popular Prakashan. pp. 106–7. ISBN .
- Swami Parmeshwaranand (1 January 2001). Encyclopaedic Dictionary of Purāṇas. Sarup & Sons. p. 562. ISBN .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
omrya okhsawi xksrormn Morya Gosavi hrux Moraya Gosavi Moraya Gosavi epnsntaxngkhsakhyinsasnahindunikaykhnptyasungnbthuxphrakhensepnphraepnecasungsud thanidrbkarnbthuxihepnpthmacaryxngkhsakhythisudinbrrdaphunbthuxnikaykhanptya aelaidrbkarbrryayiwwaepn phunbthuxphrakhenskhnthisakhythisud omrya okhsawiphaphphimphrupomrya okhsawiswnbukhkhlekidkh s 1375 xinediymrnphaphkh s 1561 xinediy pccubn khux rthmharastra praethsxinediy sasnasasnahinduprchyakhnptya ekhaicwathanmichiwitxyuinrahwangstwrrsthi 13 17 thanerimmisrththainphrakhenshlngidedinthangipskkarasrikhensmyuerswrmnethiyrinomrkhaw waknwakarbuchakhxngthaninmnethiyrnnepnipidimetmkalng epnphlmacakskkarchncanwnmakinwihar phrakhenscungpraktphraxngkhtxhnathanaelaklawwaphraxngkhcapraktthiihomryaidskkara omryaedinthangipyngciycwth srangmnethiyrbuchaphrakhens aelathaythisudidptibti odykarfngtnexngthngepninhlumsphchwngchiwityuwrach kvsn Yuvraj Krishan echuxwaomrya okhsawi michwngchiwitxyurahwangstwrrsthi 13 14 swn echuxwathanmichiwitxyuinstwrrsthi 16 Paul B Courtright aela Anne Feldhaus rabuchwngpixyuthi 1610 59 inkhnathirabuchwngchiwitthaniwthirawpi 1330 thung 1556 phrxmrabupithiaetngngankhux 1470 aelapithiihkaenidbutrkhux 1481 swn Encyclopedia of Religion rabupiesiychiwitkhxngthanxyuthi 1651 tanantang mirabuwathanmikhwamkhxngekiywkbckrphrrdihumayung 1508 1556 1594 1665 aela siwaci 1627 1680 chiwitchwngtneruxngelaaebbaerkrabuwaomryaekidthi krnatka inkhrxbkhrw omryathukthingcakkhrxbkhrwephraabidamxngwaekhaichxairimid omryaidedinthangipynginmharastra aelaphbwatnexngmikhwamprathbicinphrakhens aelaomryaidtngrkrakihmin raw 50 iml 80 kiolemtr cakomrkhaw xikeruxngelahnungrabuwaomryaekidinpuna inkhrxbkhrwphrahmnethssthathiyakiraetekhrnginsasna aelaechuxwaomryaekidcakphraprasngkhkhxngphrakhens aelakhphidamardakhxngomryaaethcringimsamarthmibutrid hlngkhlxdbutr khrxbkhrwidyayipyngpimpel Pimple raw 40 iml 64 kiolemtr cakciycwth hlngbidamardaesiychiwit thanidyayipxyuthi raw 2 iml 3 2 kiolemtr cakciycwth thngsxngtananbxkehmuxnknwathanidcarikipskkaraphrakhensyngmnethiyrphrakhensthiomrkhawepnpracathukwn hruxthukeduxn xiktananhnungbxkwaomryaekidmainkhrxbkhrwphrahmnethssthathimiskulwa salikhram Shaligram bidachux pht salikhram Bhat Shaligram imnanhlngbidamardakhxngthanedinthangskkarabuchaphrakhensxngkhthiomrkhaw kidihkaenidomrya txmaomryapwyhnkaelarksaimhay thngkhuidswdxxnwxnaekxngkhphrakhensxikkhrng imnankidphbkb okhsawi nkbwch Gosavi namwa nayn pharti Nayan Bharati phunayamaihaelarksaomryaidsaerc rwmthungyngephyaephkhasxntang aekomryadwy khrxbkhrwphtcungidkhxrbchuxskulihmepnokhsawi