แผ่นดินไหวนำ หรือทับศัพท์ว่า ฟอร์ช็อก (อังกฤษ: foreshock) เป็นแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นก่อนเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ (แผ่นดินไหวหลัก) ที่มีความเกี่ยวข้องกันทั้งในช่วงเวลาและพื้นที่ โดยชื่อเรียกของการเกิดแผ่นดินไหว ทั้งแผ่นดินไหวนำ, แผ่นดินไหวหลัก หรือแผ่นดินไหวตาม จะเกิดขึ้นตามลำดับของเหตุการณ์
การเกิดขึ้น
กรณีของแผ่นดินไหวนำที่ได้รับการตรวจประมาณ 40 เปอร์เซ็นต์มาจากการเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ และประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์สำหรับความรุนแรงที่มากกว่า 7 แมกนิจูด โดยอาจเกิดขึ้นก่อนเพียงไม่กี่นาทีหรืออาจเป็นวันก่อนที่จะเกิดแผ่นดินไหวหลัก ตัวอย่างเช่น ที่ได้รับการจัดให้เป็นแผ่นดินไหวนำของแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547 ที่เกิดขึ้นในภายหลัง นานกว่าสองปี
บางเหตุการณ์ของการเกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ (ที่ระดับมากกว่า 8 แมกนิจูด) จะไม่เกิดแผ่นดินไหวนำ เช่น
อ้างอิง
- Gates, A.; Ritchie, D. (2006). Encyclopedia of Earthquakes and Volcanoes. Infobase Publishing. p. 89. ISBN . สืบค้นเมื่อ 29 November 2010.
- National Research Council (U.S.). Committee on the Science of Earthquakes (2003). "5. Earthquake Physics and Fault-System Science". Living on an Active Earth: Perspectives on Earthquake Science. Washington D.C.: National Academies Press. p. 418. ISBN . สืบค้นเมื่อ 29 November 2010.
- Kayal, J.R. (2008). Microearthquake seismology and seismotectonics of South Asia. Springer. p. 15. ISBN . สืบค้นเมื่อ 29 November 2010.
- Vallée, M. (2007). (PDF). Bulletin of the Seismological Society of America. 97 (1A): S103–S114. Bibcode:2007BuSSA..97S.103V. doi:10.1785/0120050616. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-07-23. สืบค้นเมื่อ 29 November 2010.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
aephndinihwna hruxthbsphthwa fxrchxk xngkvs foreshock epnaephndinihwthiekidkhunkxnehtukarnaephndinihwkhnadihy aephndinihwhlk thimikhwamekiywkhxngknthnginchwngewlaaelaphunthi odychuxeriykkhxngkarekidaephndinihw thngaephndinihwna aephndinihwhlk hruxaephndinihwtam caekidkhuntamladbkhxngehtukarnkarekidkhunkrnikhxngaephndinihwnathiidrbkartrwcpraman 40 epxresntmacakkarekidaephndinihwkhnadihy aelapraman 30 epxresntsahrbkhwamrunaerngthimakkwa 7 aemknicud odyxacekidkhunkxnephiyngimkinathihruxxacepnwnkxnthicaekidaephndinihwhlk twxyangechn thiidrbkarcdihepnaephndinihwnakhxngaephndinihwaelakhlunsunamiinmhasmuthrxinediy ph s 2547 thiekidkhuninphayhlng nankwasxngpi bangehtukarnkhxngkarekidaephndinihwkhrngihy thiradbmakkwa 8 aemknicud caimekidaephndinihwna echnxangxingGates A Ritchie D 2006 Encyclopedia of Earthquakes and Volcanoes Infobase Publishing p 89 ISBN 978 0 8160 6302 4 subkhnemux 29 November 2010 National Research Council U S Committee on the Science of Earthquakes 2003 5 Earthquake Physics and Fault System Science Living on an Active Earth Perspectives on Earthquake Science Washington D C National Academies Press p 418 ISBN 978 0 309 06562 7 subkhnemux 29 November 2010 Kayal J R 2008 Microearthquake seismology and seismotectonics of South Asia Springer p 15 ISBN 978 1 4020 8179 8 subkhnemux 29 November 2010 Vallee M 2007 PDF Bulletin of the Seismological Society of America 97 1A S103 S114 Bibcode 2007BuSSA 97S 103V doi 10 1785 0120050616 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2011 07 23 subkhnemux 29 November 2010 bthkhwamthrniwithyaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk