แลนไร้สาย (อังกฤษ: wireless LAN) หรือ WLAN คือ เทคโนโลยีที่เชื่อมอุปกรณ์ตั้งแต่สองตัวขึ้นไปเข้าด้วยกัน โดยใช้วิธีการกระจายแบบไร้สาย (ส่วนใหญ่แล้ว จะใช้คลื่นวิทยุแบบกระจายความถี่ หรือ OFDM(อังกฤษ: Orthogonal Frequency Division Multiplex) และโดยปกติแล้ว จะมีการเชื่อมต่อผ่านทาง Access Point (AP) เพื่อเข้าไปยังโลกอินเทอร์เน็ต แลนไร้สายทำให้ผู้ใช้สามารถนำพาหรือเคลื่อนย้ายคอมพิวเตอร์ไปยังพื้นที่ใดก็ได้ที่มีสัญญาณของแลนไร้สาย และยังสามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายได้ตามปกติ WLANs ที่ทันสมัยส่วนใหญ่จะมีพื้นฐานมาจากมาตรฐาน IEEE 802.11 ที่ถูกวางตลาดภายใต้ชื่อแบรนด์ Wi-Fi. ครั้งหนึ่ง WLANs เคยถูกเรียกว่า LAWN (local area wireless network) โดยกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ
แลนไร้สายได้รับความนิยมในการใช้ตามบ้านอันเนื่องมาจากความง่ายในการติดตั้ง และมีการใช้กันมากในย่านธุรกิจและในอาคารขนาดใหญ่เพื่อให้บริการลูกค้าซึ่งปรกติจะให้บริการฟรีเพื่อการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต เช่นโครงการฟรีอินเทอร์เน็ตของกระทรวงไอซีที ภายในกทม. ก็มีอินเทอร์เน็ตฟรี
ประวัติ
ในปี ค.ศ. 1970 ศาสตราจารย์แห่งมหาวิทยาลัยฮาวายได้พัฒนาเครือข่ายสื่อสารทางคอมพิวเตอร์แบบไร้สายขึ้นเป็นครั้งแรกของโลก ในชื่อ ALOHAnet โดยใช้คลื่นวิทยุคล้ายค้อนแบบต้นทุนต่ำ โดยตัวระบบได้มีการใช้คอมพิวเตอร์ทั้งหมด 7 ตัวกระจายไปยัง 4 เกาะแล้วทำการสื่อสารมาที่ศูนย์คอมพิวเตอร์กลางที่เกาะโออาฮู โดยไม่ใช้สายโทรศัพท์เลย
"ในปี ค.ศ. 1979 เอฟ. อาร์. จีเฟลเลอร์ และ ยู. บาปสต์ ได้เผยแพร่งานวิจัยในวารสาร IEEE เพื่อรายงานผลของการทดลองระบบแลนไร้สายโดยใช้คลื่นรังสีอินฟราเรด จากนั้นไม่นาน ในปี ค.ศ. 1980 พี เฟอร์เริร์ต ได้รายงานผลของการทดลองใช้คลื่นวิทยุ spread spectrum รหัสเดี่ยวสำหรับการสื่อสารแบบไร้สายในที่ประชุมโทรคมนาคมระดับชาติของ IEEE จากนั้นในปี ค.ศ. 1984 มีการเปรียบเทียบระหว่างคลื่นรังสีอินฟราเรดและ spread spectrum แบบ CDMA สำหรับเครือข่ายแลกเปลี่ยนข้อมูลในสำนักงานแบบไร้สาย และมีการตีพิมพ์ในวารสาร Computer Networking Symposium ของ IEEE และจากนั้นได้มีการตีพิมพ์ต่อในวารสาร Communication Sociery ของ IEEE"
"ในปี ค.ศ. 1985 มาร์คุสได้ทำการทดลองใช้ ISM band เพื่อนำเทคโนโลยี spread specturm ไปใช้ในเชิงพาณิย์ จากนั้น เอ็ม. เคฟฮราด ได้รายงานผลของการทดลองระบบ PBX โดยใช้การเข้ารหัสแบบผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลได้ทีละหลายคน ความพยายามครั้งนี้แสดงนัยถึงการนำแลนไร้สายไปใช้ในเชิงอุตสาหกรรม จนต่อมาได้มีการพัฒนาแลนไร้สายรุ่นใหม่ขึ้นมา และมีการปรับปรุงรุ่นเก่าเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน"
องค์ประกอบ
สถานี
อุปกรณ์ทุกตัวที่สามารถเชื่อมต่อเข้ากับตัวกลางไร้สายในเครือข่ายได้จะถูกเรียกว่า สถานี สถานีทุกสถานีจะใช้ตัวควบคุมระบบติดต่อประสานเครือข่ายไร้สาย (อังกฤษ: wireless network interface controller) หรือ WNIC สถานีไร้สายแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ Access Point และ เครื่องลูกข่าย Access Point (AP) ส่วนใหญ่จะเป็น เราต์เตอร์ คือสถานีฐานสำหรับเครือข่ายไร้สาย AP จะรับและส่งคลื่นความถี่วิทยุเพื่อให้อุปกรณ์ไร้สายสามารถสื่อสารกับตัวมันเองได้ เครื่องลูกข่ายแบบไร้สายมีได้หลายแบบ เช่น แล็ปท็อป, อุปกรณ์ช่วยเหลือแบบดิจิตอล (อังกฤษ: Personal Digital Assistance), โทรศัพท์ IP และโทรศัพท์อัจฉริยะ อื่นๆ หรืออุปกรณ์ที่ติดตั้งอยู่กับที่อย่าง คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ และ (คอมพิวเตอร์แบบหนึ่งที่ออกแบบมาใช้งานเฉพาะด้านเช่นด้านเทคนิคหรือวิทยาศาสตร์) ที่มีอุปกรณ์เชื่อมต่อกับระบบไร้สาย
เซ็ตบริการพื้นฐาน
เซ็ตบริการพื้นฐาน (Basic Service Set หรือ BSS) คือเซ็ตของสถานีทุกสถานีที่สามารถสื่อสารกันได้ ทุกเซ็ตบริการพื้นฐานจะมีหมายเลข (ID) กำกับ ที่เรียกว่า BSSID ซึ่งก็คือ MAC Address ของ Access Point ที่ให้บริการในเซ็ตบริการพื้นฐานนั่นเอง เซ็ตบริการพื้นฐาน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ เซ็ตบริการพื้นฐานอิสระ (Independent BSS หรือ IBSS) และ เซ็ตบริการพื้นฐานโครงสร้างพื้นฐาน (infrastructure BSS) เซ็ตบริการพื้นฐานอิสระก็คือ Ad-hoc Network (เครือข่ายเฉพาะกิจ) ที่จะไม่มี Access Point โดยทุกเครื่องลูกข่ายจะติดต่อกันเองซึ่งหมายถึงจะไม่มีการเชื่อมต่อกับเซ็ตบริการพื้นฐานอื่น แต่ใน infrastructure BSS เครื่องลูกข่ายจะสามารถสื่อสารกับ Access Point เท่านั้น
เซ็ตบริการขยาย
เซ็ตบริการขยาย (extended service set หรือ ESS) คือชุดของหลาย BSSs เชื่อมต่อเข้าด้วยกัน Access points ใน ESS มีการเชื่อมต่อกันด้วย'ระบบการกระจาย'. แต่ละ ESS มีรหัสเรียกว่า SSID หรือชื่อเครือข่ายเช่น ICT Free Wi-Fi by XXX หรือ APSPCCTV-1234 เป็นต้นซึ่งมีความยาวสูงสุด 32 ไบต์
ระบบการกระจาย
ระบบการกระจาย (distribution system หรือ DS) เชื่อมต่อหลาย access points ใน ESS เข้าด้วยกัน แนวคิดของ DS ก็คือเพื่อใช้ในการเพิ่มความครอบคลุมเครือข่ายผ่านบริการโรมมิ่งระหว่างหลายเซลล์
DS อาจเป็นแบบใช้สายหรือไร้สายก็ได้ ปัจจุบันระบบการกระจายไร้สายส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่กับโพรโทคอล Wireless Distribution System (WDS) แต่ระบบอื่น ๆ ก็ยังใช้งานได้
ประเภทของ LAN ไร้สาย
peer-to-peer
เครือข่าย peer-to-Peer หรือเครือข่ายเฉพาะกิจ เป็นเครือข่ายที่สถานีตั้งแต่สองสถานีขึ้นไปสื่อสารกันแบบ Peer-to-Peer (P2P) เท่านั้น ไม่มีสถานีฐานและไม่มีใครอนุญาตให้ใครพูดคุย การสื่อสารแบบนี้ทำสำเร็จได้โดยใช้ชุดบริการพื้นฐานอิสระ (IBSS)
ในกลุ่ม P2P Wi-Fi ใดๆ เจ้าของกลุ่มจะทำงานเหมือนกับเป็น access point ตัวหนึ่งและอุปกรณ์อื่นๆเป็นลูกข่าย มีสองวิธีหลักในการสร้างเจ้าของกลุ่ม วิธีการแรกผู้ใช้แต่งตั้งเจ้าของกลุ่ม P2P ด้วยตนเอง วิธีการนี้เป็นที่รู้จักกันในฐานะเจ้าของกลุ่มอัตโนมัติ (Autonomous Group Owner) วิธีที่สองเรียกว่าการตั้งเจ้าของกลุ่มด้วยพื้นฐานการเจรจา โดยที่สองอุปกรณ์แข่งขันบนพื้นฐานของค่าเจตนา อุปกรณ์ที่มีค่าเจตนาสูงกว่าจะเป็นเจ้าของกลุ่มและอุปกรณ์ที่สองจะเป็นลูกข่าย ค่าเจตนาจะขึ้นอยู่กับว่าอุปกรณ์ไร้สายจะดำเนินการข้ามการเชื่อมต่อระหว่างการบริการ WLAN โครงสร้างพื้นฐานกับกลุ่ม P2P หรือไม่, ขึ้นอยู่กับอำนาจที่เหลืออยู่ในอุปกรณ์ไร้สาย, ขึ้นอยู่กับว่าอุปกรณ์ไร้สายนั้นเป็นเจ้าของกลุ่มในอีกกลุ่มหนึ่งอยู่แล้วและ/หรือเป็นอุปกรณ์ที่ได้รับความแรงของสัญญาณจากอุปกรณ์ไร้สายตัวแรก
เครือข่าย peer-to-peer (P2P) ช่วยให้อุปกรณ์ไร้สายได้สื่อสารโดยตรงซึ่งกันและกัน อุปกรณ์ไร้สายที่อยู่ในระยะทำการของตัวอื่น สามารถจับสัญญาณได้และสื่อสารกันได้โดยตรงโดยไม่เกี่ยวข้องกับ access points กลาง วิธีนี้จะใช้โดยทั่วไปกับคอมพิวเตอร์สองเครื่องเพื่อให้สามารถเชื่อมต่อกันในรูปแบบเครือข่าย
IEEE 802.11 กำหนดชั้นทางกายภาพ (physical layer) และชั้น MAC (Media Access Control) ที่มีพื้นฐานมาจาก CSMA / CA (Carrier Sense Multiple Access with Collision Avoidance) ลักษณะสมบัติของ 802.11 ประกอบด้วยบทบัญญัติที่ออกแบบมาเพื่อลดการชนกันอันเนื่องมาจากสองสถานีเคลื่อนที่อาจจะอยู่ในระยะทำการของ access point ตัวเดียวกัน แต่อยู่นอกระยะทำการของกันและกัน
