บทความนี้หรือส่วนนี้ของบทความต้องการปรับรูปแบบ ซึ่งอาจหมายถึง ต้องการจัดรูปแบบข้อความ จัดหน้า แบ่งหัวข้อ และ/หรือการจัดระเบียบอื่น ๆ คุณสามารถช่วยแก้ไขปัญหานี้ได้โดยการกดที่ปุ่ม แก้ไข ด้านบน จากนั้นปรับปรุงหรือจัดรูปแบบอื่น ๆ ในบทความให้เหมาะสม |
โมรปริตร หรือ โมรปริตตปาฐะ เป็นบทสวดมนต์เรียบเรียงไว้เป็นส่วนหนึ่งในภาณวารหรือหนังสือบทสวดมนต์หลวง รวมถึงในบทสวดมนต์ และ โมรปริตรนี้ เป็นบทสวดเพื่อป้องกันภยันตรายต่างๆมาจากเรื่องราวขอ งพระโพธิสัตว์ หรือสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าก่อนที่จะทรงตรัสรู้ เมื่อครั้งที่ทรงเสวยพระชาติเป็นนกยูง
ที่มา
โมรปริตร ปรากฎอยู่ในโมรชาดก (ว่าด้วยนกยูงเจริญพระปริตต์) ในหมวดชาดก ขุททกนิกาย ของพระสุตตันตปิฎก ปรากฎเป็นคาถา มีจำนวนทั้งสิ้น 4 บท คาถาโมรปริตรนี้มีลักษณะฉันทลักษณ์ที่ผสมผสานกัน อาทิบาทแรกของบทแรก มีฉันทลักษณ์แบบตุฏฺฐภะ กล่าวคือ "อุเทตยญฺจกฺขุมา เอกราชา" อย่างไรก็ตาม ในบาทต่อๆ มามีการผสมผสานฉันทลักษณ์อื่นๆ ซึ่งไม่สามารถสรุปรูปแบบได้ ยกเว้นบาทที่ 3 ของบทที่ 2 ที่ว่า "นมตฺถุ พุทฺธานัง นมตฺถุ โพธิยา" นั้นใช้ฉันทลักษณ์แบบชคตี ซึ่งมักใช่ร่วมกันกับตุฏฺฐภะ
เนื่องจากคาถาที่ปรากฎในหมวดชาดก ขุททกนิกาย ไม่ปรากฎที่มาและรายละเอียเพิ่มเติม ในเวลาต่อมาพระเถราจารย์จึงได้รจนาอรรถกถาอธิบายเนื้อความและเรื่องราวเบื้องหลังของคาถาในชาดกต่างๆ เรียกว่า ชาตกัฏฐกถา โดยในส่วนโมรปริตร หรือโมรชาดกนั้น พระอรรถกถาจารย์ได้อธิบายเนื้อความอันเป็นเหตุแห่งชาดกไว้ว่า ชาดกนี้สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสไว้ ณ วัดเชตวันมหาวิหาร ณ เมืองสาวัตถี มีเหตุเกี่ยวกับพระภิกษุเกิดความกระสันเนื่องจากเห็นสตรีตกแต่งร่างกายงดงาม จึงตรัสว่ามาตุคามว่าเป็นภัยร้ายแรงต่อพรหมจรรย์ จากนั้นจึงทรงนำเรื่องในอดีตมาตรัสเล่า ดังนี้ว่า
เนื้อความในอรรถกถา
ในอดีตกาล ครั้งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติในกรุงพาราณสี พระโพธิสัตว์ถือปฏิสนธิในกำเนิดนกยูง ในเวลาเป็นฟอง มีกระเปาะฟองคล้ายสีดอกกรรณิการ์ตูม ครั้นเจาะกระเปาะฟองออกมาแล้ว มีสีดุจทองคำ น่าดู น่าเลื่อมใส มีสายแดงพาดในระหว่างปีก.
นกยูงนั้นคอยระวังชีวิตของตน อาศัยอยู่ ณ พื้นที่เขาทัณฑกหิรัญแห่งหนึ่ง ใกล้แนวเขาที่สี่เลยแนวเขาที่สามไป. ตอนสว่าง นกยูงทองจับอยู่บนยอดเขา มองดูพระอาทิตย์กำลังขึ้น เมื่อจะผูกมนต์อันประเสริฐ เพื่อรักษาป้องกันตัว ณ ภูมิภาคที่หาอาหาร จึงกล่าวคาถา (แสดงความนอบน้อมต่อดวงอาทิตย์) ครั้นนอบน้อมพระอาทิตย์ด้วยคาถานี้ อย่างนี้แล้ว จึงนมัสการพระพุทธเจ้าซึ่งเสด็จปรินิพพานไปแล้วในอดีต และพระคุณของพระพุทธเจ้า ด้วยคาถาที่สอง (ดังที่ปรากฎในโมรชาดก) นกยูงนั้น ครั้นเจริญพระปริตร คือการป้องกันนี้แล้ว จึงพักอยู่ ณ ที่อยู่นั้น. ด้วยอานุภาพแห่งพระปริตรนี้ นกยูงมิได้มีความกลัว ความสยดสยอง ตลอดคืนตลอดวัน
ลำดับนั้น พรานชาวบ้านเนสาทคนหนึ่ง อยู่ไม่ไกลกรุงพาราณสีท่องเที่ยวไปในหิมวันตประเทศ เห็นนกยูงโพธิสัตว์จับอยู่บนยอดเขาทัณฑกหิรัญ จึงกลับมาบอกลูก
อยู่มาวันหนึ่ง พระนางเขมาพระเทวีของพระเจ้ากรุงพาราณสี ทรงสุบินเห็นนกยูงสีทองแสดงธรรม ขณะตื่นพระบรรทมได้กราบทูลสุบินแด่พระราชาว่า ขอเดชะ ข้าแต่พระองค์ หม่อมฉันประสงค์จะฟังธรรมของนกยูงสีทอง เพคะ พระราชาจึงมีพระดำรัสถามพวกอำมาตย์ พวกอำมาตย์กราบทูลว่า พวกพราหมณ์คงจะทราบ พ่ะย่ะค่ะ
พราหมณ์ทั้งหลายสดับพระราชปุจฉาแล้ว จึงพากันกราบทูลว่า ขอเดชะ นกยูงสีทองมีอยู่แน่ พระเจ้าข้า
พระราชาตรัสถามว่า มีอยู่ที่ไหนเล่า. จึงกราบทูลว่า พวกพรานจักทราบ พระเจ้าข้า. พระราชารับสั่งให้ประชุมพวกพราน แล้วตรัสถาม
ครั้นแล้วบุตรพรานคนนั้นก็กราบทูลว่า ขอเดชะ ข้าแต่มหาราช นกยูงสีทองมีอยู่จริง อาศัยอยู่ ณ ทัณฑกบรรพต พระเจ้าข้า
พระราชารับสั่งว่า ถ้าเช่นนั้น เจ้าจงไปจับนกยูงนั้นมา อย่าให้ตาย.
พรานจึงเอาบ่วงไปดักไว้ที่ ณ ที่นกยูงหาอาหาร. แม้ในสถานที่ที่นกยูงเหยียบ บ่วงก็หาได้กล้ำกรายเข้าไปไม่. พรานไม่สามารถจับนกยูงได้ ท่องเที่ยวอยู่ถึงเจ็ดปี ได้ถึงแก่กรรมลง ณ ที่นั้นเอง.
แม้พระนางเขมาราชเทวี เมื่อไม่ได้สมพระประสงค์ก็สิ้นพระชนม์. พระราชาทรงกริ้วว่า พระเทวีได้สิ้นพระชนม์ลงเพราะอาศัยนกยูง จึงให้จารึกอักษรไว้ในแผ่นทอง ว่า
ในหิมวันตประเทศ มีภูเขาลูกหนึ่ง ชื่อทัณฑกบรรพต นกยูงสีทองตัวหนึ่งอาศัยอยู่ ณ ที่นั้น ผู้ได้กินเนื้อของมัน ผู้นั้นจะไม่แก่ไม่ตาย จะมีอายุยืน แล้วเก็บแผ่นทองไว้ในหีบทอง.
ครั้นพระราชาสวรรคตแล้ว พระราชาองค์อื่นครองราชสมบัติ ทรงอ่านข้อความในสุพรรณบัฎ มีพระประสงค์จะไม่แก่ไม่ตาย จึงทรงส่งพรานคนอื่นไปให้เที่ยวแสวงหา.
แม้พรานนั้นไปถึงที่นั้นแล้ว ก็ไม่สามารถจะจับพระโพธิสัตว์ได้ ได้ตายไปในที่นั้นเอง. โดยทำนองนี้ พระราชาสวรรคตไปหกชั่วพระองค์.
ครั้นถึงองค์ที่เจ็ดครองราชมบัติ จึงทรงส่งพรานคนหนึ่งไป. พรานนั้นไปถึงแล้ว ก็รู้ถึงภาวะที่บ่วงมิได้กล้ำกราย แม้ในที่ที่นกยูงโพธิสัตว์เหยียบ และการที่นกยูงโพธิสัตว์เจริญพระปริตรป้องกันตนก่อนแล้ว จึงบินไปหาอาหาร จึงขึ้นไปยังปัจจันตชนบท. จับนางนกยูงได้ตัวหนึ่ง ฝึกให้รู้จักฟ้อนด้วยเสียงปรบมือ และให้รู้จักขันด้วยเสียงดีดนิ้ว.
ครั้นฝึกนางนกยูงจนชำนาญดีแล้ว จึงพามันไป. เมื่อนกยูงทองยังไม่เจริญพระปริตร ปักโคนบ่วงดักไว้ในเวลาเช้า ทำสัญญาณให้นางนกยูงขัน. นกยูงทองได้ยินเสียงมาตุคาม ซึ่งเป็นข้าศึกแล้ว. ก็เร่าร้อนด้วยกิเลส ไม่อาจเจริญพระปริตรได้ จึงบินโผไปติดบ่วง. พรานจึงจับนกยูงทองไปถวาย พระเจ้าพาราณสี. พระราชาทอดพระเนตรเห็นรูปสมบัติของนกยูงทอง ก็ทรงพอพระทัยพระราชทานที่ให้จับ.