omryacungklaymaepnthiruckinchuxomrya okhsawicakomrkhawsuciycwthsrimyuerswrkhensmnethiyrthiomrkhaw tamtananhnungelawaemuxkhrnethskalkhenscturthi sungepnethskalbuchaphrakhensthiihythisud omryaimsamarthhathithanginwiharsungetimipdwybrrdakhrawasaelakhrxbkhrwpingkhel Pingle thimngkhng omryacungwangekhruxngskkarakhxngekhaiwittnimtnhnung aeladwy patihary khxngskkarakhxngomryathuksbepliynkbkhxngkhrawaskhnxunthiittnimnn khrawasklumnnidiskhwamwaomryaprakxbmntrda aelathuksnghamekhamnethiyrthiomrkhawnbcaknn caknn phrakhensidpraktphraxngkhinfnkhxngpingkhel aelaaecngwaphraxngkhthrngimthukphrathyenuxngcakomryathiphraxngkhoprdmaknnthukptibtidwyxyangelw caknn pingkhelidrxngkhxihomryaedinthangklbmayngomrkhawxik aetomryaptiesth phrakhenscungpraktphraxngkhxikkhrngaetomrya aelaklawaekomryawaphraxngkhcaesdcmaprathbxyukbomryadwythiciycwth hlngcaknnomryakidphbecxkbrupekharphphrakhensthikhlaykbxngkhthiomrkhawmakkhnaxabnainaemna ekhacungsrangwiharelk ephuxbuchaethwrupxngkhnn xiktananelawahwhnankbwchthiomrkhawprathbicmakkbkhwamekhrngkhrdkhxngomrya cungidmxbnmihaekomryathukwnthiekhamayngomrkhaw khrnghnung hwhnankbwchimxyuban cungidihedkhyingtabxdkhnhnungedinthangipmxbnmihaekomryaaethn emuxcnghwathiethxsmphskbkhxbekhtkhxngbanthiomryakalngrxxyunn saytakhxngethxkklbmaepnpktithnthi omryacungklayepnthiruckmakcakpatiharyinkhrngni rwmthungyngmiphuklawiwwaomryayngepnphurksasaytakhxngckrphrrdisiwaci 1627 1680 phusungtxmaepnckrphrrdimharachaehngckrwrrdimratha ephuxhlikhniphukhncanwnmakmaymhasal omryaidtdsinicyayxxkmaxasyinpa inphunthithipccubnkhuxciycwth enuxngdwyxayuthimakkhun omryaerimmipyhainkaredinthangipyngomrkhawepnpraca mixyukhrnghnungthiomryaedinthangipthungomrkhawaelw aetmnethiyrklbpid ekhacungnxnhlbxyuhnathangekhamnethiyrthngsphaphthiehnuxyaelahiw infnkhrnnn phrakhenspraktphraxngkhtxhnaomryaaelabxkihomryathwaybuchatx aelaphraxngkhcaesdcipprathbkbomryathiciycwth rwmthungcaxwtarlngmainphusubepnlukhlankhxngomryaipecdchwkhn omryatunkhunaelaphbwapratumnethiyridepidkhundwypatihary aelaidthakarthwaybuchaaedphrakhens inechawnthdma emuxbrrdankbwchepidpratumnethiyrekhaipktxngtalungkbdxkimsdthimitngthwayaedxngkhphrakhens aelayngphbwasrxyikhmukhayipesnhnung txmacungphbwasrxynnomryaepnphuswmxyu omryathukkhngkhukaettxmakthukplxyxxkmadwykhwamchwyehluxkhxngphrakhens hlngcaknnomryaidphbkbsilarupkhlayphrakhensphudkhunmainbankhxngekhathiciycwth ekhacungsrangwiharbuchasilaethwrupnn xiktananhnungimidelathungtxnthiomryaodncbkum aetrabuwaomryasmphsidthungkarpraktphraxngkhkhxngphrakhensthiomrkhaw aetphbwamibangsingkhdkhwangkarbuchakhxngekhaxyu ekhacungyayipyngpaiklkbtthaweth aelathukwnthisitamptithincnthrkhtihlngkhunphracnthretmdwng omryacaedinthangipyngcintamnimnethiyrthiethxur khrnghnung brrdaphusrththacakciycwthidrxngkhxihomryaedinthangiprimfnginciycwth emuxipthung echuxwaphrakhensinpangcintamni