802.11 มีสองโหมดพื้นฐานของการทำงาน: โหมดเฉพาะกิจและโหมดโครงสร้างพื้นฐาน ในโหมดเฉพาะกิจ สถานีเคลื่อนที่ส่งโดยตรงแบบ peer-to-peer. ในโหมดโครงสร้างพื้นฐาน สถานีเคลื่อนที่ติดต่อสื่อสารผ่าน access point ที่ทำหน้าที่เป็นสะพานเชื่อมไปยังโครงสร้างพื้นฐานเครือข่ายแบบใช้สาย เนื่องจากการสื่อสารไร้สายใช้สื่อการสื่อสารที่เปิดมากกว่าเมื่อเทียบกับ LANs ใช้สาย, นักออกแบบ 802.11 จึงเพิ่มกลไกการเข้ารหัสแบบ shared key ได้แก่ Wired Equivalent Privacy (WEP), Wi-Fi Protected Access (WPA, WPA2), เพื่อรักษาความปลอดภัยให้กับเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบไร้สาย
Bridge
บริดจ์ถูกนำมาใช้เพื่อเชื่อมต่อเครือข่ายที่ต่างชนิดกัน เช่น Ethernet ไร้สายต่อกับ Ethernet ใช้สาย บริดจ์ทำหน้าที่เป็นจุดเชื่อมต่อกับ Wireless LAN
ระบบการกระจายแบบไร้สายช่วยในการเชื่อมต่อไร้สายของหลาย access points ในเครือข่าย IEEE 802.11. ระบบนี้จะช่วยให้เครือข่ายไร้สายสามารถขยายขนาดโดยการใช้ access point หลายจุดโดยไม่จำเป็นต้องใช้ แบ็คโบนแบบใช้สายในการเชื่อมโยง access point เข้าด้วยกันอย่างที่เคยใช้ตลอดมา ข้อได้เปรียบที่โดดเด่นของ WDS ที่เหนือกว่าโซลูชั่นอื่น ๆ ก็คือมันเก็บรักษา MAC address ของแพ็กเกตลูกข่ายที่ข้ามการเชื่อมโยงระหว่าง access points
access points อาจเป็นได้ทั้งสถานีหลัก, สถานีถ่ายทอด หรือสถานีระยะไกล สถานีฐานหลักถูกเชื่อมต่อโดยทั่วไปเข้ากับอีเธอร์เน็ตแบบใช้สาย สถานีฐานถ่ายทอดจะถ่ายทอดข้อมูลระหว่างหลายสถานีฐานระยะไกล, หลายลูกข่ายไร้สายหรือสถานีทวนสัญญาณอื่น ๆ ไปยังสถานีฐานหลักหรือสถานีถ่ายทอดอื่นๆ สถานีฐานระยะไกลยอมรับการเชื่อมต่อแบบไร้สายจากลูกข่ายและส่งพวกเขาไปยังสถานีถ่ายทอดหรือสถานีฐานหลัก การเชื่อมต่อระหว่าง "ลูกข่าย" จะทำโดยใช้ MAC address มากกว่าจะใช้การระบุ IP ที่ได้รับมอบหมาย
สถานีฐานทั้งหมดในระบบจำหน่ายแบบไร้สาย (WDS) จะต้องมีการ config ให้ใช้ช่วงความถี่วิทยุ (channel) เดียวกันและใช้ WEP คีย์ WPA คีย์ร่วมกัน(ถ้าต้องใช้) สถานีฐานดังกล่าวอาจถูก config ให้มี SSID ที่แตกต่างกัน WDS ยังต้องการให้ทุกสถานีฐานถูก config ให้ส่งข้อมูลต่อไปยังสถานีฐานอื่นในระบบตามที่กล่าวไว้ข้างต้น
WDS อาจถูกใช้งานในโหมด repeater เพราะปรากฏว่ามันบริดจ์และยอมรับลูกค้าไร้สายในเวลาเดียวกัน (ไม่เหมือนการบริดจิ้งแบบดั้งเดิม) อย่างไรก็ตาม ควรสังเกตด้วยว่า 'ทรูพุท' ที่ได้จากวิธีนี้จะลดลงครึ่งหนึ่งสำหรับลูกข่ายทั้งหมดที่เชื่อมต่อแบบไร้สาย
แต่เมื่อมันเป็นเรื่องยากที่จะเชื่อมต่อทุกจุดเข้าใช้งานในเครือข่ายโดยใช้สาย ก็ยังเป็นไปได้ที่จำเป็นต้องใช้ access points ทำหน้าที่เป็นแค่สถานีทวนสัญญาณเท่านั้นเอง
Roaming
มีสองความหมายสำหรับการโรมมิ่งของ LAN ไร้สายคือ:
- การโรมมิ่งภายใน (1): สถานีเคลื่อนที่ (Mobile Station หรือ MS) จะเคลื่อนที่จาก AP หนึ่งไปยังอีก AP หนึ่ง ภายใน'เครือข่ายบ้าน' อันเนื่องมาจากความแรงของสัญญาณอ่อนเกินไป เซิร์ฟเวอร์การตรวจสอบ (RADIUS) ดำเนินการรับรองความถูกต้องของ MS ผ่าน 802.1x (เช่น ด้วย PEAP) การทำงานของ QoS อยู่ในเครือข่ายบ้าน สถานีเคลื่อนที่ที่กำลังโรมมิ่งจาก AP หนึ่งไปยังอีก AP หนึ่งมักจะขัดจังหวะการไหลของข้อมูลระหว่างสถานีเคลื่อนที่และแอปพลิเคชันบนโฮสท์ที่เชื่อมต่อกับเครือข่าย สถานีเคลื่อนที่จะคอยตรวจสอบเป็นระยะๆเพื่อหา AP ทางเลือก (ตัวที่จะให้การเชื่อมต่อที่ดีกว่า) ในบางขณะ, ขึ้นอยู่กับกลไกที่เป็นกรรมสิทธิ์, สถานีเคลื่อนที่อาจตัดสินใจที่จะเชื่อมโยงกับ AP ที่มีสัญญาณไร้สายที่แรงกว่า สถานีเคลื่อนที่อาจสูญเสียการเชื่อมต่อกับจุดเชื่อมต่อเดิมก่อนที่จะเชื่อมต่อใหม่จะสำเร็จ เพื่อที่จะให้การเชื่อมต่อที่ต่อเนื่องเชื่อถือได้ สถานีเคลื่อนที่จะต้องมีซอฟต์แวร์ที่ให้เซสชั่นที่มั่นคง
- การโรมมิ่งภายนอก (2): MS (ลูกข่าย) เคลื่อนที่เข้าไปใน WLAN ของให้บริการอินเทอร์เน็ตไร้สาย (Wireless Internet Service Provider (WISP))รายอื่น และใช้บริการ (Hotspot) ของพวกเขา ถ้า WISP รายนั้นเปิดให้เข้าได้ ผู้ใช้ก็จะเป็นอิสระจากเครือข่ายบ้านของตัวเอง และสามารถใช้อีกเครือข่ายต่างถิ่น แต่ต้องมีการตรวจสอบและระบบการเรียกเก็บเงินเป็นพิเศษสำหรับบริการเคลื่อนที่ในเครือข่ายต่างถิ่น
การประยุกต์ใช้งาน
แลนไร้สายได้รับความนิยมอย่างมากในคอมพิวเตอร์ตามบ้านเนื่องจากติดตั้งง่าย และยิ่งได้รับความนิยมมากขึ้นในกลุ่มแล็ปท็อป LAN ไร้สายมีแอปพลิเคชันจำนวนมาก การใช้งานที่ทันสมัยของ WLANs จากเครือข่ายในบ้านเล็กๆ ไปจนถึงบ้านขนาดใหญ่, วิทยาเขตขนาดใหญ่ไปจนถึงเครือข่ายเคลื่อนที่อย่างสมบูรณ์แบบบนเครื่องบินและรถไฟ ธุรกิจหลายแขนงเริ่มให้บริการการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตผ่านทาง hotspot ของแลนไร้สายให้กับลูกค้าที่มาใช้บริการ เช่น ร้านกาแฟ ซึ่งส่วนใหญ่มักให้บริการแบบไม่คิดมูลค่า และในปัจจุบันให้บริการกับอุปกรณ์พกพาที่เชื่อมต่อกับ 3G หรือ 4G เครือข่ายนอกจากนี้ ในประเทศไทย มีการสร้างเครือข่ายแลนไร้สายขนาดใหญ่ให้คนทำงานสามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้โดยสะดวกในพื้นที่สาธารณะอีกด้วย ภายในกทม. ก็มีอินเทอร์เน็ตฟรี บ่อยครั้งที่ access points สาธารณะเหล่านี้ไม่ต้องลงทะเบียนหรือรหัสผ่านในการเข้าร่วมเครือข่าย แต่บางที่จะสามารถเข้าถึงได้เมื่อได้ลงทะเบียนและ/หรือจ่ายค่าธรรมเนียมแล้ว
มาตรฐานความเร็วของแลนไร้สาย
รายละเอียด ดู IEEE 802.11
ความเร็วที่ใช้ในการสื่อสารกันหรือเชื่อมต่อกัน มีมาตรฐานรองรับ เช่น IEEE 802.11a, b, g n, ac และ ad ซึ่งแต่ละมาตรฐานใช้กำหนดความเร็วและคลื่นความถี่ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารกัน ตัวอย่างเช่น
- สำหรับมาตรฐาน มีความเร็วสูงสุดที่ 54 Mbps ที่ความถึ่ย่าน 5 GHz
- สำหรับมาตรฐาน IEEE 802.11b มีความเร็วสูงสุดที่ 11 Mbps ที่ความถี่ย่าน 2.4 GHz
- สำหรับมาตรฐาน มีความเร็วสูงสุดที่ 54 Mbps ที่ความถี่ย่าน 2.4 GHz
- สำหรับมาตรฐาน มีความเร็วสูงสุดที่ 300 Mbps (ที่แบนวิธ 40 MHz) ที่ความถี่ย่าน 2.4/5 GHz
- สำหรับมาตรฐาน มีความเร็วสูงสุดที่ 1.27 Gbps (ที่แบนวิธ 80 MHz) ที่ความถี่ย่าน 2.4/5 GHz
ในประเทศไทยอนุญาตให้ใช้ความถี่ 2 ย่านความถี่ ได้แก่ (2194-2495) MHz และ (5060-5450) MHz ส่วน (5470-5850) MHz เป็นคลื่นความถี่อนุญาตให้ใช้เสรีในระดับสากลสำหรับ Industrial, Science และ Medicine () ที่ประเทศไทยไม่ได้กำหนดให้ใช้
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- "DoD 5000.59-M". Department of Defense. Retrieved 2013-03-18.
- [www.mict.go.th/download/ICTfreeWifi_infor.pdf], ฟรีอินเทอร์เน็ตโครงการของกระทรวงไอซีที
- [1][], ฟรีอีเทอร์เน็ตโครงการของกทม.
- . . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-02-10. สืบค้นเมื่อ 2007-02-17.
- [www.mict.go.th/download/ICTfreeWifi_infor.pdf], ฟรีอินเทอร์เน็ตโครงการของกระทรวงไอซีที
- [2][], ฟรีอีเทอร์เน็ตโครงการของกทม.