นกยูงทองโพธิสัตว์จับอยู่เหนือคอนที่เขาจัดแต่งให้ จึงทูลถามว่า ข้าแต่มหาราช เพราะเหตุไร จึงมีรับสั่งให้จับข้าพเจ้า.
พระราชาตรัสว่า ข่าวว่า ผู้ใดกินเนื้อเจ้า ผู้นั้นจะไม่แก่ไม่ตาย. ข้าพเจ้าต้องการกินเนื้อเจ้า จะได้ไม่แก่ไม่ตายบ้าง จึงให้จับเจ้ามา.
นกยูงทองทูลว่า ข้าแต่มหาราช คนทั้งหลายกินเนื้อข้าพเจ้าจะไม่แก่ไม่ตาย ก็ช่างเถิด แต่ข้าพเจ้าจักตายหรือ.
รับสั่งว่า จริง เจ้าต้องตาย.
กราบทูลว่า ข้าแต่มหาราช เมื่อข้าพเจ้าต้องตาย ผู้ที่กินเนื้อข้าพเจ้าแล้ว ทำอย่างไรจึงไม่ตายเล่า.
รับสั่งว่า เจ้ามีตัวเป็นสีทอง เพราะฉะนั้น มีข่าวว่า ผู้ที่กินเนื้อเจ้าแล้ว จักไม่แก่ไม่ตาย.
กราบทูลว่า ข้าแต่มหาราช ข้าพเจ้ามีสีทอง เพราะไม่มีเหตุหามิได้. เมื่อก่อน ข้าพเจ้าเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ์ในนครนี้แหละ ทั้งตนเองก็รักษาศีลห้า แม้ชนทั้งหลายทั่วจักรวาฬก็ให้รักษาศีล ข้าพเจ้าสิ้นชีพแล้วก็ไปบังเกิดในภพดาวดึงส์ ดำรงอยู่ในภพนั้นจนตลอดอายุ จุติจากนั้นแล้ว จึงมาเกิดในกำเนิดนกยูง เพราะผลแห่งอกุศลกรรมอื่น. อีกอย่างหนึ่ง แต่ตัวมีสีทอง ก็ด้วยอานุภาพศีลห้าที่รักษาอยู่ก่อน.
รับสั่งถามว่า เจ้าพูดว่า เจ้าเป็นเจ้าจักรพรรดิ์รักษาศีลห้า ตัวมีสีเป็นทอง เพราะผลของศีล. ข้อนี้ ข้าพเจ้าจะเชื่อได้อย่างไร มีใครเป็นพยาน.
กราบทูลว่า ข้าแต่มหาราช มี.
รับสั่งถามว่า ใครเล่า.
กราบทูลว่า ข้าแต่มหาราช เมื่อครั้งเป็นเจ้าจักรพรรดิ์ ข้าพเจ้านั่งรถสำเร็จด้วยแก้วเจ็ดประการ เที่ยวไปในอากาศ รถของข้าพเจ้านั้นจมอยู่ ภายใต้ภาคพื้นสระมงคลโบกขรณี โปรดให้ยกรถนั้นขึ้นจากสระมงคลโบกขรณีเถิด รถนั้นจักเป็นพยานของข้าพเจ้า.
พระราชารับสั่งว่า ดีละ แล้วให้วิดน้ำออกจากสระโบกขรณี ยกรถขึ้นได้ จึงทรงเชื่อคำของพระโพธิสัตว์.
พระโพธิสัตว์แสดงธรรมถวายพระราชาว่า ข้าแต่มหาราช ธรรมที่ปรุงแต่งทั้งหมด ที่เหลือนอกจาก พระอมตมหานิพพานแล้ว ชื่อว่าไม่เที่ยง มีความสิ้นและความเสื่อมเป็นธรรมดา เพราะมีแล้วกลับไม่มี ดังนี้ แล้วให้พระราชาดำรงอยู่ในศีลห้า.
พระราชาทรงเลื่อมใส บูชาพระโพธิสัตว์ด้วยราชสมบัติ ได้ทรงกระทำสักการะเป็นอันมาก.
นกยูงทองถวายราชสมบัติคืนแด่พระราชา พักอยู่ 2 - 3 วัน จึงถวายโอวาทว่า ข้าแต่มหาราช ขอพระองค์จงทรงไม่ประมาทเถิด แล้วบินขึ้นอากาศไปยังภูเขาทัณฑกหิรัญ.
