แผนที่ธรณีวิทยา (อังกฤษ: geologic map) คือ แผนที่ซึ่งแสดงการกระจายตัว และลักษณะการวางตัวของหินแข็งที่โผล่บริเวณผิวโลก (Outcrop) หรือของ (Rock Unit) ซึ่งอาจโผล่หรือวินิจฉัยได้ว่าอยู่ใต้ดินในบริเวณนั้น ตลอดจนแสดงชั้นตะกอนและวัสดุปกคลุมต่าง ๆ ที่ยังไม่แข็งตัว ทั้งนี้ส่วนมากจะถูกจัดทำโดยกรมทรัพยากรธรณีของประเทศนั้นๆ เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานทางธรณีวิทยาต่อไป
ลักษณะทั่วไป
แผนที่ธรณีวิทยาทุกแผ่นจะอาศัยแผนที่ภูมิประเทศที่แสดงข้อมูลเกี่ยวกับเส้นชั้นความสูงเป็นแผนที่พื้นฐาน (Base Map) ในการบันทึกข้อมูลที่พบเห็นในสนาม แต่อาจแสดงเส้นชั้นความสูงเพียงบางเส้นเท่าที่จำเป็นเท่านั้น สำหรับแผนที่ทางธรณีวิทยา มีลักษณะสำคัญ 2 อย่าง คือ คำอธิบายเครื่องหมายแผนที่ และภาคตัดขวางทางธรณีวิทยา ซึ่งจะมาพร้อมกับการออกภาคสนาม เพื่อเอามาแสดงเป็นสัญลักษณ์ทางการนำเสนอ เกี่ยวกับข้อมูลธรณีวิทยาบนดิน และใต้ดินตามลำดับ
คำอธิบายเครื่องหมายแผนที่
คำอธิบายเครื่องหมายแผนที่ (Explanation, Key หรือ Legend) ซึ่งอธิบายความหมายของสัญลักษณ์และ/หรือสีที่ใช้แสดงหินแต่ละหน่วย อย่างน้อยที่สุดต้องแยกชนิดเป็นหินอัคนี หินตะกอน หรือหินแปร อายุและการลำดับชั้นหิน (Stratigraphy) ของหน่วยหินต่าง ๆ โดยจัดให้หน่วยหินที่มีอายุมากที่สุดอยู่ล่างสุดเสมอ ตลอดจนสัญลักษณ์ที่ใช้แสดงลักษณะการวางตัวหรือโครงสร้างทางธรณีวิทยาต่าง ๆ
สัญลักษณ์แสดงทิศของแผนที่ ซึ่งปกติแล้วจะทำการแสดงข้อมูลโดยด้านบนกระดาษเป็นทิศเหนือ แต่อย่างไรก็ตามต้องทำการแสดงสัญลักษณ์แทนทิศเหนือทุกครั้งด้วย รวมถึงสัญลักษณ์ที่แสดงถึงโครงสร้างทางธรณีวิทยาที่สำคัญ ถ้ามีจำเป็นต้องใส่ลงไปในภาพแสดงเพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบด้วย
ภาคตัดขวางทางธรณีวิทยา
ภาคตัดขวางทางธรณีวิทยา (Geologic cross section) คือ ภาคตัดขวางของพื้นที่บริเวณหนึ่งในแผนที่แสดงรูปด้านตัดของภูมิประเทศ (Topographic profile) โดยจะแสดงการวางตัวของหน่วยหินต่าง ๆ และโครงสร้างทางธรณีวิทยาที่ลึกลงไปจากผิวโลก หรือข้อมูลธรณีวิทยาใต้ดิน เพื่อให้เห็นรายละเอียดทางธรณีวิทยา ตามแนวที่ต้องการอย่างสมบูรณ์ ภาคตัดขวางนี้ประกอบเป็นส่วนหนึ่งของแผนที่ธรณีวิทยา หรืออาจแยกมาใช้ประกอบในการออกแบบงานทางวิศวกรรมและการพัฒนาทรัพยากรต่าง ๆ
การทำแผนที่ธรณีวิทยา
การทำแผนที่ธรณีวิทยา เป็นลักษณะของการเก็บข้อมูลจากการเดินสำรวจทางธรณีวิทยาเป็นหลัก แต่อาจจะมีการเตรียมตัวก่อนการเดินสำรวจจากการแปลภาพถ่ายทางอากาศ การทำแผนที่ธรณีวิทยาขึ้นอยู่กับขนาดของมาตราส่วนที่ต้องการ ถ้ามาตราส่วน 1:250000 หรือ มาตราส่วนขนาดเล็ก ซึ่งเป็นการทำแผนที่ที่ไม่ละเอียด ก็เน้นไปทางด้านการแปลภาพถ่ายทางอากาศ และเดินสำรวจเก็บตัวอย่างหินตามบริเวณถนน หรือ ตามทางเดินที่ง่ายต่อการสำรวจ แต่ถ้ามาตราส่วนใหญ่ขึ้นเป็น 1:25000 คือมีความละเอียดมากขึ้น ทำให้ต้องมีการเดินสำรวจที่มากขึ้นและละเอียดมากขึ้นไปด้วย ทั้งนี้การเดินสำรวจที่ละเอียดขึ้น จำเป็นต้องได้ข้อมูลที่มากขึ้นด้วย
อ้างอิง
- แผนที่ธรณีวิทยา 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
