ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
โทมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes) (5 เมษายน พ.ศ. 2131 (ค.ศ. 1588) — 4 ธันวาคม พ.ศ. 2222 (ค.ศ. 1679)) เป็นนักปรัชญาการเมือง ชาวอังกฤษ ผู้มีชื่อเสียงโด่งดังจากผลงานที่สำคัญคือหนังสือชื่อ Leviathan ที่เขียนขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2194 หนังสือเล่มนี้กลายเป็นฐานประเด็นในแนวปรัชญาการเมืองตะวันตกในสมัยต่อมาในเกือบทุกแนว
ถึงแม้ว่าทุกคนได้รู้จักโทมัส ฮอบส์จากงานเขียนเกี่ยวกับปรัชญาการเมืองตะวันตกก็จริง แต่ที่จริงแล้วฮอบส์ได้สร้างผลงานที่เป็นประโยชน์ไว้อีกหลายด้าน เช่น ประวัติศาสตร์ เรขาคณิต เทววิทยา จริยธรรม รวมทั้งด้านปรัชญาทั่ว ๆ ไปอีกหลายเรื่อง และที่เป็นที่รู้จักในปัจจุบันว่า รัฐศาสตร์ (political science) นอกจากนี้สิ่งที่ฮอบบส์เชื่อที่ว่า "มนุษย์นั้นโดยธรรมชาติมีการร่วมมือกันก็โดยมุ่งผลประโยชน์ส่วนตัว" ซึ่งข้อคิดนี้ได้รับการพิสูจน์ในทฤษฎีของ ปรัชญามานุษยวิทยาต่อเนื่องมาอย่างยาวนาน
ชีวิตในวัยเยาว์และการศึกษา
โทมัส ฮอบส์ เกิดที่วิลท์ไชร์ ประเทศอังกฤษ เป็นบุตรของพระราชาคณะแห่งชาร์ลตัน และ เวสต์พอร์ตซึ่งหนีออกจากประเทศอังกฤษเนื่องจากการกลัวโทษแขวนคอและปล่อยลูก 3 คนทิ้งไว้ให้พี่ชายชื่อฟรานซิสดูแล ฮอบบส์ได้เข้าเรียนในโรงเรียนโบสถ์ตั้งแต่อายุ 4 ขวบ และเรียนต่อในชั้นที่สูงขึ้นตามลำดับ ฮอบส์เป็นนักเรียนดีและได้เข้าเรียนต่อระดับมหาวิทยาลัยที่ มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ดเมื่อ พ.ศ. 2146 ที่มหาวิทยาลัย ฮอบส์ได้เป็นครูกวดวิชาให้กับบุตรชายของ บารอนแห่งฮาร์ดวิกซึ่งกลายเป็นมิตรภาพกับครอบครัวนี้อย่างต่อเนื่องกันไปชั่วชีวิต
ฮอบบส์กลายเป็นคู่หูของวิลเลียมผู้เยาว์ ได้ร่วม "" (Grand tour -ประเพณีของคนอังกฤษชั้นสูงวัยหนุ่มระหว่างประมาณ พ.ศ. 2200 - พ.ศ. 2360 เพื่อท่องยุโรปแผ่นดินใหญ่เพื่อเรียนรู้ แสวงหาและสัมผัสกับปรัชญาและวิทยาศาสตร์ใหม่ ๆ ที่รุ่งเรืองในที่นั้น) ฮอบบส์ได้สัมผัสกับวิทยาศาสตร์และวิธีการคิดเชิงวิฤติของยุโรปซึ่งแตกต่างกับ "" (scholastic philosophy) ที่ได้เขาเคยเรียนที่ออกซฟอร์ดซึ่งมุ่งเรียนอย่างจริงจังทางกรีกคลาสสิกและละติน
แม้ว่าฮอบส์จะมีโอกาสได้คลุกคลีกับนักปรัชญามีชื่อเช่น และ ฟรานซิส เบคอนมานานแต่ก็ไม่ได้สนใจด้านปรัชญาจนกระทั่งถึงหลังจาก พ.ศ. 2172 คาเวนดิชซึ่งได้เลื่อนเป็นเอร์ลแห่งเดวอนไชร์ผู้เป็นนายจ้างฮอบส์ได้เสียชีวิตเมื่อ พ.ศ. 2171 และภริยาหม้ายของคาเวนดิชได้บอกเลิกจ้างเขา แต่ในเวลาต่อมาฮอบบส์ก็ได้งานใหม่เป็นครูกวดวิชาให้กับลูกของเซอร์เกอร์วาส คลิฟตันซึ่งส่วนใหญ่ทำงานในปารีสและจบลงเมื่อ พ.ศ. 2174 เนื่องจากการได้พบกับครอบครัวคาเวนดิชอีกครั้งหนึ่ง คราวนี้เป็นงานกวดวิชาให้กับลูกชายของนักเรียนเก่า ในช่วงต่อมาอีก 7 ปี ฮอบส์ได้เพิ่มพูนความรู้ด้านปรัชญาไปพร้อมกับงานกวดวิชาซึ่งทำให้เขาเกิดความอยากรู้อยากอภิปรายเกี่ยวปรัชญามากขึ้นและได้กลายเป็นนักอภิปรายปรัชญาหลักที่เป็น "ขาประจำ" ในยุโรป และจากปี พ.ศ. 2180 เป็นต้นมา ฮอบส์ได้ถือว่าตนเองเป็นนักปรัชญาและผู้รอบรู้