- [www.nbtc.go.th/wps/wcm/connect/.../2.PDF?MOD=AJPERES...], [PDF] แผนแม่บทการบริหารคลื่นความถี่ - สำนักงาน กสทช.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
aelnirsay xngkvs wireless LAN hrux WLAN khux ethkhonolyithiechuxmxupkrntngaetsxngtwkhunipekhadwykn odyichwithikarkracayaebbirsay swnihyaelw caichkhlunwithyuaebbkracaykhwamthi hrux OFDM xngkvs Orthogonal Frequency Division Multiplex aelaodypktiaelw camikarechuxmtxphanthang Access Point AP ephuxekhaipyngolkxinethxrent aelnirsaythaihphuichsamarthnaphahruxekhluxnyaykhxmphiwetxripyngphunthiidkidthimisyyankhxngaelnirsay aelayngsamarthechuxmtxkbekhruxkhayidtampkti WLANs thithnsmyswnihy camiphunthanmacakmatrthan IEEE 802 11 thithukwangtladphayitchuxaebrnd Wi Fi khrnghnung WLANs ekhythukeriykwa LAWN local area wireless network odykrathrwngklaohmshrthtwxyangkhxngaelnirsay aelnirsayidrbkhwamniyminkarichtambanxnenuxngmacakkhwamngayinkartidtng aelamikarichknmakinyanthurkicaelainxakharkhnadihyephuxihbrikarlukkhasungprkticaihbrikarfriephuxkarekhathungxinethxrent echnokhrngkarfrixinethxrent khxngkrathrwngixsithi phayinkthm kmixinethxrentfri khxmphiwetxrontbukhthiechuxmtxkbaelnirsayphanthangkardechuxmtxaebbprawtiinpi kh s 1970 sastracaryaehngmhawithyalyhawayidphthnaekhruxkhaysuxsarthangkhxmphiwetxraebbirsaykhunepnkhrngaerkkhxngolk inchux ALOHAnet odyichkhlunwithyukhlaykhxnaebbtnthunta odytwrabbidmikarichkhxmphiwetxrthnghmd 7 twkracayipyng 4 ekaaaelwthakarsuxsarmathisunykhxmphiwetxrklangthiekaaoxxahu odyimichsayothrsphthely 54 Mbit s WLAN PCI Card 802 11g inpi kh s 1979 exf xar cieflelxr aela yu bapst idephyaephrnganwicyinwarsar IEEE ephuxraynganphlkhxngkarthdlxngrabbaelnirsayodyichkhlunrngsixinfraerd caknnimnan inpi kh s 1980 phi efxrerirt idraynganphlkhxngkarthdlxngichkhlunwithyu spread spectrum rhsediywsahrbkarsuxsaraebbirsayinthiprachumothrkhmnakhmradbchatikhxng IEEE caknninpi kh s 1984 mikarepriybethiybrahwangkhlunrngsixinfraerdaela spread spectrum aebb CDMA sahrbekhruxkhayaelkepliynkhxmulinsanknganaebbirsay aelamikartiphimphinwarsar Computer Networking Symposium khxng IEEE aelacaknnidmikartiphimphtxinwarsar Communication Sociery khxng IEEE inpi kh s 1985 markhusidthakarthdlxngich ISM band ephuxnaethkhonolyi spread specturm ipichinechingphaniy caknn exm ekhfhrad idraynganphlkhxngkarthdlxngrabb PBX odyichkarekharhsaebbphuichekhathungkhxmulidthilahlaykhn khwamphyayamkhrngniaesdngnythungkarnaaelnirsayipichinechingxutsahkrrm cntxmaidmikarphthnaaelnirsayrunihmkhunma aelamikarprbprungrunekaeruxymacnthungpccubn xngkhprakxbsthani xupkrnthuktwthisamarthechuxmtxekhakbtwklangirsayinekhruxkhayidcathukeriykwa sthani sthanithuksthanicaichtwkhwbkhumrabbtidtxprasanekhruxkhayirsay xngkvs wireless network interface controller hrux WNIC sthaniirsayaebngxxkepn 2 praephth idaek Access Point aela ekhruxnglukkhay Access Point AP swnihycaepn eratetxr khuxsthanithansahrbekhruxkhayirsay AP carbaelasngkhlunkhwamthiwithyuephuxihxupkrnirsaysamarthsuxsarkbtwmnexngid ekhruxnglukkhayaebbirsaymiidhlayaebb echn aelpthxp xupkrnchwyehluxaebbdicitxl xngkvs Personal Digital Assistance othrsphth IP