โครงการกระสวยอวกาศ-เมียร์ (อังกฤษ: Shuttle–Mir Program) เป็นโครงการความร่วมมือด้านอวกาศระหว่างรัสเซียกับสหรัฐอเมริกา เกี่ยวกับการที่กระสวยอวกาศของสหรัฐจะเดินทางไปเยือนสถานีอวกาศเมียร์ของรัสเซีย นักบินอวกาศของรัสเซียจะบินไปยังกระสวยอวกาศ ส่วนนักบินอวกาศสหรัฐจะบินไปยังเพื่อเข้าปฏิบัติการระยะยาวบนสถานีอวกาศเมียร์
โครงการนี้ (ซึ่งบางครั้งก็เรียกว่า "เฟสหนึ่ง") มีวัตถุประสงค์จะให้ฝ่ายสหรัฐอเมริกาเรียนรู้จากประสบการณ์ของรัสเซียในการใช้ชีวิตอยู่ในอวกาศเป็นเวลานานๆ และเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างชาติทั้งสองตลอดจนหน่วยงานด้านอวกาศของทั้งสองประเทศ คือองค์การนาซ่า กับองค์การอวกาศสหพันธรัฐรัสเซีย (รอสคอสมอส) โครงการนี้ช่วยปูพื้นฐานโครงการความร่วมมือทางอวกาศในอนาคต โดยเฉพาะอย่างยิ่ง "เฟสสอง" ของโครงการร่วม คือการก่อสร้างสถานีอวกาศนานาชาติ โครงการเริ่มต้นประกาศตัวในปี ค.ศ. 1993 ภารกิจแรกดำเนินการในปี ค.ศ. 1994 และโครงการได้ดำเนินต่อมาจนกระทั่งสิ้นสุดแผนภารกิจในปี ค.ศ. 1998 มีเที่ยวบินกระสวยอวกาศทั้งสิ้น 11 เที่ยว และระยะเวลาปฏิบัติงานร่วมกันในอวกาศเกือบ 1000 วันสำหรับนักบินอวกาศสหรัฐ โดยมีชุดลูกเรือผลัดเปลี่ยนปฏิบัติการระยะยาวทั้งสิ้น 7 ชุด
ระหว่างช่วง 4 ปีของโครงการ ทั้ง 2 ประเทศมีการดำเนินการ "สิ่งแรก" ในอวกาศได้สำเร็จหลายอย่าง รวมถึงการที่นักบินอวกาศสหรัฐคนแรกเดินทางไปบนยานโซยูซ การต่อยานอวกาศขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยมีมาในประวัติศาสตร์ และการเดินในอวกาศครั้งแรกของนักบินอวกาศสหรัฐด้วยชุดอวกาศ Orlan ของรัสเซีย
แหล่งข้อมูลอื่น
- History of Shuttle–Mir 2015-11-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (NASA)
- Diary of Linenger Increment (NASA)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
okhrngkarkraswyxwkas emiyr xngkvs Shuttle Mir Program epnokhrngkarkhwamrwmmuxdanxwkasrahwangrsesiykbshrthxemrika ekiywkbkarthikraswyxwkaskhxngshrthcaedinthangipeyuxnsthanixwkasemiyrkhxngrsesiy nkbinxwkaskhxngrsesiycabinipyngkraswyxwkas swnnkbinxwkasshrthcabinipyngephuxekhaptibtikarrayayawbnsthanixwkasemiyrtraokhrngkarkraswyxwkas emiyr okhrngkarni sungbangkhrngkeriykwa efshnung miwtthuprasngkhcaihfayshrthxemrikaeriynrucakprasbkarnkhxngrsesiyinkarichchiwitxyuinxwkasepnewlanan aelaephuxesrimsrangkhwamrwmmuxrahwangchatithngsxngtlxdcnhnwyngandanxwkaskhxngthngsxngpraeths khuxxngkhkarnasa kbxngkhkarxwkasshphnthrthrsesiy rxskhxsmxs okhrngkarnichwypuphunthanokhrngkarkhwamrwmmuxthangxwkasinxnakht odyechphaaxyangying efssxng khxngokhrngkarrwm khuxkarkxsrangsthanixwkasnanachati okhrngkarerimtnprakastwinpi kh s 1993 pharkicaerkdaeninkarinpi kh s 1994 aelaokhrngkariddaenintxmacnkrathngsinsudaephnpharkicinpi kh s 1998 miethiywbinkraswyxwkasthngsin 11 ethiyw aelarayaewlaptibtinganrwmkninxwkasekuxb 1000 wnsahrbnkbinxwkasshrth odymichudlukeruxphldepliynptibtikarrayayawthngsin 7 chud rahwangchwng 4 pikhxngokhrngkar thng 2 praethsmikardaeninkar singaerk inxwkasidsaerchlayxyang rwmthungkarthinkbinxwkasshrthkhnaerkedinthangipbnyanosyus kartxyanxwkaskhnadihythisudethathiekhymimainprawtisastr aelakaredininxwkaskhrngaerkkhxngnkbinxwkasshrthdwychudxwkas Orlan khxngrsesiyaehlngkhxmulxunsthaniyxyshrthHistory of Shuttle Mir 2015 11 30 thi ewyaebkaemchchin NASA Diary of Linenger Increment NASA bthkhwamkarbinxwkasniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmul duephimthi sthaniyxy karbinxwkasdkhk