ปารีส
ที่ปารีสฮอบส์ได้ศึกษาลัทธิปรัชญาในหลาย ๆ ด้านและได้ทดลองเข้าถึงปัญหาด้วยแนวทางฟิสิกส์ ได้พยายามไปถึงการวางระบบความคิดที่ละเอียดบรรจงขึ้นซึ่งได้กลายเป็นงานที่ฮอบบ์ได้อุทิศชีวิตให้ ฮอบส์ได้ทำศาสตรนิพนธ์หลายเรื่อง เช่นเกี่ยวกับลัทธิที่เป็นระบบเกี่ยวกับร่างกายเพื่อแสดงให้เห็นว่าปรากฏการณ์ทางกายภาพสามารถอธิบายอาการเคลื่อนไหวได้อย่างไร ฮอบบ์ได้แยกเอา มนุษย์ ออกจากอาณาจักรของธรรมชาติและพืชพรรณ ในอีกศาสนตรนิพนธ์หนึ่ง ฮอบบ์ได้แสดงให้เห็นว่าการเคลื่อนไหวเฉพาะบางอย่างของร่างกายเนื่องมาจากผลของปรากฏการณ์ผัสสาการ (ศัพท์ปรัชญา = sensation) ความรู้ วิภาพ (ความชอบ = affection) และกัมมภาวะ (ความดูดดื่ม, กิเลส = passion) และสุดท้ายในศาสตรนิพนธ์อันลือชื่อ ฮอบบ์แสดงให้เห็นว่ามนุษย์ถูกผลักดันเข้าสังคมได้อย่างไรและตั้งประเด็นว่าจะต้องออกกฎระเบียบใช้บังคับหากไม่ต้องการให้มนุษย์ต้องตกสู่ "ความเหี้ยมโหดและความทุกข์ระทม" ทำให้ฮอบบ์เสนอการรวมปรากฏการณ์ที่ว่าแยกกันของ ร่างกาย" มนุษย์และ รัฐ เข้าเป็นหนึ่งเดียว
โทมัส ฮอบบ์กลับบ้านเมื่อ พ.ศ. 2180 ในขณะที่อังกฤษกำลังเกิดสงครามกลางเมืองสู้กันระหว่างบิชอปซึ่งมีผลกระทบต่องานศึกษาค้นคว้าทางปรัชญา แต่ฮอบส์ก็สามารถเขียนศาสตรนิพนธ์เรื่อง "Human Nature" และ "De Corpore Politico" แล้วเสร็จและตีพิมพ์ร่วมกันภายหลังใน 10 ปีต่อมาในชื่อ "The Element Of Law"
ในปี พ.ศ. 2183 ฮอบส์ได้หนีกลับไปฝั่งเศสอีกครั้งด้วยรู้ว่าการเผยแพร่ศาสตรนิพนธ์ที่เขาเขียนขึ้นกำลังให้ร้ายแก่ตัวเอง คราวนี้ฮอบส์ไม่ได้กลับบ้านอีกเป็นเวลา 11 ปี ฮอบส์ได้เขียนหนังสืออื่น ๆ อีกหลายเล่มเกี่ยวกับปรัชญาการเมือง เขาเกิดในยุคเดียวกับ เดส์การตส์ และเขียนบทวิจารณ์ตอบบทหนึ่งของหนังสือ "การครุ่นคิด" ของเดส์การตส์ซึ่งตีพิมพ์เมื่อพ.ศ. 2184 งานเขียนหลาย ๆ เรื่องของฮอบส์ได้ส่งให้เขามีชื่อเสียงมากขึ้นในวงวิชาการด้านปรัชญา
เลอไวอะทัน
"เลอไวอะทัน" (Leviathan) (พ.ศ. 2194) เป็นศาสตรนิพนธ์ชิ้นเอกด้านปรัชญาทางการเมืองที่ฮอบส์ใช้เผยแพร่ "ลัทธิพื้นฐานของสังคมกับรัฐบาลที่ชอบธรรม" ซึ่งเนื้อหาของหนังสือนี้ได้กลายเป็นต้นตำหรับของงานวิชาการทางปรัชญาด้าน "สัญญาประชาคม" และในหนังสือ "สภาวะตามธรรมชาติของมวลมนุษย์" ในเวลาต่อมา ซึ่งว่าในขณะที่คน ๆ หนึ่งที่อาจแข็งแรงหรือฉลาดกว่าใคร ๆ แต่เมื่อกำลังจะถูกฆ่าให้ตาย ในฐานะมนุษย์ตามสภาวะตามธรรมชาติ เมื่อหลีกเลี่ยงไม่ได้ก็จะต่อสู้ทุกวิถีทาง ฮอบส์ถือว่าการต่อสู้ป้องกันตัวเพื่อเอาชีวิตรอดจากสิ่งใดก็ตามในโลกเป็นสิทธิ์และความจำเป็นตามธรรมชาติของมนุษย์