aelaothrsphthxcchriya xun hruxxupkrnthitidtngxyukbthixyang khxmphiwetxraebbtngota aela khxmphiwetxraebbhnungthixxkaebbmaichnganechphaadanechndanethkhnikhhruxwithyasastr thimixupkrnechuxmtxkbrabbirsay kardechuxmtxaelnirsaykbekhruxngkhxmphiwetxrtngotaestbrikarphunthan estbrikarphunthan Basic Service Set hrux BSS khuxestkhxngsthanithuksthanithisamarthsuxsarknid thukestbrikarphunthancamihmayelkh ID kakb thieriykwa BSSID sungkkhux MAC Address khxng Access Point thiihbrikarinestbrikarphunthannnexng estbrikarphunthan aebngxxkepn 2 praephth idaek estbrikarphunthanxisra Independent BSS hrux IBSS aela estbrikarphunthanokhrngsrangphunthan infrastructure BSS estbrikarphunthanxisrakkhux Ad hoc Network ekhruxkhayechphaakic thicaimmi Access Point odythukekhruxnglukkhaycatidtxknexngsunghmaythungcaimmikarechuxmtxkbestbrikarphunthanxun aetin infrastructure BSS ekhruxnglukkhaycasamarthsuxsarkb Access Point ethann estbrikarkhyay estbrikarkhyay extended service set hrux ESS khuxchudkhxnghlay BSSs echuxmtxekhadwykn Access points in ESS mikarechuxmtxkndwy rabbkarkracay aetla ESS mirhseriykwa SSID hruxchuxekhruxkhayechn ICT Free Wi Fi by XXX hrux APSPCCTV 1234 epntnsungmikhwamyawsungsud 32 ibt rabbkarkracay rabbkarkracay distribution system hrux DS echuxmtxhlay access points in ESS ekhadwykn aenwkhidkhxng DS kkhuxephuxichinkarephimkhwamkhrxbkhlumekhruxkhayphanbrikarormmingrahwanghlayesll DS xacepnaebbichsayhruxirsaykid pccubnrabbkarkracayirsayswnihycakhunxyukbophrothkhxl Wireless Distribution System WDS aetrabbxun kyngichnganidpraephthkhxng LAN irsaypeer to peer peer to Peer hrux LAN irsayechphaakic ekhruxkhay peer to Peer hruxekhruxkhayechphaakic epnekhruxkhaythisthanitngaetsxngsthanikhunipsuxsarknaebb Peer to Peer P2P ethann immisthanithanaelaimmiikhrxnuyatihikhrphudkhuy karsuxsaraebbnithasaercidodyichchudbrikarphunthanxisra IBSS inklum P2P Wi Fi id ecakhxngklumcathanganehmuxnkbepn access point twhnungaelaxupkrnxunepnlukkhay misxngwithihlkinkarsrangecakhxngklum withikaraerkphuichaetngtngecakhxngklum P2P dwytnexng withikarniepnthiruckkninthanaecakhxngklumxtonmti Autonomous Group Owner withithisxngeriykwakartngecakhxngklumdwyphunthankarecrca odythisxngxupkrnaekhngkhnbnphunthankhxngkhaectna xupkrnthimikhaectnasungkwacaepnecakhxngklumaelaxupkrnthisxngcaepnlukkhay khaectnacakhunxyukbwaxupkrnirsaycadaeninkarkhamkarechuxmtxrahwangkarbrikar WLAN okhrngsrangphunthankbklum P2P hruxim khunxyukbxanacthiehluxxyuinxupkrnirsay khunxyukbwaxupkrnirsaynnepnecakhxngkluminxikklumhnungxyuaelwaela hruxepnxupkrnthiidrbkhwamaerngkhxngsyyancakxupkrnirsaytwaerk ekhruxkhay peer to peer P2P chwyihxupkrnirsayidsuxsarodytrngsungknaelakn xupkrnirsaythixyuinrayathakarkhxngtwxun samarthcbsyyanidaelasuxsarknidodytrngodyimekiywkhxngkb access points klang withinicaichodythwipkbkhxmphiwetxrsxngekhruxngephuxihsamarthechuxmtxkninrupaebbekhruxkhay pyhaohndthisxnxyu xupkrn A aela C kalngsuxsarkb B aetimrukn waxikfaykalngthaxairxyu IEEE 802 11 kahndchnthangkayphaph physical layer aelachn MAC Media Access Control thimiphunthanmacak CSMA CA