sungepnpangthiskkarathiethxur idsngihomryaaetngngan ekhacungaetngngankbstrinamwa xuma thidakhxngokhwinthraw kulkrni Govindrao Kulkarni sungmikhrxbkhrwtngrkrakxyuthitthaweth inxikeruxngelahnung omryaidbaephythukrkiriyaodykarxdxaharxyangekhrngkhrdnan 42 wn tamkhasngkhxngkhurukhxngthan inchwngkhxngkarxdxaharni echuxwaomryaidphbkb karpraktphraxngkhkhxngphraeca divine revelations hlngbidamardakhxngomryaesiychiwit thanidyaycakomrkhawipyngciycwth singpluksranghlngpccubnkhxngcintamnimnethiyrthiethxurnnsrangkhunodyomryakaresiychiwitaelaphusubechuxsayomryayngkhngedinthangipyngethxur sungepnthitngkhxngmnethiyrphrakhensxikaehng khuxkhnptimnethiyr aelaciycwth omryamibutrhnungkhn namwacintamni hrux cintamnn cintamniidrbkarbuchainthanarupxwtarkhxngphrakhens aetkxnhnathicamibutrnn nkwichakarcanwnhnungrabuwaekhayngidchwyckrphrrdiomkul humayung sungthuklmrachbllngk hlbhniipyngkhabul emuxkhrnhumayungidklbmakhrxbrachyxikkhrngepnckrphrrdiaehngedli kidmxbkhxngkhwymakmayaekomryaephuxkhxbkhun inkhnathikhxmulkhxngether Dhere rabuwabxdakhxngckrphrrdichtrptisiwaci sungkhux chahaci Shahaji 1594 1665 epnphuthimibnthukiwwaepnkhnbricakhaekomrya okhsawi hlngphrryaesiychiwitaelahlngkarprakxbsychiwnsmathikhxngkhurukhxngomrya thayideluxkthicaprakxbtamipdwyechnkn odyichkarfngtnexngthngepninhlumsph phrxmthuxkhmphirskdisiththiiwinmux omryayngthingkhasngxyangrdkumiwwaimihhlumsphekhathukepidxxkepnxnkhad cintamniidsrang wihar khunkhrxbhlumsphkhxngbida miphubrryayiwwacintamnierimaesdngtwtnthiaethcringinthanaphrakhensaeksntaaelakwi namwa 1577 c 1650 phueriykcintamniwa ethwa saytrakulnicungidthukeriykwa ethwa nbcaknn saytrakul ethwa bxngcintamnimilukhlantammakhux narayn Narayan cintamnithisxng Chintamani II thrrmathr Dharmadhar cintamnithisam Chintamani III naraynthisxng Narayan II aela thrrmathrthisxng Dharmadhar II ckrphrrdiomkul exarngesb 1658 1707 idmxbkhxngsubthxdaeknaraynepnhmubanaepdhmu hlngprathbicin patihary khxngbidathisamarthepliynchinenuxwwthithuksngmaih ihklayepndxkmaliid enuxwwniinsasnahinduthuxwaepnsingtxngham ephraawwepnstwskdisiththi karkhawwcungepneruxngthiphid naraynthisxngidaehkkhasngthiomryasngiwodykarepidhlumsphkhxngomryaxxk intananhnungelawaemuxepidhlumsphxxkkphbwaomryayngkhngthasmathixyuinhlumsphnn omryaidthukrbkwncungsapiwwabutrkhxngnaraynthisxngcaepn ethwa khnsudthay thrrmathrthisxng butrkhxngnaraynthisxng aelathuxepnkhnthiecdinsaytrakulethwa idesiychiwitlngodyimmibutrhlaywnpi 1810 thuxepnkarsinsudsaytrakulsaytrngkhxngomrya krann yatihang khxngthrrmathr namwa sakhri Sakhari idrbkaraetngtngodykhsankbwchihepn ethwa subtxip ephuxsubthxdkarhathunthrphykhxngmnethiyr bthkwibucha ethwa thukkhnnnyngkhngpraktmacnthungpccubnkarbuchaomrya okhsawi idrbkaryxmrbwaepnphunapthmacarythangcitwiyyanaelasntaxngkhsakhythisudkhxngkhanptya