เลอไวอะทันเป็นงานที่ฮอบส์เขียนขึ้นในระหว่างความยากลำบากของสงครามกลางเมืองของอังกฤษที่เต็มไปด้วยความยุ่งเหยิงที่มีการเรียกร้องให้มีรัฐบาลกลางที่เข้มแข็งเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความไม่ลงรอยที่นำไปสู่สงครามกลางเมือง มีการยอมให้ใช้อำนาจมากไปบ้างเพื่อรักษาสันติภาพ ด้วยสภาวะความยุ่งเหยิงทางการเมืองขณะนั้นทำให้ทฤษฎีทางการเมืองของฮอบส์ที่ว่า องค์อธิปัตย์ หรือ อำนาจอธิปไตยควรมีอำนาจในการควบคุมพลเรือน ทหาร ตุลาการ และศาสนาได้รับการยอมรับ
ฮอบส์แสดงออกมาอย่างเปิดเผยว่าองค์อธิปัตย์จะต้องมีอำนาจครอบคลุมไปถึงศรัทธาและลัทธิ และว่าถ้าไม่ทำเช่นนั้นย่อมเป็นการนำไปสู่ความแตกแยกในที่สุด
ฮอบบีเซียน (Hobbesian)
คำว่า ฮอบบีเซียน ในภาษาอังกฤษใหม่บางครั้งหมายถึงสถานการณ์ของการแข่งขันที่ไม่มีการควบคุม มีแต่ความเห็นแก่ตัวและไร้อารยธรรม เป็นความหมายที่นิ่งแล้ว แต่ก็เพี้ยนไม่ตรงความเป็นจริงด้วยเหตุผล 2 ประการคือ ประการแรกเลอไวอะทันได้พรรณาสถานการณ์นี้ไว้จริงแต่เพื่อเพียงใช้สำหรับการวิจารณ์ อีกประการหนึ่งฮอบส์และเป็นหนอนหนังสือเป็นกระดากที่จะชี้แจง อีกความหมายหนึ่งที่ใช้เกือบทันทีหลังการตีพิมพ์คือ "อำนาจคือธรรม"
ชีวิตบั้นปลาย
ฮอบส์ได้พยายามตีพิมพ์ผลงานด้านคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ที่ไม่ค่อยดีนักไปพร้อม ๆ กับงานด้านปรัชญา ในช่วงของ ยุคปฏิสังขรณ์ (The Restoration) (การฟื้นฟูราชวงศ์อังกฤษ ราชวงศ์สกอตแลนด์ และราชวงศ์ไอร์ริชโดยพระเจ้าชาร์ลที่ 2 กษัตริย์หนุ่มของอังกฤษ) ชื่อเสียงของฮอบส์ได้โด่งดังขึ้นจนพระเจ้าชาร์ล ที่ 2 ซึ่งเป็นลูกศิษย์ของฮอบส์เมื่อครั้งยังเป็นปรินซ์ออฟเวลล์ลี้ภัยอยู่ในปารีสจำได้ จึงมีรับสั่งให้ฮอบส์เข้ารับราชการในราชสำนักและพระราชทานบำนาญแก่ฮอบส์ปีละ 100 ปอนด์
พระเจ้าชาร์ลต้องช่วยปกป้องฮอบส์จากการถูกกล่าวหาว่าเขียนหนังสือหมิ่นศาสนาและไม่ยอมรับว่าพระเจ้ามีตัวตนจากซึ่งเกิดจากความพยายามของรัฐสภาที่จะออกกฎหมายเพื่อเอาผิดฮอบส์ แม้จะเอาผิดฮอบส์ไม่ได้ แต่ก็มีผลทำให้ฮอบส์ไม่กล้าตีพิมพ์งานของเขาในอังกฤษอีก
ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2222 ฮอบส์ป่วยด้วยโรคเกี่ยวกับกระเพาะปัสสาวะ ตามด้วยภาวะเส้นเลือดในสมองแตกจนเป็นอัมพาต ฮอบส์เสียชีวิตลงเมื่อวันที่ 4 ธันวาคมปีนั้น ด้วยวัย 91 ปี ศพได้รับการฝังที่สนามของโบสถ์อัลท์ฮักนาล ในเดวอนไชร์ ประเทศอังกฤษ
โทมัส ฮอบส์ มีอายุยืนยาวมาก มีชีวิตอยู่ตรงกับระหว่างรัชสมัยของสมเด็จพระมหาธรรมราชา และสมเด็จพระเพทราชาในสมัยอยุธยาซึ่งในช่วงนั้นมีกษัตริย์อยุธยาครองราชย์รวมแล้วถึง 12 รัชกาล
อ้างอิง
- Macpherson, C. B. (1962). The Political Theory of Possessive Individualism: Hobbes to Locke. Oxford: Oxford University Press.