Carrier Sense Multiple Access with Collision Avoidance lksnasmbtikhxng 802 11 prakxbdwybthbyytithixxkaebbmaephuxldkarchnknxnenuxngmacaksxngsthaniekhluxnthixaccaxyuinrayathakarkhxng access point twediywkn aetxyunxkrayathakarkhxngknaelakn 802 11 misxngohmdphunthankhxngkarthangan ohmdechphaakicaelaohmdokhrngsrangphunthan inohmdechphaakic sthaniekhluxnthisngodytrngaebb peer to peer inohmdokhrngsrangphunthan sthaniekhluxnthitidtxsuxsarphan access point thithahnathiepnsaphanechuxmipyngokhrngsrangphunthanekhruxkhayaebbichsay enuxngcakkarsuxsarirsayichsuxkarsuxsarthiepidmakkwaemuxethiybkb LANs ichsay nkxxkaebb 802 11 cungephimklikkarekharhsaebb shared key idaek Wired Equivalent Privacy WEP Wi Fi Protected Access WPA WPA2 ephuxrksakhwamplxdphyihkbekhruxkhaykhxmphiwetxraebbirsay Bridge bridcthuknamaichephuxechuxmtxekhruxkhaythitangchnidkn echn Ethernet irsaytxkb Ethernet ichsay bridcthahnathiepncudechuxmtxkb Wireless LAN rabbkarkracayaebbirsaychwyinkarechuxmtxirsaykhxnghlay access points inekhruxkhay IEEE 802 11 rabbnicachwyihekhruxkhayirsaysamarthkhyaykhnadodykarich access point hlaycudodyimcaepntxngich aebkhobnaebbichsayinkarechuxmoyng access point ekhadwyknxyangthiekhyichtlxdma khxidepriybthioddednkhxng WDS thiehnuxkwaosluchnxun kkhuxmnekbrksa MAC address khxngaephkektlukkhaythikhamkarechuxmoyngrahwang access points access points xacepnidthngsthanihlk sthanithaythxd hruxsthanirayaikl sthanithanhlkthukechuxmtxodythwipekhakbxiethxrentaebbichsay sthanithanthaythxdcathaythxdkhxmulrahwanghlaysthanithanrayaikl hlaylukkhayirsayhruxsthanithwnsyyanxun ipyngsthanithanhlkhruxsthanithaythxdxun sthanithanrayaiklyxmrbkarechuxmtxaebbirsaycaklukkhayaelasngphwkekhaipyngsthanithaythxdhruxsthanithanhlk karechuxmtxrahwang lukkhay cathaodyich MAC address makkwacaichkarrabu IP thiidrbmxbhmay sthanithanthnghmdinrabbcahnayaebbirsay WDS catxngmikar config ihichchwngkhwamthiwithyu channel ediywknaelaich WEP khiy WPA khiyrwmkn thatxngich sthanithandngklawxacthuk config ihmi SSID thiaetktangkn WDS yngtxngkarihthuksthanithanthuk config ihsngkhxmultxipyngsthanithanxuninrabbtamthiklawiwkhangtn WDS xacthukichnganinohmd repeater ephraapraktwamnbridcaelayxmrblukkhairsayinewlaediywkn imehmuxnkarbridcingaebbdngedim xyangirktam khwrsngektdwywa thruphuth thiidcakwithinicaldlngkhrunghnungsahrblukkhaythnghmdthiechuxmtxaebbirsay aetemuxmnepneruxngyakthicaechuxmtxthukcudekhaichnganinekhruxkhayodyichsay kyngepnipidthicaepntxngich access points thahnathiepnaekhsthanithwnsyyanethannexngRoamingormmingrahwangekhruxkhayirsayinphunthithxngthin misxngkhwamhmaysahrbkarormmingkhxng LAN irsaykhux karormmingphayin 1 sthaniekhluxnthi Mobile Station hrux MS caekhluxnthicak AP hnungipyngxik AP hnung phayin ekhruxkhayban xnenuxngmacakkhwamaerngkhxngsyyanxxnekinip esirfewxrkartrwcsxb RADIUS daeninkarrbrxngkhwamthuktxngkhxng MS phan 802 1x echn dwy PEAP karthangankhxng QoS xyuinekhruxkhayban sthaniekhluxnthithikalngormmingcak AP hnungipyngxik AP hnungmkcakhdcnghwakarihlkhxngkhxmulrahwangsthaniekhluxnthiaelaaexpphliekhchnbnohsththiechuxmtxkbekhruxkhay