มีการแนะนำว่า บทความนี้หรือส่วนนี้ควรย้ายไปกับบทความ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ () |
โครงการแกล้งดิน เป็นแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เกี่ยวกับการแก้ปัญหาดินเปรี้ยว หรือดินเป็นกรด โดยมีการขังน้ำไว้ในพื้นที่ จนกระทั่งเกิดปฏิกิริยาเคมีทำให้ดินเปรี้ยวจัด จนถึงที่สุด แล้วจึงระบายน้ำออกและปรับสภาพฟื้นฟูดินด้วยปูนขาว จนกระทั่งดินมีสภาพดีพอที่จะใช้ในการเพาะปลูกได้
ลักษณะดินที่พบ
หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จฯ เยี่ยมราษฎรในเขตจังหวัดนราธิวาส เมื่อปี พ.ศ. 2524 ทรงพบว่า ดินในพื้นที่พรุที่มีการชักน้ำออก เพื่อจะนำที่ดินมาใช้ทำการเกษตรนั้น แปรสภาพเป็นดินเปรี้ยวจัด ทำให้เพาะปลูกไม่ได้ผล จึงมีพระราชดำริให้ส่วนราชการต่าง ๆ พิจารณาหาแนวทางในการปรับปรุงพื้นที่พรุที่มีน้ำแช่ขังตลอดปีให้เกิด ประโยชน์ในทางการเกษตรมากที่สุด และให้คำนึงถึงผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ด้วย การแปรสภาพเป็นดินเปรี้ยวจัด เนื่องจากดินมีลักษณะเป็นเศษอินทรียวัตถุ หรือซากพืชปนเน่าเปื่อยอยู่ข้างบน และมีระดับความลึก 1 - 2 เมตร เป็นดินเลนสีเทาปนน้ำเงิน ซึ่งมีสารประกอบกำมะถัน ที่เรียกว่า สารประกอบไพไรท์ (Pyrite: FeS2) อยู่มาก ดังนั้น เมื่อดินแห้ง สารไพไรท์จะทำปฏิกิริยากับอากาศ ปลดปล่อยกรดกำมะถันออกมา ทำให้ดินแปรสภาพเป็นดินกรดจัดหรือเปรี้ยวจัด ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จึงได้ดำเนินการสนองพระราชดำริโครงการ " แกล้งดิน " เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงความเป็นกรดของดิน เริ่มจากวิธีการ " แกล้งดินให้เปรี้ยว " คือทำให้ดินแห้งและเปียกสลับกันไป เพื่อเร่งปฏิกิริยาทางเคมีของดิน ซึ่งจะไปกระตุ้นให้สารไพไรท์ทำปฏิกิริยากับออกซิเจนในอากาศ ปลดปล่อยกรดกำมะถันออกมา ทำให้ดินเป็นกรดจัดจนถึงขั้น " แกล้งดินให้เปรี้ยวสุดขีด " จนกระทั่งถึงจุดที่พืชไม่สามารถเจริญงอกงามได้ จากนั้นจึงหาวิธีการปรับปรุงดินดังกล่าวให้สามารถปลูกพืชได้ วิธีการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวจัดตามแนวพระราชดำริ คือควบคุมระดับน้ำใต้ดิน เพื่อป้องกันการเกิดกรดกำมะถัน จึงต้องควบคุมน้ำใต้ดินให้อยู่เหนือชั้นดินเลนที่มีสารไพไรท์อยู่ เพื่อมิให้สารไพไรท์ทำปฏิกิริยากับออกซิเจนหรือถูกออกซิไดซ์
วิธีการแก้ไข
1. ควบคุมระดับน้ำใต้ดิน เพื่อป้องกันการเกิดกรดกำมะถัน จึงต้องควบคุมน้ำใต้ดินให้อยู่เหนือชั้นดินเลนที่มีสารไพไรท์อยู่ เพื่อมิให้สารไพไรท์ทำปฏิกิริยากับออกซิเจนหรือถูกออกซิไดซ์
2.การปรับปรุงดิน มี 3 วิธีการ ตามสภาพของดินและความเหมาะสม คือ
