แนวสเตรซา คือ การประชุมร่วมกันที่เมือง ระหว่างรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศของฝรั่งเศส นายกรัฐมนตรีของอังกฤษ และผู้นำอิตาลี เบนิโต มุสโสลินี เมื่อวันที่ 14 เมษายน 1935 ซึ่งได้ถูกเรียกอย่างเป็นทางการว่าเป็น คำประกาศสุดท้ายของที่ประชุมเมืองสเตรซา มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะรักษาสนธิสัญญาโลคาร์โน และประกาศยืนยันถึงความเป็นเอกราชของออสเตรีย และพร้อมที่จะต้านทานเยอรมนีถ้าหากเกิดการฝ่าฝืนสนธิสัญญาแวร์ซาย
แนวสเตรซาได้ชื่อมาจาก ที่ประชุมเมืองสเตรซา ในอิตาลี ซึ่งใช้เป็นสถานที่ประชุม แนวสเตรซานั้นมีปัจจัยมาจากการที่เยอรมนีทำการสร้างกองทัพอากาศขึ้นใหม่ และเพิ่มขนาดของกองทัพบกเป็น 36 กองพล (หรือ 400,000 นาย) และทำการประกาศเกณฑ์ทหารเมื่อเดือนมีนาคม 1935
แนวสเตรซานั้นล้มเหลวดังที่เห็นได้จากเป้าหมายที่คลุมเครือ เป้าหมายไม่ชัดเจนและเป็นการยากที่จะส่งเสริมเอาไว้ มันถูกบัญญัติออกมาไว้เพื่อให้เกิดความคลุมเครือ และไม่สนใจการพาดพิงถึงเยอรมนี ซึ่งอังกฤษพยายามรับเข้ามาเป็นนโยบายคู่ อังกฤษนั้นถือว่าข้อพิพาทใด ๆ ที่พาดพิงไปถึงเยอรมนีจะไม่สร้างความเป็นปรปักษ์ระหว่างฮิตเลอร์กับการเจรจาอังกฤษ-เยอรมัน ซึ่งทำให้ดูเหมือนกับว่าการประนีประนอมระหว่างอังกฤษกับเยอรมนีก็ค่อนข้างจะประสบความสำเร็จ ฮิตเลอร์นั้นได้ใช้ยุทธวิธีที่อังกฤษและฝรั่งเศสคาดเดาล่วงหน้าได้ยาก แต่ว่าแนวสเตรซาก็ทำให้ฮิตเลอร์ต้องเดาบ้างว่าอังกฤษนั้นต้องการที่จะทำอะไร อย่างไรก็ตาม การเจรจากับเยอรมนีนั้น ไม่ได้ทำให้อังกฤษได้เปรียบเลยใน
อีกเหตผลหนึ่งที่นำไปสู่ความล้มเหลว ก็คือ ไม่มีชาติใดเลยในที่ประชุมสเตรซา (ได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศสและอิตาลี) ที่มีความต้องการที่จะรุกรานเยอรมนี และไม่ได้มีการตอบโต้กรณีที่เยอรมนีสร้างกำลังทหารขึ้นใหม่อย่างจริงจัง แต่ว่ารัฐบาลอังกฤษนั้นมีเจตจำนงว่าไม่ต้องการที่จะก่อสงครามตามความคิดเห็นของคนอังกฤษส่วนใหญ่ในเวลานั้น
แนวร่วมดังกล่าวนั้นไม่ประสบความสำเร็จ ภายในสองเดือน สหราชอาณาจักรได้เซ็นสัญญาใน ซึ่งเยอรมนีได้รับไฟเขียวให้สร้างกองทัพเรือขึ้นมาใหม่ และสามารถสร้างเรือดำน้ำขึ้นมาได้ โดยมีข้อแม้ว่าจะต้องมีระวางน้ำหนักไม่เกิน 35% ของราชนาวีอังกฤษ อังกฤษนั้นไม่ได้ปรึกษาหารือใด ๆ กับชาติร่วมประชุม ทำให้แนวร่วมดังกล่าวพบกับความเสียหายอย่างร้ายแรง ประเทศที่เข้าร่วมประชุมนั้นได้ดำเนินการตามทางของตัวเอง แนวสเตรซาจึงปราศจากความหมาย และถูกทำลายอย่างสิ้นเชิงเมื่ออิตาลีรุกรานเอธิโอเปียในสงครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สอง
มุสโสลินีนั้นมีความทะเยอทะยานที่จะครอบครองอะบิสซิเนีย มุสโสลินีเดือดดาลมากที่อังกฤษได้เซ็นสัญญาการเดินเรือระหว่างอังกฤษ-เยอรมัน เนื่องจากว่าอังกฤษไม่ยอมมาปรึกษากับเขาก่อน มุสโสลินีนั้นหันกลับไปสู่แผนการรุกรานอะบิสซิเนียซึ่งมีชายแดนติดต่อกับโซมาลิแลนด์ของฝรั่งเศสและอังกฤษ เขานั้นไม่มีความต้องการที่จะให้มิตรของเขาโกรธ แต่ว่าเขามีความรู้สึกว่าอังกฤษได้ทรยศหักหลังเขา เขายังเชื่อด้วยว่าการเคลื่อนไหวดังกล่าวนั้นจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงฐานะดังที่ได้ตกลงกันในแนวสเตรซา
เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 1936 มุสโสลินีได้เปิดช่องว่างให้แก่ฮิตเลอร์ในการที่เขาจะ และบอกว่าอิตาลีนั้นจะไม่ยอมทำตามสนธิสัญญาโลคาร์โนอย่างเด็ดขาด และเยอรมนีก็ควรที่จะทำเช่นนั้น
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
aenwsetrsa khux karprachumrwmknthiemuxng rahwangrthmntriwakarkrathrwngtangpraethskhxngfrngess naykrthmntrikhxngxngkvs aelaphunaxitali ebniot musoslini emuxwnthi 14 emsayn 1935 sungidthukeriykxyangepnthangkarwaepn khaprakassudthaykhxngthiprachumemuxngsetrsa miwtthuprasngkhephuxthicarksasnthisyyaolkharon aelaprakasyunynthungkhwamepnexkrachkhxngxxsetriy aelaphrxmthicatanthaneyxrmnithahakekidkarfafunsnthisyyaaewrsay aenwsetrsaidchuxmacak thiprachumemuxngsetrsa inxitali sungichepnsthanthiprachum aenwsetrsannmipccymacakkarthieyxrmnithakarsrangkxngthphxakaskhunihm aelaephimkhnadkhxngkxngthphbkepn 36 kxngphl hrux 400 000 nay aelathakarprakaseknththharemuxeduxnminakhm 1935 aenwsetrsannlmehlwdngthiehnidcakepahmaythikhlumekhrux epahmayimchdecnaelaepnkaryakthicasngesrimexaiw mnthukbyytixxkmaiwephuxihekidkhwamkhlumekhrux aelaimsnickarphadphingthungeyxrmni sungxngkvsphyayamrbekhamaepnnoybaykhu xngkvsnnthuxwakhxphiphathid thiphadphingipthungeyxrmnicaimsrangkhwamepnprpksrahwanghitelxrkbkarecrcaxngkvs eyxrmn sungthaihduehmuxnkbwakarpranipranxmrahwangxngkvskbeyxrmnikkhxnkhangcaprasbkhwamsaerc hitelxrnnidichyuththwithithixngkvsaelafrngesskhadedalwnghnaidyak aetwaaenwsetrsakthaihhitelxrtxngedabangwaxngkvsnntxngkarthicathaxair xyangirktam karecrcakbeyxrmninn imidthaihxngkvsidepriybelyin xikehtphlhnungthinaipsukhwamlmehlw kkhux immichatiidelyinthiprachumsetrsa idaek xngkvs frngessaelaxitali thimikhwamtxngkarthicarukraneyxrmni aelaimidmikartxbotkrnithieyxrmnisrangkalngthharkhunihmxyangcringcng aetwarthbalxngkvsnnmiectcanngwaimtxngkarthicakxsngkhramtamkhwamkhidehnkhxngkhnxngkvsswnihyinewlann aenwrwmdngklawnnimprasbkhwamsaerc phayinsxngeduxn shrachxanackridesnsyyain sungeyxrmniidrbifekhiywihsrangkxngthpheruxkhunmaihm aelasamarthsrangeruxdanakhunmaid odymikhxaemwacatxngmirawangnahnkimekin 35 khxngrachnawixngkvs xngkvsnnimidpruksaharuxid kbchatirwmprachum thaihaenwrwmdngklawphbkbkhwamesiyhayxyangrayaerng praethsthiekharwmprachumnniddaeninkartamthangkhxngtwexng aenwsetrsacungprascakkhwamhmay aelathukthalayxyangsinechingemuxxitalirukranexthioxepiyinsngkhramxitali xabissieniykhrngthisxng musoslininnmikhwamthaeyxthayanthicakhrxbkhrxngxabissieniy musoslinieduxddalmakthixngkvsidesnsyyakaredineruxrahwangxngkvs eyxrmn enuxngcakwaxngkvsimyxmmapruksakbekhakxn musoslininnhnklbipsuaephnkarrukranxabissieniysungmichayaedntidtxkbosmaliaelndkhxngfrngessaelaxngkvs ekhannimmikhwamtxngkarthicaihmitrkhxngekhaokrth aetwaekhamikhwamrusukwaxngkvsidthryshkhlngekha ekhayngechuxdwywakarekhluxnihwdngklawnncakxihekidkarepliynaeplngthanadngthiidtklngkninaenwsetrsa emuxwnthi 22 kumphaphnth 1936 musosliniidepidchxngwangihaekhitelxrinkarthiekhaca aelabxkwaxitalinncaimyxmthatamsnthisyyaolkharonxyangeddkhad aelaeyxrmnikkhwrthicathaechnnn