sungepnnikaythibuchaphrakhensinthanaphraepnecasungsud rwmthungyngidrbkaryxmrbwaepn phubuchaphrakhensthimichuxesiyngthisud in rthmharastra yngkhngmihmusalbucha ethwa aetlaxngkhxyu rwmthungmnethiyrbuchaomrya okhsawi echnkn sungepnxakharetiyeriybngay khnad 30 x 20 x 40 prakxbdwymnthprupcturs aelasalrupaepdehliym micarukepnphasamrathiiwwa mnethiyrnierimsranginkhunswangthisibsxngkhxngeduxn phvscikayn thnwakhm 1580 kh s 1658 9 wilmphi aelaesrcinwncnthr wnthisikhxngkhunswang khxngeduxn wikarismwtsr wiharehlanisrangkhuncakrayidkhxnghmubanaepdhmuthickrphrrdiexarngesbmxbihiw thngsychiwnsmathikhxngthanaelamnethiyrthithansrangkhuninciycwthyngkhngepncudhmayplaythangsakhykhxngphusrththainphrakhens phusrththaechuxwathungaemwaomrya okhsawi caekhasuomksa karhludphn aelw aet karmixyukhxngthanyngkhngmxbkhwamsakhyinaengkhwamskdisiththiaekmnethiyrni tamesnthangewiynethiyn insrikhensmyuerswrmnethiyrinomrkhaw mitnklpphvkstnhnungthiekhaicwaepncudthiomryaidplngxabti inmnethiyryngmikarbuchaomryadwyechnkn rwmthungyngekhaicwathanepnphuthithaihmnethiyrthiomrkhawepnthiniymkhunmamakxangxing Gaṇapatyas Encyclopedia of Religion Macmillan Reference USA an imprint of the Gale Group 2001 subkhnemux 13 January 2010 Dhere R C Official site of R C Dhere khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2018 05 11 subkhnemux 12 January 2010 Krishan Yuvraj 1 January 1999 Gaṇesa unravelling an enigma Hinduism and Its Sources Series Bharatiya Vidya Bhavan p 83 ISBN 978 81 208 1413 4 Paul B Courtright 1985 Ganesa Oxford University Press Incorporated p 221 ISBN 978 0 19 503572 8 Anne Feldhaus 19 December 2003 Connected Places Region Pilgrimage and Geographical Imagination in India Palgrave Macmillan pp 142 3 145 6 160 ISBN 978 1 4039 6324 6 Pimpri Chinchwad Municipal Corporation PCMC 2008 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 22 February 2012 subkhnemux 9 January 2010 The Gazetteers Department Government of Maharashtra 2006 1885 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 14 June 2011 subkhnemux 5 January 2010 Narendra K Wagle 1980 Images of Maharashtra A Regional Profile of India Curzon Press p 110 ISBN 9780700701445 Narendra K Wagle 1980 Images of Maharashtra A Regional Profile of India Curzon Press p 110 ISBN 9780700701445 Moroba Gosavi was a Deshastha Brahmin surnamed Shaligram John A Grimes 1995 Gaṇapati Song of the Self SUNY Press p 119 ISBN 978 1 4384 0501 8 Frederick J Simoons 1994 Beef Eat Not this Flesh Food Avoidances from Prehistory to the Present Univ of Wisconsin Press ISBN 978 0 299 14254 4 subkhnemux 30 July 2013 Milind Gunaji 2003 Offbeat Tracks in Maharashtra Popular Prakashan pp 106 7 ISBN 978 81 7154 669 5 Swami Parmeshwaranand 1 January 2001 Encyclopaedic Dictionary of Puraṇas Sarup amp Sons p 562 ISBN 978 81 7625 226 3