ใช้น้ำชะล้างความเป็นกรด เมื่อล้างดินเปรี้ยวให้คลายลงแล้วดินจะมีค่า pH เพิ่มขึ้นอีกทั้งสารละลายเหล็กและอลูมินั่มที่เป็นพิษเจือจางลงจนทำให้พืชสามารถเจริญเติบโตได้ดี โดยเฉพาะถ้าหากใช้ปุ๋ยไนโตรเจนและฟอสเฟตก็สามารถให้ผลผลิตได้ การใช้ปูนผสมคลุกเคล้ากับหน้าดิน เช่น ปูนมาร์ล ปูนฝุ่นซึ่งปริมาณของปูนที่ใช้ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของความเป็นกรดของดิน การใช้ปูนควบคู่ไปกับการใช้น้ำชะล้างและควบคุมระดับน้ำใต้ดิน เป็นวิธีการที่สมบูรณ์ที่สุดและใช้ได้ผลมากในพื้นที่ซึ่งดินเป็นกรดจัดรุนแรง และถูกปล่อยทิ้งเป็นเวลานาน
3. การปรับสภาพพื้นที่ มีอยู่ 2 วิธี คือ
การปรับระดับผิวหน้าดิน ด้วยวิธีการ คือ ปรับระดับผิวหน้าดินให้มีความลาดเอียง เพื่อให้น้ำไหลไปสู่คลองระบายน้ำ ตกแต่งแปลงนาและคันนาใหม่ เพื่อให้เก็บกักน้ำและระบายน้ำออกไปได้ การยกร่องปลูกพืช สำหรับพืชไร่ พืชผัก ไม้ผล หรือไม้ยืนต้นที่ให้ผลตอบแทนสูง ถ้าให้ได้ผลต้องมีแหล่งน้ำชลประทานเพื่อขังและถ่ายเทน้ำได้เมื่อน้ำในร่องเป็นกรดจัด การยกร่องปลูกพืชยืนต้นหรือไม้ผล ต้องคำนึงถึงการเกิดน้ำท่วมในพื้นที่นั้น หากมีโอกาสเสี่ยงสูงก็ไม่ควรทำ หรืออาจยกร่องแบบเตี้ย ๆ พืชที่ปลูกเปลี่ยนเป็นพืชล้มลุกหรือพืชผัก และควรปลูกเป็นพืชหมุนเวียนกับข้าวได้
วิธีการปรับปรุงดินเปรี้ยวจัดเพื่อการเกษตร
- เพื่อใช้ปลูกข้าว เขตชลประทาน - ดินที่มีค่า pH น้อยกว่า 4.0 ใช้ปูนอัตรา 1.5 ตัน/ไร่ - ดินที่มีค่า pH ระหว่าง 4.0-4.5 ใช้ในอัตรา 1 ตัน/ไร่ เขตเกษตรน้ำฝน - ดินที่มีค่า pH น้อยกว่า 4.0 ใช้ปูนในอัตรา 2.5 ตัน/ไร่ - ดินที่มีค่า pH ระหว่าง 4.0-4.5 ใช้ปูนอัตรา 1.5 ตัน/ไร่ ขั้นตอนการปรับปรุงดินเปรี้ยว หลังจากหว่านปูนให้ทำการไถแปร และปล่อยน้ำให้แช่ขังในนาประมาณ 10 วัน จากนั้นระบายน้ำออกเพื่อชะล้างสารพิษ และขังน้ำใหม่เพื่อรอปักดำ
- เพื่อใช้ปลูกพืชล้มลุก การปลูกพืชผักมีวิธีการ คือ ยกร่อง กว้าง 6-7 เมตร คูระบายน้ำกว้าง 1.5 เมตร และลึก 50 ซม. ไถพรวนดินและตากดินทิ้งไว้ 3-5 วัน ทำแปลงย่อยบนสันร่อง ยกแปลงให้สูง 25-30 ซม. กว้าง 1-2 เมตร เพื่อระบายน้ำบนสันร่องและเพื่อป้องกันไม่ให้แปลงย่อยแฉะ เมื่อรดน้ำหรือเมื่อมีฝนตก ใส่หินปูนฝุ่นหรือดินมาร์ล 2-3 ตัน/ไร่ คลุกเคล้าให้เข้ากับดิน ทิ้งไว้ 15 วัน ใส่ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยอินทรีย์ 5 ตัน/ไร่ ก่อนปลูก 1 วัน เพื่อปรับปรุงดิน การปลูกพืชไร่บางชนิด กระทำได้ 2 วิธี คือ แบบยกร่องสวนและแบบปลูกเป็นพืชครั้งที่ 2 หลังจากการทำนา การปลูกพืชไร่แบบยกร่องสวนมีวิธีเตรียมพื้นที่เช่นเดียว กับการปลูกพืชผัก การปลูกพืชไร่หลังฤดูทำนา ซึ่งอยู่ในช่วงปลายฤดูฝน การเตรียมพื้นที่ต้องยกแนวร่องให้สูงกว่าการปลูกบนพื้นที่ดอน 10-20 ซม. เพื่อป้องกันไม่ให้น้ำแช่ขังถ้ามีฝนตกผิดฤดู ถ้าพื้นที่นั้นได้รับการปรับปรุงโดยการใช้ปูนมาแล้ว คาดว่าคงไม่จำเป็นต้องใช้ปูนอีก