- Robinson, Dave & Groves, Judy (2003). Introducing Political Philosophy. Icon Books. .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisud othms hxbs Thomas Hobbes 5 emsayn ph s 2131 kh s 1588 4 thnwakhm ph s 2222 kh s 1679 epnnkprchyakaremuxng chawxngkvs phumichuxesiyngodngdngcakphlnganthisakhykhuxhnngsuxchux Leviathan thiekhiynkhunemux ph s 2194 hnngsuxelmniklayepnthanpraedninaenwprchyakaremuxngtawntkinsmytxmainekuxbthukaenwothms hxbs wadody John Michael Wright thungaemwathukkhnidruckothms hxbscaknganekhiynekiywkbprchyakaremuxngtawntkkcring aetthicringaelwhxbsidsrangphlnganthiepnpraoychniwxikhlaydan echn prawtisastr erkhakhnit ethwwithya criythrrm rwmthngdanprchyathw ipxikhlayeruxng aelathiepnthiruckinpccubnwa rthsastr political science nxkcaknisingthihxbbsechuxthiwa mnusynnodythrrmchatimikarrwmmuxknkodymungphlpraoychnswntw sungkhxkhidniidrbkarphisucninthvsdikhxng prchyamanusywithyatxenuxngmaxyangyawnanchiwitinwyeyawaelakarsuksaothms hxbs ekidthiwilthichr praethsxngkvs epnbutrkhxngphrarachakhnaaehngcharltn aela ewstphxrtsunghnixxkcakpraethsxngkvsenuxngcakkarklwothsaekhwnkhxaelaplxyluk 3 khnthingiwihphichaychuxfransisduael hxbbsidekhaeriyninorngeriynobsthtngaetxayu 4 khwb aelaeriyntxinchnthisungkhuntamladb hxbsepnnkeriyndiaelaidekhaeriyntxradbmhawithyalythi mhawithyalyxxksfxrdemux ph s 2146 thimhawithyaly hxbsidepnkhrukwdwichaihkbbutrchaykhxng barxnaehnghardwiksungklayepnmitrphaphkbkhrxbkhrwnixyangtxenuxngknipchwchiwit hxbbsklayepnkhuhukhxngwileliymphueyaw idrwm Grand tour praephnikhxngkhnxngkvschnsungwyhnumrahwangpraman ph s 2200 ph s 2360 ephuxthxngyuorpaephndinihyephuxeriynru aeswnghaaelasmphskbprchyaaelawithyasastrihm thirungeruxnginthinn hxbbsidsmphskbwithyasastraelawithikarkhidechingwivtikhxngyuorpsungaetktangkb scholastic philosophy thiidekhaekhyeriynthixxksfxrdsungmungeriynxyangcringcngthangkrikkhlassikaelalatin aemwahxbscamioxkasidkhlukkhlikbnkprchyamichuxechn aela fransis ebkhxnmananaetkimidsnicdanprchyacnkrathngthunghlngcak ph s 2172 khaewndichsungideluxnepnexrlaehngedwxnichrphuepnnaycanghxbsidesiychiwitemux ph s 2171 aelaphriyahmaykhxngkhaewndichidbxkelikcangekha aetinewlatxmahxbbskidnganihmepnkhrukwdwichaihkblukkhxngesxrekxrwas khliftnsungswnihythanganinparisaelacblngemux ph s 2174 enuxngcakkaridphbkbkhrxbkhrwkhaewndichxikkhrnghnung khrawniepnngankwdwichaihkblukchaykhxngnkeriyneka inchwngtxmaxik 7 pi