ฝ่ายพระราชาดำรงอยู่ในโอวาทของพระโพธิสัตว์แล้ว ทรงบำเพ็ญบุญมีทานเป็นต้น เสด็จไปตามยถากรรม
หลังจากทรงแสดงเรื่องราวในอดีตแล้ว สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเฉลยว่า พระราชาในครั้งนั้น คือพระอานนท์ ส่วนนกยูงนั้นคือพระมหาบุรุษเอง
เนื้อหา
เนื้อหาของโมรปริตร นำมาจากโมรชาดกทั้งหมด เนื่องจากชาดกนี้เป็นคาถาโดยตลอด เนื้อหาของคาถาในภษาบาลีและคำแปลภาษาไทย มีความว่า
คาถาภาษาบาลี
อุเทตยํ จกฺขุมา เอกราชา, หริสฺสวโณฺณ ปถวิปฺปภาโส [ปฐวิปฺปภาโส (สี. สฺยา. ปี.)]; ตํ ตํ นมสฺสามิ หริสฺสวณฺณํ ปถวิปฺปภาสํ, ตยาชฺช คุตฺตา วิหเรมุ ทิวสํฯ เย พฺราหฺมณา เวทคู สพฺพธเมฺม, เต เม นโม เต จ มํ ปาลยนฺตุ; นมตฺถุ พุทฺธานํ [พุทฺธาน (?)] นมตฺถุ โพธิยา, นโม วิมุตฺตานํ [วิมุตฺตาน (?)] นโม วิมุตฺติยา; อิมํ โส ปริตฺตํ กตฺวา, โมโร จรติ เอสนาฯ
อเปตยํ จกฺขุมา เอกราชา, หริสฺสวโณฺณ ปถวิปฺปภาโส; ตํ ตํ นมฺมสฺสามิ หริสฺสวณฺณํ ปถวิปฺปภาสํ, ตยาชฺช คุตฺตา วิหเรมุ รตฺติํฯ เย พฺราหฺมณา เวทคู สพฺพธเมฺม, เต เม นโม เต จ มํ ปาลยนฺตุ; นมตฺถุ พุทฺธานํ นมตฺถุ โพธิยา, นโม วิมุตฺตานํ นโม วิมุตฺติยา; อิมํ โส ปริตฺตํ กตฺวา, โมโร วาสมกปฺปยีติฯ
คำแปลภาษาไทย
พระอาทิตย์นี้ เป็นดวงตาของโลก เป็นเจ้าแห่งแสงสว่างอย่างเอก กำลังอุทัยขึ้นมาทอแสงอร่ามสว่างไปทั่วปฐพี เพราะเหตุนั้น ข้าพเจ้าขอ นอบน้อมพระอาทิตย์นั้น ซึ่งทอแสงอร่ามสว่างไปทั่วปฐพี ข้าพเจ้าอัน ท่านช่วยคุ้มกันแล้วในวันนี้ พึงอยู่เป็นสุขตลอดวัน พราหมณ์เหล่าใด ผู้ถึงฝั่งแห่งเวทในธรรมทั้งปวง ขอพราหมณ์เหล่านั้น จงรับความนอบ น้อมของข้าพเจ้า และขอจงคุ้มครองข้าพเจ้าด้วย ข้าพเจ้าขอนอบน้อม แด่พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระโพธิญาณ ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมแด่ท่านผู้หลุดพ้นแล้ว ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่วิมุตติธรรม ของท่านผู้หลุดพ้นแล้ว นกยูงนั้น เจริญพระปริตต์นี้แล้วจึงเที่ยวไปแสวง หาอาหาร.
พระอาทิตย์นี้ เป็นดวงตาของโลก เป็นเจ้าแห่งแสงสว่างอย่างเอก ส่องแสงสว่างไปทั่วปฐพีแล้วอัสดงคตไป เพราะเหตุนั้น ข้าพเจ้าขอ นอบน้อมพระอาทิตย์นั้น ซึ่งส่องสว่างไปทั่วปฐพี ข้าพเจ้าอันท่านช่วย คุ้มครองแล้วในวันนี้ พึงอยู่เป็นสุขตลอดคืน พราหมณ์เหล่าใด ผู้ถึง ฝั่งแห่งเวทในธรรมทั้งปวง ขอพราหมณ์เหล่านั้น จงรับความนอบน้อม ของข้าพเจ้า และขอจงคุ้มครองข้าพเจ้าด้วย ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่ พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระโพธิญาณ ข้าพเจ้าขอ นอบน้อมแด่ท่านผู้หลุดพ้นแล้ว ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่วิมุตติธรรมของ ท่านผู้หลุดพ้นแล้ว นกยูงนั้นเจริญพระปริตต์นี้แล้วจึงสำเร็จการอยู่.