- เพื่อปลูกไม้ผล สร้างคันดินกั้นน้ำล้อมรอบแปลงเพื่อป้องกันน้ำขัง และติดตั้งเครื่องสูบน้ำเพื่อระบายน้ำออกตามต้องการ ยกร่องปลูกพืชตามวิธีการปรับปรุงพื้นที่ที่มีดินเปรี้ยวจัดเพื่อปลูกไม้ผล น้ำในคูระบายน้ำจะเป็นน้ำเปรี้ยว ต้องระบายออกเมื่อเปรี้ยวจัดและสูบน้ำจืดมาแทน ช่วงเวลาถ่ายน้ำ 3-4 เดือนต่อครั้ง ควบคุมระดับน้ำในคูระบายน้ำ ไม่ให้ต่ำกว่าชั้นดินเลนที่มีสารประกอบไพไรท์ เพื่อป้องกันการเกิดปฏิกิริยาที่จะทำให้ดินมีความเป็นกรดเพิ่มขึ้น ใส่ปูน อาจเป็นปูนขาว ปูนมาร์ล หรือหินปูนฝุ่น โดยหว่านทั่วทั้งร่องที่ปลูกอัตรา 1-2 ตัน/ไร่ กำหนดระยะปลูกตามความเหมาะสมของแต่ละพืช ขุดหลุม กว้าง ยาว และลึก 50-100 ซม. แยกดินชั้นบนและดินชั้นล่าง ทิ้งไว้ 1-2 เดือน เพื่อฆ่าเชื้อโรค เอาส่วนที่เป็นหน้าดินผสมปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมัก หรือบางส่วนของดินชั้นล่างแล้วกลบลงไปในหลุมให้เต็ม ใส่ปุ๋ยหมัก 1 กก./ต้น โดยผสมคลุกเคล้าให้เข้ากับปูนในอัตรา 15 กก./หลุม ดูแลปราบวัชพืช โรค แมลง และให้น้ำตามปกติ สำหรับการใช้ปุ๋ยบำรุงดินขึ้นกับความต้องการและชนิดของพืชที่จะปลูก
แหล่งข้อมูลอื่น
- ทฤษฎี "แกล้งดิน" อันเนื่องมาจากพระราชดำริ 2014-09-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
mikaraenanawa bthkhwamnihruxswnnikhwryayiprwmkbbthkhwam okhrngkarxnenuxngmacakphrarachdari xphipray okhrngkaraeklngdin epnaenwphrarachdarikhxngphrabathsmedcphrabrmchnkathiebsr mhaphumiphlxdulyedchmharach brmnathbphitr ekiywkbkaraekpyhadinepriyw hruxdinepnkrd odymikarkhngnaiwinphunthi cnkrathngekidptikiriyaekhmithaihdinepriywcd cnthungthisud aelwcungrabaynaxxkaelaprbsphaphfunfudindwypunkhaw cnkrathngdinmisphaphdiphxthicaichinkarephaaplukidlksnadinthiphbhlngcakthiphrabathsmedcphrabrmchnkathiebsr mhaphumiphlxdulyedchmharach brmnathbphitr esdc eyiymrasdrinekhtcnghwdnrathiwas emuxpi ph s 2524 thrngphbwa dininphunthiphruthimikarchknaxxk ephuxcanathidinmaichthakarekstrnn aeprsphaphepndinepriywcd thaihephaaplukimidphl cungmiphrarachdariihswnrachkartang phicarnahaaenwthanginkarprbprungphunthiphruthiminaaechkhngtlxdpiihekid praoychninthangkarekstrmakthisud aelaihkhanungthungphlkrathbtxrabbniewsndwy karaeprsphaphepndinepriywcd enuxngcakdinmilksnaepnessxinthriywtthu hruxsakphuchpnenaepuxyxyukhangbn aelamiradbkhwamluk 1 2 emtr epndinelnsiethapnnaengin sungmisarprakxbkamathn thieriykwa