hxbsidephimphunkhwamrudanprchyaipphrxmkbngankwdwichasungthaihekhaekidkhwamxyakruxyakxphiprayekiywprchyamakkhunaelaidklayepnnkxphiprayprchyahlkthiepn khapraca inyuorp aelacakpi ph s 2180 epntnma hxbsidthuxwatnexngepnnkprchyaaelaphurxbruparisthiparishxbsidsuksalththiprchyainhlay danaelaidthdlxngekhathungpyhadwyaenwthangfisiks idphyayamipthungkarwangrabbkhwamkhidthilaexiydbrrcngkhunsungidklayepnnganthihxbbidxuthischiwitih hxbsidthasastrniphnthhlayeruxng echnekiywkblththithiepnrabbekiywkbrangkayephuxaesdngihehnwapraktkarnthangkayphaphsamarthxthibayxakarekhluxnihwidxyangir hxbbidaeykexa mnusy xxkcakxanackrkhxngthrrmchatiaelaphuchphrrn inxiksasntrniphnthhnung hxbbidaesdngihehnwakarekhluxnihwechphaabangxyangkhxngrangkayenuxngmacakphlkhxngpraktkarnphssakar sphthprchya sensation khwamru wiphaph khwamchxb affection aelakmmphawa khwamduddum kiels passion aelasudthayinsastrniphnthxnluxchux hxbbaesdngihehnwamnusythukphlkdnekhasngkhmidxyangiraelatngpraednwacatxngxxkkdraebiybichbngkhbhakimtxngkarihmnusytxngtksu khwamehiymohdaelakhwamthukkhrathm thaihhxbbesnxkarrwmpraktkarnthiwaaeykknkhxng rangkay mnusyaelarthekhaepnhnungediyw othms hxbbklbbanemux ph s 2180 inkhnathixngkvskalngekidsngkhramklangemuxngsuknrahwangbichxpsungmiphlkrathbtxngansuksakhnkhwathangprchya aethxbsksamarthekhiynsastrniphntheruxng Human Nature aela De Corpore Politico aelwesrcaelatiphimphrwmknphayhlngin 10 pitxmainchux The Element Of Law inpi ph s 2183 hxbsidhniklbipfngessxikkhrngdwyruwakarephyaephrsastrniphnththiekhaekhiynkhunkalngihrayaektwexng khrawnihxbsimidklbbanxikepnewla 11 pi hxbsidekhiynhnngsuxxun xikhlayelmekiywkbprchyakaremuxng ekhaekidinyukhediywkb edskarts aelaekhiynbthwicarntxbbthhnungkhxnghnngsux karkhrunkhid khxngedskartssungtiphimphemuxph s 2184 nganekhiynhlay eruxngkhxnghxbsidsngihekhamichuxesiyngmakkhuninwngwichakardanprchyaelxiwxathnFrontispiece of Leviathan elxiwxathn Leviathan ph s 2194 epnsastrniphnthchinexkdanprchyathangkaremuxngthihxbsichephyaephr lththiphunthankhxngsngkhmkbrthbalthichxbthrrm sungenuxhakhxnghnngsuxniidklayepntntahrbkhxngnganwichakarthangprchyadan syyaprachakhm aelainhnngsux sphawatamthrrmchatikhxngmwlmnusy inewlatxma sungwainkhnathikhn hnungthixacaekhngaernghruxchladkwaikhr aetemuxkalngcathukkhaihtay inthanamnusytamsphawatamthrrmchati emuxhlikeliyngimidkcatxsuthukwithithang hxbsthuxwakartxsupxngkntwephuxexachiwitrxdcaksingidktaminolkepnsiththiaelakhwamcaepntamthrrmchatikhxngmnusy