การสวดสาธยาย
โบราณาจารย์ได้นำโมรปริตรมาใช้เป็นบทสวด และได้แต่งเป็นคาถาแสดงอานิสง์ของพระปริตรบทนี้ไว้ว่า
ปูเรนฺตมฺโพธิสมฺภาเร นิพฺพตฺตํ โมรโยนิยํ เยนะ สํวิหิตารกฺขํ มหาสตฺตํ วเนจรา จิรสฺสํ วายมนฺตาปิ เนว สกฺขึสุ คณฺหิตุํ พฺรหฺมะมนฺตนฺติ อกฺขาตํ ปริตฺตนฺตมฺภณาม เห
พวกพรานป่าทั้งหลาย แม้พยายามอยู่ช้านาน ก็ไม่อาจจับพระมหาสัตว์ ผู้บังเกิดในกำเนิดนกยูง บำเพ็ญโพธิสมภารอยู่ ผู้จัดการอารักขาตนเองเป็นอย่างดี ด้วยพระปริตรใด เราทั้งหลายจงสวดพระปริตรนั้น ที่เรียกว่า พรหมมต์ กันเถิด
ในประเทศไทย โมปริตรเป็นส่วนหนึ่งของภาณวารหรือหนังสือบทสวดมนต์หลวง รวมถึงในบทสวดมนต์ และ จึงเป็นที่นิยมสวดกันโดยทั่วไป เมื่อให้เกิดความเป็นมงคลสวัสดี ปราศจากภยันตรายกร้ำกราย เนื่องจากนี้ในหมู่ชาวพุทธทั่วไปเรียกโมรปริตรอยน่างไม่เป็นทางการ "พระคาถาพญายูงทอง" และกล่าวกันว่า ในพระวิปัสนากรรมฐาน หรือพระป่าสายหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต นิยมสวดพระปริตรนี้ เพื่อป้องกันภยันตรายเช่นกัน
ตามธรรมเนียมของพุทธศาสนิกชนในพม่า ก็นิยมสวดสาธยายโมรปริตรเช่นกัน โดยพระสิรินทาภิวงศ์ เจ้าอาวาสวัดวิสุทธาราม จังหวัดย่างกุ้ง ประเทศสหภาพพม่า ก็มีความเห็นว่า ควรสวดพระปริตรบทนี้ ร่วมกับพระปริตรอีก 4 บท คือ เมตตปริตร ขันธปริตร และอาฏานาฏิยปริตร
อ้างอิง
- Catubhanavarapali ใน http://www.buddhanet-de.net/ 2014-02-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- พระไตรปิฎกฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ทุกนิบาตชาดก เล่ม 3 ภาค 3 หน้า 61 - 62
- พระไตรปิฎกภาษาบาลี ฉบับฉัฏฐสังคายนา สุตฺตปิฎก ขุทฺทกนิกาย ชาตกปาฬิ ทุกนิปาโต โมรชาตกํ
- พระไตรปิฎกฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ทุกนิบาตชาดก เล่ม 3 ภาค 3 หน้า 60 - 61
- ธนิต อยู่โพธิ์. (2550). อานุภาพพระปริตร. หน้า 97
- ธนิต อยู่โพธิ์. (2550). อานุภาพพระปริตร. หน้า 97
- ธนิต อยู่โพธิ์. (2550). อานุภาพพระปริตร. หน้า 97
- หลวงตาทองคำ จารุวัณโณ. ( 2547). รำลึกวันวาน.
- พระคันธสาราภิวงศ์ (แปล). 2550. บทสวดมนต์พระปริตรธรรม 32. กรุงเทพฯ ไทยรายวันการพิมพ์. หน้า 8
บรรณานุกรม
- พระไตรปิฎกภาษาบาลี ฉบับฉัฏฐสังคายนา สุตฺตปิฎก ขุทฺทกนิกาย ชาตกปาฬิ ทุกนิปาโต โมรชาตกํ
- พระไตรปิฎกฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ทุกนิบาตชาดก เล่ม 3 ภาค 3
- พระคันธสาราภิวงศ์ (แปล). 2550. บทสวดมนต์พระปริตรธรรม 8. กรุงเทพฯ ไทยรายวันการพิมพ์
- พระคันธสาราภิวงศ์ (แปล). 2550. บทสวดมนต์พระปริตรธรรม 32. กรุงเทพฯ ไทยรายวันการพิมพ์
- ธนิต อยู่โพธิ์. (2550). อานุภาพพระปริตร. กรุงเทพฯ โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
- หลวงตาทองคำ จารุวัณโณ. ( 2547). รำลึกวันวาน. กรุงเทพฯ กองทุนแสงตะวัน วัดปทุมวนาราม
- เรื่อง Catubhanavarapali ใน http://www.buddhanet-de.net/ 2014-02-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnihruxswnnikhxngbthkhwamtxngkarprbrupaebb sungxachmaythung txngkarcdrupaebbkhxkhwam cdhna aebnghwkhx cdlingkphayin aela hruxkarcdraebiybxun khunsamarthchwyaekikhpyhaniidodykarkdthipum aekikh danbn caknnprbprunghruxcdrupaebbxun inbthkhwamihehmaasm omrpritr hrux omrprittpatha epnbthswdmnteriyberiyngiwepnswnhnunginphanwarhruxhnngsuxbthswdmnthlwng rwmthunginbthswdmnt aela omrpritrni epnbthswdephuxpxngknphyntraytangmacakeruxngrawkhx ngphraophthistw hruxsmedcphrasmmasmphuththecakxnthicathrngtrsru emuxkhrngthithrngeswyphrachatiepnnkyungthimaomrpritr prakdxyuinomrchadk wadwynkyungecriyphrapritt inhmwdchadk khuththknikay khxngphrasuttntpidk prakdepnkhatha micanwnthngsin 4 bth khathaomrpritrnimilksnachnthlksnthiphsmphsankn xathibathaerkkhxngbthaerk michnthlksnaebbtut thpha klawkhux xuethtyy ck khuma exkracha xyangirktam inbathtx mamikarphsmphsanchnthlksnxun sungimsamarthsruprupaebbid ykewnbaththi 3 khxngbththi 2 thiwa