sarprakxbiphirth Pyrite FeS2 xyumak dngnn emuxdinaehng sariphirthcathaptikiriyakbxakas pldplxykrdkamathnxxkma thaihdinaeprsphaphepndinkrdcdhruxepriywcd sunysuksakarphthnaphikulthxngxnenuxngmacakphrarachdari cungiddaeninkarsnxngphrarachdariokhrngkar aeklngdin ephuxsuksakarepliynaeplngkhwamepnkrdkhxngdin erimcakwithikar aeklngdinihepriyw khuxthaihdinaehngaelaepiykslbknip ephuxerngptikiriyathangekhmikhxngdin sungcaipkratunihsariphirththaptikiriyakbxxksiecninxakas pldplxykrdkamathnxxkma thaihdinepnkrdcdcnthungkhn aeklngdinihepriywsudkhid cnkrathngthungcudthiphuchimsamarthecriyngxkngamid caknncunghawithikarprbprungdindngklawihsamarthplukphuchid withikaraekikhpyhadinepriywcdtamaenwphrarachdari khuxkhwbkhumradbnaitdin ephuxpxngknkarekidkrdkamathn cungtxngkhwbkhumnaitdinihxyuehnuxchndinelnthimisariphirthxyu ephuxmiihsariphirththaptikiriyakbxxksiecnhruxthukxxksiidswithikaraekikh1 khwbkhumradbnaitdin ephuxpxngknkarekidkrdkamathn cungtxngkhwbkhumnaitdinihxyuehnuxchndinelnthimisariphirthxyu ephuxmiihsariphirththaptikiriyakbxxksiecnhruxthukxxksiids 2 karprbprungdin mi 3 withikar tamsphaphkhxngdinaelakhwamehmaasm khux ichnachalangkhwamepnkrd emuxlangdinepriywihkhlaylngaelwdincamikha pH ephimkhunxikthngsarlalayehlkaelaxluminmthiepnphisecuxcanglngcnthaihphuchsamarthecriyetibotiddi odyechphaathahakichpuyinotrecnaelafxseftksamarthihphlphlitid karichpunphsmkhlukekhlakbhnadin echn punmarl punfunsungprimankhxngpunthiichkhunxyukbkhwamrunaerngkhxngkhwamepnkrdkhxngdin karichpunkhwbkhuipkbkarichnachalangaelakhwbkhumradbnaitdin epnwithikarthismburnthisudaelaichidphlmakinphunthisungdinepnkrdcdrunaerng aelathukplxythingepnewlanan 3 karprbsphaphphunthi mixyu 2 withi khux karprbradbphiwhnadin dwywithikar khux prbradbphiwhnadinihmikhwamladexiyng ephuxihnaihlipsukhlxngrabayna tkaetngaeplngnaaelakhnnaihm ephuxihekbkknaaelarabaynaxxkipid karykrxngplukphuch sahrbphuchir phuchphk imphl hruximyuntnthiihphltxbaethnsung thaihidphltxngmiaehlngnachlprathanephuxkhngaelathayethnaidemuxnainrxngepnkrdcd karykrxngplukphuchyuntnhruximphl txngkhanungthungkarekidnathwminphunthinn hakmioxkasesiyngsungkimkhwrtha hruxxacykrxngaebbetiy phuchthiplukepliynepnphuchlmlukhruxphuchphk aelakhwrplukepnphuchhmunewiynkbkhawidwithikarprbprungdinepriywcdephuxkarekstrephuxichplukkhaw ekhtchlprathan dinthimikha