sthaniekhluxnthicakhxytrwcsxbepnrayaephuxha AP thangeluxk twthicaihkarechuxmtxthidikwa inbangkhna khunxyukbklikthiepnkrrmsiththi sthaniekhluxnthixactdsinicthicaechuxmoyngkb AP thimisyyanirsaythiaerngkwa sthaniekhluxnthixacsuyesiykarechuxmtxkbcudechuxmtxedimkxnthicaechuxmtxihmcasaerc ephuxthicaihkarechuxmtxthitxenuxngechuxthuxid sthaniekhluxnthicatxngmisxftaewrthiihesschnthimnkhngkarormmingphaynxk 2 MS lukkhay ekhluxnthiekhaipin WLAN khxngihbrikarxinethxrentirsay Wireless Internet Service Provider WISP rayxun aelaichbrikar Hotspot khxngphwkekha tha WISP raynnepidihekhaid phuichkcaepnxisracakekhruxkhaybankhxngtwexng aelasamarthichxikekhruxkhaytangthin aettxngmikartrwcsxbaelarabbkareriykekbenginepnphiesssahrbbrikarekhluxnthiinekhruxkhaytangthinkarprayuktichnganaelnirsayidrbkhwamniymxyangmakinkhxmphiwetxrtambanenuxngcaktidtngngay aelayingidrbkhwamniymmakkhuninklumaelpthxp LAN irsaymiaexpphliekhchncanwnmak karichnganthithnsmy khxng WLANs cakekhruxkhayinbanelk ipcnthungbankhnadihy withyaekhtkhnadihyipcnthungekhruxkhayekhluxnthixyangsmburnaebbbnekhruxngbinaelarthif thurkichlayaekhnngerimihbrikarkarekhathungxinethxrentphanthang hotspot khxngaelnirsayihkblukkhathimaichbrikar echn rankaaef sungswnihymkihbrikaraebbimkhidmulkha aelainpccubnihbrikarkbxupkrnphkphathiechuxmtxkb 3G hrux 4G ekhruxkhaynxkcakni inpraethsithy mikarsrangekhruxkhayaelnirsaykhnadihyihkhnthangansamarthekhathungxinethxrentidodysadwkinphunthisatharnaxikdwy phayinkthm kmixinethxrentfri bxykhrngthi access points satharnaehlaniimtxnglngthaebiynhruxrhsphaninkarekharwmekhruxkhay aetbangthicasamarthekhathungidemuxidlngthaebiynaela hruxcaykhathrrmeniymaelwmatrthankhwamerwkhxngaelnirsayraylaexiyd du IEEE 802 11 khwamerwthiichinkarsuxsarknhruxechuxmtxkn mimatrthanrxngrb echn IEEE 802 11a b g n ac aela ad sungaetlamatrthanichkahndkhwamerwaelakhlunkhwamthithiichinkartidtxsuxsarkn twxyangechn sahrbmatrthan mikhwamerwsungsudthi 54 Mbps thikhwamthuyan 5 GHz sahrbmatrthan IEEE 802 11b mikhwamerwsungsudthi 11 Mbps thikhwamthiyan 2 4 GHz sahrbmatrthan mikhwamerwsungsudthi 54 Mbps thikhwamthiyan 2 4 GHz sahrbmatrthan mikhwamerwsungsudthi 300 Mbps thiaebnwith 40 MHz thikhwamthiyan 2 4 5 GHz sahrbmatrthan mikhwamerwsungsudthi 1 27 Gbps thiaebnwith 80 MHz thikhwamthiyan 2 4 5 GHz inpraethsithyxnuyatihichkhwamthi 2 yankhwamthi idaek 2194 2495 MHz aela 5060 5450 MHz swn 5470 5850 MHz epnkhlunkhwamthixnuyatihichesriinradbsaklsahrb Industrial Science aela Medicine thipraethsithyimidkahndihichduephimIEEE 802 11 wayfayxangxing DoD 5000 59 M Department of Defense Retrieved 2013 03 18 www mict go th download ICTfreeWifi infor pdf frixinethxrent okhrngkarkhxngkrathrwngixsithi 1 lingkesiy frixiethxrentokhrngkarkhxngkthm khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2007 02 10 subkhnemux 2007 02 17 www mict go th download ICTfreeWifi infor pdf frixinethxrent okhrngkarkhxngkrathrwngixsithi 2 lingkesiy frixiethxrentokhrngkarkhxngkthm www nbtc go th wps wcm connect 2 PDF MOD AJPERES PDF aephnaembthkarbriharkhlunkhwamthi sankngan ksthch