nmt thu phuth thanng nmt thu ophthiya nnichchnthlksnaebbchkhti sungmkichrwmknkbtut thpha enuxngcakkhathathiprakdinhmwdchadk khuththknikay imprakdthimaaelaraylaexiyephimetim inewlatxmaphraethracarycungidrcnaxrrthkthaxthibayenuxkhwamaelaeruxngrawebuxnghlngkhxngkhathainchadktang eriykwa chatktthktha odyinswnomrpritr hruxomrchadknn phraxrrthkthacaryidxthibayenuxkhwamxnepnehtuaehngchadkiwwa chadknismedcphrasmmasmphuththecatrsiw n wdechtwnmhawihar n emuxngsawtthi miehtuekiywkbphraphiksuekidkhwamkrasnenuxngcakehnstritkaetngrangkayngdngam cungtrswamatukhamwaepnphyrayaerngtxphrhmcrry caknncungthrngnaeruxnginxditmatrsela dngniwaenuxkhwaminxrrthkthainxditkal khrngphraecaphrhmthteswyrachsmbtiinkrungpharansi phraophthistwthuxptisnthiinkaenidnkyung inewlaepnfxng mikraepaafxngkhlaysidxkkrrnikartum khrnecaakraepaafxngxxkmaaelw misiducthxngkha nadu naeluxmis misayaedngphadinrahwangpik nkyungnnkhxyrawngchiwitkhxngtn xasyxyu n phunthiekhathnthkhiryaehnghnung iklaenwekhathisielyaenwekhathisamip txnswang nkyungthxngcbxyubnyxdekha mxngduphraxathitykalngkhun emuxcaphukmntxnpraesrith ephuxrksapxngkntw n phumiphakhthihaxahar cungklawkhatha aesdngkhwamnxbnxmtxdwngxathity khrnnxbnxmphraxathitydwykhathani xyangniaelw cungnmskarphraphuththecasungesdcpriniphphanipaelwinxdit aelaphrakhunkhxngphraphuththeca dwykhathathisxng dngthiprakdinomrchadk nkyungnn khrnecriyphrapritr khuxkarpxngknniaelw cungphkxyu n thixyunn dwyxanuphaphaehngphrapritrni nkyungmiidmikhwamklw khwamsydsyxng tlxdkhuntlxdwn ladbnn phranchawbanensathkhnhnung xyuimiklkrungpharansithxngethiywipinhimwntpraeths ehnnkyungophthistwcbxyubnyxdekhathnthkhiry cungklbmabxkluk xyumawnhnung phranangekhmaphraethwikhxngphraecakrungpharansi thrngsubinehnnkyungsithxngaesdngthrrm khnatunphrabrrthmidkrabthulsubinaedphrarachawa khxedcha khaaetphraxngkh hmxmchnprasngkhcafngthrrmkhxngnkyungsithxng ephkha phrarachacungmiphradarsthamphwkxamaty phwkxamatykrabthulwa phwkphrahmnkhngcathrab phayakha phrahmnthnghlaysdbphrarachpucchaaelw cungphaknkrabthulwa khxedcha nkyungsithxngmixyuaen phraecakha phrarachatrsthamwa mixyuthiihnela cungkrabthulwa phwkphranckthrab phraecakha phraracharbsngihprachumphwkphran aelwtrstham khrnaelwbutrphrankhnnnkkrabthulwa khxedcha khaaetmharach nkyungsithxngmixyucring xasyxyu n thnthkbrrpht phraecakha phraracharbsngwa thaechnnn ecacngipcbnkyungnnma xyaihtay phrancungexabwngipdkiwthi n thinkyunghaxahar aeminsthanthithinkyungehyiyb bwngkhaidklakrayekhaipim phranimsamarthcbnkyungid thxngethiywxyuthungecdpi idthungaekkrrmlng n thinnexng aemphranangekhmarachethwi emuximidsmphraprasngkhksinphrachnm phrarachathrngkriwwa phraethwiidsinphrachnmlngephraaxasynkyung cungihcarukxksriwinaephnthxng wa inhimwntpraeths miphuekhalukhnung chuxthnthkbrrpht nkyungsithxngtwhnungxasyxyu n thinn phuidkinenuxkhxngmn phunncaimaekimtay camixayuyun aelwekbaephnthxngiwinhibthxng khrnphrarachaswrrkhtaelw phrarachaxngkhxunkhrxngrachsmbti thrngxankhxkhwaminsuphrrnbd miphraprasngkhcaimaekimtay cungthrngsngphrankhnxunipihethiywaeswngha aemphrannnipthungthinnaelw kimsamarthcacbphraophthistwid idtayipinthinnexng odythanxngni phrarachaswrrkhtiphkchwphraxngkh khrnthungxngkhthiecdkhrxngrachmbti cungthrngsngphrankhnhnungip phrannnipthungaelw kruthungphawathibwngmiidklakray aeminthithinkyungophthistwehyiyb aelakarthinkyungophthistwecriyphrapritrpxngkntnkxnaelw cungbiniphaxahar cungkhunipyngpccntchnbth cbnangnkyungidtwhnung fukihruckfxndwyesiyngprbmux aelaihruckkhndwyesiyngdidniw khrnfuknangnkyungcnchanaydiaelw cungphamnip emuxnkyungthxngyngimecriyphrapritr pkokhnbwngdkiwinewlaecha thasyyanihnangnkyungkhn nkyungthxngidyinesiyngmatukham sungepnkhasukaelw kerarxndwykiels imxacecriyphrapritrid cungbinophiptidbwng phrancungcbnkyungthxngipthway phraecapharansi phrarachathxdphraentrehnrupsmbtikhxngnkyungthxng kthrngphxphrathyphrarachthanthiihcb nkyungthxngophthistwcbxyuehnuxkhxnthiekhacdaetngih cungthulthamwa khaaetmharach ephraaehtuir cungmirbsngihcbkhapheca phrarachatrswa khawwa phuidkinenuxeca phunncaimaekimtay khaphecatxngkarkinenuxeca caidimaekimtaybang cungihcbecama nkyungthxngthulwa khaaetmharach khnthnghlaykinenuxkhaphecacaimaekimtay kchangethid aetkhaphecacktayhrux rbsngwa cring ecatxngtay krabthulwa khaaetmharach emuxkhaphecatxngtay phuthikinenuxkhaphecaaelw thaxyangircungimtayela rbsngwa ecamitwepnsithxng ephraachann mikhawwa phuthikinenuxecaaelw ckimaekimtay krabthulwa khaaetmharach khaphecamisithxng ephraaimmiehtuhamiid emuxkxn khaphecaepnphraecackrphrrdiinnkhrniaehla thngtnexngkrksasilha aemchnthnghlaythwckrwalkihrksasil khaphecasinchiphaelwkipbngekidinphphdawdungs darngxyuinphphnncntlxdxayu cuticaknnaelw cungmaekidinkaenidnkyung ephraaphlaehngxkuslkrrmxun xikxyanghnung aettwmisithxng kdwyxanuphaphsilhathirksaxyukxn rbsngthamwa ecaphudwa ecaepnecackrphrrdirksasilha twmisiepnthxng ephraaphlkhxngsil khxni khaphecacaechuxidxyangir miikhrepnphyan krabthulwa khaaetmharach mi rbsngthamwa ikhrela krabthulwa khaaetmharach emuxkhrngepnecackrphrrdi khaphecanngrthsaercdwyaekwecdprakar ethiywipinxakas rthkhxngkhaphecanncmxyu phayitphakhphunsramngkhlobkkhrni oprdihykrthnnkhuncaksramngkhlobkkhrniethid rthnnckepnphyankhxngkhapheca phraracharbsngwa dila aelwihwidnaxxkcaksraobkkhrni ykrthkhunid cungthrngechuxkhakhxngphraophthistw phraophthistwaesdngthrrmthwayphrarachawa khaaetmharach thrrmthiprungaetngthnghmd thiehluxnxkcak phraxmtmhaniphphanaelw chuxwaimethiyng mikhwamsinaelakhwamesuxmepnthrrmda ephraamiaelwklbimmi dngni aelwihphrarachadarngxyuinsilha phrarachathrngeluxmis buchaphraophthistwdwyrachsmbti idthrngkrathaskkaraepnxnmak nkyungthxngthwayrachsmbtikhunaedphraracha phkxyu 2 3 wn cungthwayoxwathwa khaaetmharach khxphraxngkhcngthrngimpramathethid aelwbinkhunxakasipyngphuekhathnthkhiry fayphrarachadarngxyuinoxwathkhxngphraophthistwaelw thrngbaephybuymithanepntn esdciptamythakrrm hlngcakthrngaesdngeruxngrawinxditaelw smedcphrasmmasmphuththecathrngechlywa phrarachainkhrngnn khuxphraxannth swnnkyungnnkhuxphramhaburusexngenuxhaenuxhakhxngomrpritr namacakomrchadkthnghmd enuxngcakchadkniepnkhathaodytlxd enuxhakhxngkhathainphsabaliaelakhaaeplphasaithy mikhwamwa khathaphasabali xuethty ck khuma exkracha hris swon n pthwip pphaos pthwip pphaos si s ya pi t t nms sami hris swn n pthwip pphas tyach ch khut ta wihermu thiws ey ph rah mna ewthkhu sph phthem m et em nom et c m palyn tu nmt thu phuth than phuth than nmt thu ophthiya nom wimut tan wimut tan nom wimut tiya xim os prit t kt wa omor crti exsna xepty ck khuma exkracha hris swon n pthwip pphaos t t nm ms sami hris swn n pthwip pphas tyach ch khut ta wihermu rt ti ey ph rah mna ewthkhu sph phthem m et em nom et c m palyn tu nmt thu phuth than nmt thu ophthiya nom wimut tan nom wimut tiya xim os prit t kt wa omor wasmkp pyiti khaaeplphasaithy phraxathityni epndwngtakhxngolk epnecaaehngaesngswangxyangexk kalngxuthykhunmathxaesngxramswangipthwpthphi ephraaehtunn khaphecakhx nxbnxmphraxathitynn