elxiwxathnepnnganthihxbsekhiynkhuninrahwangkhwamyaklabakkhxngsngkhramklangemuxngkhxngxngkvsthietmipdwykhwamyungehyingthimikareriykrxngihmirthbalklangthiekhmaekhngephuxpxngknimihekidkhwamimlngrxythinaipsusngkhramklangemuxng mikaryxmihichxanacmakipbangephuxrksasntiphaph dwysphawakhwamyungehyingthangkaremuxngkhnannthaihthvsdithangkaremuxngkhxnghxbsthiwa xngkhxthipty hrux xanacxthipitykhwrmixanacinkarkhwbkhumphleruxn thhar tulakar aelasasnaidrbkaryxmrb hxbsaesdngxxkmaxyangepidephywaxngkhxthiptycatxngmixanackhrxbkhlumipthungsrththaaelalththi aelawathaimthaechnnnyxmepnkarnaipsukhwamaetkaeykinthisud hxbbiesiyn Hobbesian khawa hxbbiesiyn inphasaxngkvsihmbangkhrnghmaythungsthankarnkhxngkaraekhngkhnthiimmikarkhwbkhum miaetkhwamehnaektwaelairxarythrrm epnkhwamhmaythiningaelw aetkephiynimtrngkhwamepncringdwyehtuphl 2 prakarkhux prakaraerkelxiwxathnidphrrnasthankarnniiwcringaetephuxephiyngichsahrbkarwicarn xikprakarhnunghxbsaelaepnhnxnhnngsuxepnkradakthicachiaecng xikkhwamhmayhnungthiichekuxbthnthihlngkartiphimphkhux xanackhuxthrrm chiwitbnplayhxbsidphyayamtiphimphphlngandankhnitsastraelafisiksthiimkhxydinkipphrxm kbngandanprchya inchwngkhxng yukhptisngkhrn The Restoration karfunfurachwngsxngkvs rachwngsskxtaelnd aelarachwngsixrrichodyphraecacharlthi 2 kstriyhnumkhxngxngkvs chuxesiyngkhxnghxbsidodngdngkhuncnphraecacharl thi 2 sungepnluksisykhxnghxbsemuxkhrngyngepnprinsxxfewllliphyxyuinpariscaid cungmirbsngihhxbsekharbrachkarinrachsankaelaphrarachthanbanayaekhxbspila 100 pxnd phraecacharltxngchwypkpxnghxbscakkarthukklawhawaekhiynhnngsuxhminsasnaaelaimyxmrbwaphraecamitwtncaksungekidcakkhwamphyayamkhxngrthsphathicaxxkkdhmayephuxexaphidhxbs aemcaexaphidhxbsimid aetkmiphlthaihhxbsimklatiphimphngankhxngekhainxngkvsxik ineduxntulakhm ph s 2222 hxbspwydwyorkhekiywkbkraephaapssawa tamdwyphawaesneluxdinsmxngaetkcnepnxmphat hxbsesiychiwitlngemuxwnthi 4 thnwakhmpinn dwywy 91 pi sphidrbkarfngthisnamkhxngobsthxlthhknal inedwxnichr praethsxngkvs othms hxbs mixayuyunyawmak michiwitxyutrngkbrahwangrchsmykhxngsmedcphramhathrrmracha aelasmedcphraephthrachainsmyxyuthyasunginchwngnnmikstriyxyuthyakhrxngrachyrwmaelwthung 12 rchkalxangxingMacpherson C B 1962 The Political Theory of Possessive Individualism Hobbes to Locke Oxford Oxford University Press Robinson Dave amp Groves Judy 2003 Introducing Political Philosophy Icon Books ISBN 1 84046 450 X