aephnthithrniwithya xngkvs geologic map khux aephnthisungaesdngkarkracaytw aelalksnakarwangtwkhxnghinaekhngthiophlbriewnphiwolk Outcrop hruxkhxng Rock Unit sungxacophlhruxwinicchyidwaxyuitdininbriewnnn tlxdcnaesdngchntakxnaelawsdupkkhlumtang thiyngimaekhngtw thngniswnmakcathukcdthaodykrmthrphyakrthrnikhxngpraethsnn ephuxichepnkhxmulphunthanthangthrniwithyatxiplksnathwipaephnthithrniwithyathukaephncaxasyaephnthiphumipraethsthiaesdngkhxmulekiywkbesnchnkhwamsungepnaephnthiphunthan Base Map inkarbnthukkhxmulthiphbehninsnam aetxacaesdngesnchnkhwamsungephiyngbangesnethathicaepnethann sahrbaephnthithangthrniwithya milksnasakhy 2 xyang khux khaxthibayekhruxnghmayaephnthi aelaphakhtdkhwangthangthrniwithya sungcamaphrxmkbkarxxkphakhsnam ephuxexamaaesdngepnsylksnthangkarnaesnx ekiywkbkhxmulthrniwithyabndin aelaitdintamladb khaxthibayekhruxnghmayaephnthi khaxthibayekhruxnghmayaephnthi Explanation Key hrux Legend sungxthibaykhwamhmaykhxngsylksnaela hruxsithiichaesdnghinaetlahnwy xyangnxythisudtxngaeykchnidepnhinxkhni hintakxn hruxhinaepr xayuaelakarladbchnhin Stratigraphy khxnghnwyhintang odycdihhnwyhinthimixayumakthisudxyulangsudesmx tlxdcnsylksnthiichaesdnglksnakarwangtwhruxokhrngsrangthangthrniwithyatang sylksnaesdngthiskhxngaephnthi sungpktiaelwcathakaraesdngkhxmulodydanbnkradasepnthisehnux aetxyangirktamtxngthakaraesdngsylksnaethnthisehnuxthukkhrngdwy rwmthungsylksnthiaesdngthungokhrngsrangthangthrniwithyathisakhy thamicaepntxngislngipinphaphaesdngephuxichepnkhxmulprakxbdwy phakhtdkhwangthangthrniwithya phakhtdkhwangthangthrniwithya Geologic cross section khux phakhtdkhwangkhxngphunthibriewnhnunginaephnthiaesdngrupdantdkhxngphumipraeths Topographic profile odycaaesdngkarwangtwkhxnghnwyhintang aelaokhrngsrangthangthrniwithyathiluklngipcakphiwolk hruxkhxmulthrniwithyaitdin ephuxihehnraylaexiydthangthrniwithya tamaenwthitxngkarxyangsmburn phakhtdkhwangniprakxbepnswnhnungkhxngaephnthithrniwithya hruxxacaeykmaichprakxbinkarxxkaebbnganthangwiswkrrmaelakarphthnathrphyakrtang phaphtwxyangphakhtdkhwangthangthrniwithyakarthaaephnthithrniwithyakarthaaephnthithrniwithya epnlksnakhxngkarekbkhxmulcakkaredinsarwcthangthrniwithyaepnhlk aetxaccamikaretriymtwkxnkaredinsarwccakkaraeplphaphthaythangxakas karthaaephnthithrniwithyakhunxyukbkhnadkhxngmatraswnthitxngkar thamatraswn 1 250000 hrux matraswnkhnadelk sungepnkarthaaephnthithiimlaexiyd kennipthangdankaraeplphaphthaythangxakas aelaedinsarwcekbtwxyanghintambriewnthnn hrux tamthangedinthingaytxkarsarwc aetthamatraswnihykhunepn 1 25000 khuxmikhwamlaexiydmakkhun thaihtxngmikaredinsarwcthimakkhunaelalaexiydmakkhunipdwy thngnikaredinsarwcthilaexiydkhun caepntxngidkhxmulthimakkhundwyxangxingaephnthithrniwithya 2016 03 04 thi ewyaebkaemchchinduephimaephnthithrniwithyapraethsithy