sungthxaesngxramswangipthwpthphi khaphecaxn thanchwykhumknaelwinwnni phungxyuepnsukhtlxdwn phrahmnehlaid phuthungfngaehngewthinthrrmthngpwng khxphrahmnehlann cngrbkhwamnxb nxmkhxngkhapheca aelakhxcngkhumkhrxngkhaphecadwy khaphecakhxnxbnxm aedphraphuththecathnghlay khaphecakhxnxbnxmaedphraophthiyan khapheca khxnxbnxmaedthanphuhludphnaelw khaphecakhxnxbnxmaedwimuttithrrm khxngthanphuhludphnaelw nkyungnn ecriyphraprittniaelwcungethiywipaeswng haxahar phraxathityni epndwngtakhxngolk epnecaaehngaesngswangxyangexk sxngaesngswangipthwpthphiaelwxsdngkhtip ephraaehtunn khaphecakhx nxbnxmphraxathitynn sungsxngswangipthwpthphi khaphecaxnthanchwy khumkhrxngaelwinwnni phungxyuepnsukhtlxdkhun phrahmnehlaid phuthung fngaehngewthinthrrmthngpwng khxphrahmnehlann cngrbkhwamnxbnxm khxngkhapheca aelakhxcngkhumkhrxngkhaphecadwy khaphecakhxnxbnxmaed phraphuththecathnghlay khaphecakhxnxbnxmaedphraophthiyan khaphecakhx nxbnxmaedthanphuhludphnaelw khaphecakhxnxbnxmaedwimuttithrrmkhxng thanphuhludphnaelw nkyungnnecriyphraprittniaelwcungsaerckarxyu karswdsathyayobranacaryidnaomrpritrmaichepnbthswd aelaidaetngepnkhathaaesdngxanisngkhxngphrapritrbthniiwwa puern tm ophthism phaer niph pht t omroyniy eyna swihitark kh mhast t wencra cirs s waymn tapi enw sk khusu khn hitu ph rh mamn tn ti xk khat prit tn tm phnam eh phwkphranpathnghlay aemphyayamxyuchanan kimxaccbphramhastw phubngekidinkaenidnkyung baephyophthismpharxyu phucdkarxarkkhatnexngepnxyangdi dwyphrapritrid erathnghlaycngswdphrapritrnn thieriykwa phrhmmt knethid inpraethsithy ompritrepnswnhnungkhxngphanwarhruxhnngsuxbthswdmnthlwng rwmthunginbthswdmnt aela cungepnthiniymswdknodythwip emuxihekidkhwamepnmngkhlswsdi prascakphyntraykrakray enuxngcakniinhmuchawphuthththwiperiykomrpritrxynangimepnthangkar phrakhathaphyayungthxng aelaklawknwa inphrawipsnakrrmthan hruxphrapasayhlwngpumn phurithtot niymswdphrapritrni ephuxpxngknphyntrayechnkn tamthrrmeniymkhxngphuththsasnikchninphma kniymswdsathyayomrpritrechnkn odyphrasirinthaphiwngs ecaxawaswdwisuththaram cnghwdyangkung praethsshphaphphma kmikhwamehnwa khwrswdphrapritrbthni rwmkbphrapritrxik 4 bth khux emttpritr khnthpritr aelaxatanatiypritrxangxingCatubhanavarapali in http www buddhanet de net 2014 02 26 thi ewyaebkaemchchin phraitrpidkchbbmhamkutrachwithyaly phrasuttntpidk khuththknikay thuknibatchadk elm 3 phakh 3 hna 61 62 phraitrpidkphasabali chbbchtthsngkhayna sut tpidk khuth thknikay chatkpali thuknipaot omrchatk phraitrpidkchbbmhamkutrachwithyaly phrasuttntpidk khuththknikay thuknibatchadk elm 3 phakh 3 hna 60 61 thnit xyuophthi 2550 xanuphaphphrapritr hna 97 thnit xyuophthi 2550 xanuphaphphrapritr hna 97 thnit xyuophthi 2550 xanuphaphphrapritr hna 97 hlwngtathxngkha caruwnon 2547 ralukwnwan phrakhnthsaraphiwngs aepl 2550 bthswdmntphrapritrthrrm 32 krungethph ithyraywnkarphimph hna 8brrnanukrmphraitrpidkphasabali chbbchtthsngkhayna sut tpidk khuth thknikay chatkpali thuknipaot omrchatk phraitrpidkchbbmhamkutrachwithyaly phrasuttntpidk khuththknikay thuknibatchadk elm 3 phakh 3 phrakhnthsaraphiwngs aepl 2550 bthswdmntphrapritrthrrm 8 krungethph ithyraywnkarphimph phrakhnthsaraphiwngs aepl 2550 bthswdmntphrapritrthrrm 32 krungethph ithyraywnkarphimph thnit xyuophthi 2550 xanuphaphphrapritr krungethph orngphimphmhaculalngkrnrachwithyaly hlwngtathxngkha caruwnon 2547 ralukwnwan krungethph kxngthunaesngtawn wdpthumwnaram eruxng Catubhanavarapali in http www buddhanet de net 2014 02 26 thi ewyaebkaemchchin