pH nxykwa 4 0 ichpunxtra 1 5 tn ir dinthimikha pH rahwang 4 0 4 5 ichinxtra 1 tn ir ekhtekstrnafn dinthimikha pH nxykwa 4 0 ichpuninxtra 2 5 tn ir dinthimikha pH rahwang 4 0 4 5 ichpunxtra 1 5 tn ir khntxnkarprbprungdinepriyw hlngcakhwanpunihthakarithaepr aelaplxynaihaechkhnginnapraman 10 wn caknnrabaynaxxkephuxchalangsarphis aelakhngnaihmephuxrxpkda ephuxichplukphuchlmluk karplukphuchphkmiwithikar khux ykrxng kwang 6 7 emtr khurabaynakwang 1 5 emtr aelaluk 50 sm ithphrwndinaelatakdinthingiw 3 5 wn thaaeplngyxybnsnrxng ykaeplngihsung 25 30 sm kwang 1 2 emtr ephuxrabaynabnsnrxngaelaephuxpxngknimihaeplngyxyaecha emuxrdnahruxemuxmifntk ishinpunfunhruxdinmarl 2 3 tn ir khlukekhlaihekhakbdin thingiw 15 wn ispuyhmkhruxpuyxinthriy 5 tn ir kxnpluk 1 wn ephuxprbprungdin karplukphuchirbangchnid krathaid 2 withi khux aebbykrxngswnaelaaebbplukepnphuchkhrngthi 2 hlngcakkarthana karplukphuchiraebbykrxngswnmiwithietriymphunthiechnediyw kbkarplukphuchphk karplukphuchirhlngvduthana sungxyuinchwngplayvdufn karetriymphunthitxngykaenwrxngihsungkwakarplukbnphunthidxn 10 20 sm ephuxpxngknimihnaaechkhngthamifntkphidvdu thaphunthinnidrbkarprbprungodykarichpunmaaelw khadwakhngimcaepntxngichpunxik ephuxplukimphl srangkhndinknnalxmrxbaeplngephuxpxngknnakhng aelatidtngekhruxngsubnaephuxrabaynaxxktamtxngkar ykrxngplukphuchtamwithikarprbprungphunthithimidinepriywcdephuxplukimphl nainkhurabaynacaepnnaepriyw txngrabayxxkemuxepriywcdaelasubnacudmaaethn chwngewlathayna 3 4 eduxntxkhrng khwbkhumradbnainkhurabayna imihtakwachndinelnthimisarprakxbiphirth ephuxpxngknkarekidptikiriyathicathaihdinmikhwamepnkrdephimkhun ispun xacepnpunkhaw punmarl hruxhinpunfun odyhwanthwthngrxngthiplukxtra 1 2 tn ir kahndrayapluktamkhwamehmaasmkhxngaetlaphuch khudhlum kwang yaw aelaluk 50 100 sm aeykdinchnbnaeladinchnlang thingiw 1 2 eduxn ephuxkhaechuxorkh exaswnthiepnhnadinphsmpuykhxk hruxpuyhmk hruxbangswnkhxngdinchnlangaelwklblngipinhlumihetm ispuyhmk 1 kk tn odyphsmkhlukekhlaihekhakbpuninxtra 15 kk hlum duaelprabwchphuch orkh aemlng aelaihnatampkti sahrbkarichpuybarungdinkhunkbkhwamtxngkaraelachnidkhxngphuchthicaplukaehlngkhxmulxunthvsdi aeklngdin xnenuxngmacakphrarachdari 2014 09 28 thi ewyaebkaemchchinbthkhwamethkhonolyi hrux singpradisthniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk