บทความนี้ไม่มีจาก |
แฮนส์ เครสแจน เออร์สเตด (เดนมาร์ก: Hans Christian Ørsted, ภาษาเดนมาร์ก: [ˈhænˀs ˈkʰʁestjæn ˈɶɐ̯steð] ( ฟังเสียง); 14 สิงหาคม พ.ศ. 2320 - 9 มีนาคม พ.ศ. 2394) เป็นนักฟิสิกส์และนักเคมีชาวเดนมาร์ก เป็นผู้ค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างไฟฟ้ากับความเป็นแม่เหล็ก หรือที่เรียกว่า ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า
เออร์สเตดเกิดเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2320 เขาเป็นศาสตราจารย์ภาควิชาฟิสิกส์ ประจำมหาวิทยาลัยโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก เออร์สเตดค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างไฟฟ้ากับสนามแม่เหล็กด้วยความบังเอิญ ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2363 ขณะบรรยายวิชาฟิสิกส์ในหัวข้อ คุณสมบัติของกระแสไฟฟ้า (Electricity, Galvanism and Magnetism) โดยมีอุปกรณ์ในการทำการทดลองประกอบการบรรยาย คือ แบตเตอรี่ สายไฟ และเข็มทิศ
เออร์สเตดได้ทำการทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณ์ที่เข็มทิศจะเบนเมื่อมีฝนตกหนัก และฟ้าแลบ เพื่อลองดูว่าจะเกิดอะไรขึ้นกับเข็มทิศ ถ้าผ่านกระแสไฟเข้าไปในลวดตัวนำ เขานำลวดตัวนำตั้งฉากกับเข็มทิศและพบว่าไม่มีอะไรเกิดขึ้น แต่หลังจากการบรรยายสิ้นสุด เออร์สเตดลองวางลวดตัวนำขนานกับเข็มทิศ และผ่านกระแสไฟฟ้าไปในลวดตัวนำ กลับพบว่าเข็มทิศกระดิกและเริ่มเบน การค้นพบนี้ทำให้เออร์สเตดเป็นบุคคลแรกที่ค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้ากับแม่เหล็กหรือนำไปสู่ทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างแม่เหล็กกับไฟฟ้า (Electro Magnetism Theory)
ต่อมาในวันที่ 11 กันยายน ปีเดียวกันนั้นเอง การค้นพบของเออร์สเตดได้รับการนำเสนอที่ราชสมาคมฝรั่งเศสโดยดอมีนิก ฟร็องซัว ฌ็อง อาราโก เขาระบุว่าการค้นพบนี้สำคัญไม่น้อยไปกว่าการค้นพบไฟฟ้า นอกจากนี้ยังมีนักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศสและชาวอังกฤษอีกหลายคนที่พยายามแข่งขันเพื่ออธิบายปรากฏการณ์ที่เออร์สเตดค้นพบ โดยเฉพาะนักทดลองชาวฝรั่งเศสที่ชื่อ ฌ็อง-บาติสต์ บีโย และ เป็นนักฟิสิกส์คนแรก ๆ ที่สามารถอธิบายปรากฏการณ์นี้อย่างละเอียดได้
นับได้ว่าการค้นพบของเออร์สเตดได้จุดประกายที่ทำให้นักวิทยาศาสตร์หลายคนพยายามค้นพบเรื่องแม่เหล็กไฟฟ้า รวมถึงอ็องเดร-มารี อ็องแปร์ ผู้ค้นพบทฤษฎีแม่เหล็กโลก
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir aehns ekhrsaecn exxrsetd ednmark Hans Christian Orsted phasaednmark ˈhaenˀs ˈkʰʁestjaen ˈɶɐ sted fngesiyng 14 singhakhm ph s 2320 9 minakhm ph s 2394 epnnkfisiksaelankekhmichawednmark epnphukhnphbkhwamsmphnthrahwangiffakbkhwamepnaemehlk hruxthieriykwa thvsdiaemehlkiffaaehns ekhrsaecn exxrsetdDer Geist in der Natur 1854 exxrsetdekidemuxwnthi 14 singhakhm ph s 2320 ekhaepnsastracaryphakhwichafisiks pracamhawithyalyokhepnehekn praethsednmark exxrsetdkhnphbkhwamsmphnthrahwangiffakbsnamaemehlkdwykhwambngexiy ineduxnemsayn ph s 2363 khnabrryaywichafisiksinhwkhx khunsmbtikhxngkraaesiffa Electricity Galvanism and Magnetism odymixupkrninkarthakarthdlxngprakxbkarbrryay khux aebtetxri sayif aelaekhmthis exxrsetdidthakarthdlxngekiywkbpraktkarnthiekhmthiscaebnemuxmifntkhnk aelafaaelb ephuxlxngduwacaekidxairkhunkbekhmthis thaphankraaesifekhaipinlwdtwna ekhanalwdtwnatngchakkbekhmthisaelaphbwaimmixairekidkhun aethlngcakkarbrryaysinsud exxrsetdlxngwanglwdtwnakhnankbekhmthis aelaphankraaesiffaipinlwdtwna klbphbwaekhmthiskradikaelaerimebn karkhnphbnithaihexxrsetdepnbukhkhlaerkthikhnphbkhwamsmphnthrahwangkraaesiffakbaemehlkhruxnaipsuthvsdikhwamsmphnthrahwangaemehlkkbiffa Electro Magnetism Theory txmainwnthi 11 knyayn piediywknnnexng karkhnphbkhxngexxrsetdidrbkarnaesnxthirachsmakhmfrngessodydxminik frxngsw chxng xaraok ekharabuwakarkhnphbnisakhyimnxyipkwakarkhnphbiffa nxkcakniyngminkwithyasastrchawfrngessaelachawxngkvsxikhlaykhnthiphyayamaekhngkhnephuxxthibaypraktkarnthiexxrsetdkhnphb odyechphaankthdlxngchawfrngessthichux chxng batist bioy aela epnnkfisikskhnaerk thisamarthxthibaypraktkarnnixyanglaexiydid nbidwakarkhnphbkhxngexxrsetdidcudprakaythithaihnkwithyasastrhlaykhnphyayamkhnphberuxngaemehlkiffa rwmthungxxngedr mari xxngaepr phukhnphbthvsdiaemehlkolk bthkhwamchiwprawtiniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk