เสียงขุ่นนาสิก (ญี่ปุ่น: 鼻濁音; โรมาจิ: bidakuon; : บิดากูอง) หรือเสียงนาสิกวรรค が (ga) (ญี่ปุ่น: ガ行鼻音; โรมาจิ: gagyō-bion; : กาเงียว บิอง) หรือเสียงขุ่นนาสิกวรรค が (ga) (ญี่ปุ่น: ガ行鼻濁音; โรมาจิ: gagyō-bidakuon; : กาเงียว บิดากูอง) หมายถึง เสียงของตัวอักษร 「が・ぎ・ぐ・げ・ご」 ที่พยัญชนะเป็นเสียงนาสิก [ŋ] และถือเป็นหน่วยเสียงย่อยของหน่วยเสียง /g/ โดยทั่วไปจะปรากฏในตำแหน่งกลางคำ (ตำแหน่งอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ต้นคำ) ตรงกับพยัญชนะ ง ของภาษาไทย
เสียงนี้เป็นลักษณะเด่นอย่างหนึ่งของภาษาถิ่นโตเกียวซึ่งกลายเป็นภาษากลางของประเทศญี่ปุ่นในปัจจุบัน ผู้ประกาศข่าว นักแสดง นักพากย์ ฯลฯ จึงฝึกฝนในฐานะการออกเสียงมาตรฐาน ปัจจุบันประชากรที่ออกเสียงเป็นเสียงขุ่นนาสิกลดจำนวนลงอย่างต่อเนื่องยกเว้นภูมิภาคโทโฮกุ
ประวัติ
เสียงขุ่นนาสิก [ŋ] ซึ่งปรากฏกลางคำนี้พบได้มากในภาษาญี่ปุ่นตะวันออก (ญี่ปุ่น: 東日本方言; โรมาจิ: Higashi Nihon Hōgen; : ฮิงาชิ นิฮง โฮเง็ง) ตั้งแต่ภาษาถิ่นคิงกิ (คันไซ) เรื่อยไปตามทิศตะวันออกจนถึงเกาะฮกไกโด แต่แทบไม่พบในภาษาถิ่นชูโงกุและภาษาถิ่นคีวชู และในพื้นที่ที่มีเสียงขุ่นนาสิกเองก็ยังสามารถแบ่งเป็นภาษาถิ่นที่ออกเสียง /g/ กลางคำเป็นเสียงขุ่นนาสิก [ŋ] หรือเสียงขุ่นธรรมดา [g] สลับกันไปมาอย่างอิสระ (เช่น ) ภาษาถิ่นที่ออกเสียง /g/ เป็นเสียงขุ่นนาสิก [ŋ] ในบางสภาพแวดล้อมตามเงื่อนไข (เช่น ภาษาถิ่นโตเกียว) และภาษาถิ่นที่เสียง /g/ กลางคำออกเสียงเป็นเสียงขุ่นนาสิก [ŋ] เสมอ ()
ที่มาของเสียงขุ่นนาสิก [ŋ] ในภาษาถิ่นโตเกียวไม่ชัดเจนเนื่องจากหลักฐานเกี่ยวกับภาษาญี่ปุ่นยุคก่อนสมัยใหม่มักเป็น (เมืองหลวงเก่าของญี่ปุ่น) อย่างไรก็ตามหลักฐานช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 แสดงให้เห็นว่าภาษาถิ่นเกียวโตในช่วงเวลานั้นหน่วยเสียง /g/ เคยออกเสียง (prenasalization) เป็น [ᵑɡ] และปัจจุบันก็ยังคงพบการออกเสียงเช่นนี้ในภาษาถิ่นบางภาษา เราจึงอนุมานได้ว่าในอดีตการออกเสียงนาสิกนำเคยเป็นลักษณะร่วมของภาษาญี่ปุ่นหลาย ๆ ถิ่น Inoue (1971 อ้างใน Takayama, 2015) ได้ศึกษาการปรากฏเป็นรูป (phonetic realization) ของเสียง /g/ ของภาษาถิ่นทั้งประเทศและสรุปว่า เดิมทีหน่วยเสียง /g/ เคยออกเสียงเป็น [ᵑɡ] จากนั้นจึงมีวิวัฒนาการแยกเป็น 2 สาย สายหนึ่งวิวัฒนาการเป็นเสียง [ŋ] และอีกสายหนึ่งวิวัฒนาการเป็นเสียง [ɡ] ภาษาถิ่นโตเกียวจัดว่าเป็นแบบแรก
ปัจจุบันประชากรที่ใช้เสียงขุ่นนาสิก [ŋ] ได้ลดจำนวนลงเรื่อย ๆ แม้แต่ในกลุ่มเจ้าของภาษาถิ่นโตเกียวรุ่นใหม่ ๆ เองก็เปลี่ยนจากออกเสียง [ŋ] ในบางสภาพแวดล้อมตามเงื่อนไขมาเป็นออกเสียง [ŋ]↔[g] สลับกันไปมาอย่างอิสระ และบางคนก็ไม่ใช้เสียงขุ่นนาสิกเลย แนวโน้มนี้พบเห็นได้กระทั่งในกลุ่มคนที่น่าจะได้รับการอบรมและฝึกฝนเสียงขุ่นนาสิกมาอย่างเข้มงวด เช่น ดารา นักแสดง ผู้ประกาศข่าวที่อายุยังน้อยของสถานีโทรทัศน์เอกชน โดยมีการระบุว่าผู้ประกาศข่าวรุ่นใหม่ของสถานีโทรทัศน์เอกชนประมาณ 2 ใน 3 และผู้ประกาศข่าวรุ่นใหม่ของสถานีโทรทัศน์เอ็นเอชเค (NHK) ประมาณ 1 ใน 3 ไม่ได้ใช้เสียงขุ่นนาสิกตามภาษาถิ่นโตเกียว อนึ่ง ประชากรที่ไม่ใช้เสียงขุ่นนาสิกมักจะออกเสียงกลางคำเป็นเสียงขุ่นธรรมดา ส่วนประชากรที่ใช้สลับกันไปมามักจะใช้เสียงขุ่นนาสิกเฉพาะในบริบทที่ผู้พูดไม่ระวังตัวเท่านั้น
เสียงขุ่นนาสิกเคยถูกบรรจุในหลักสูตรการเรียนการสอนระดับประถมศึกษาจนกระทั่งญี่ปุ่นแพ้สงครามและถูกฝ่ายสัมพันธมิตรนำโดยสหรัฐอเมริกาเข้ายึดครอง ปัจจุบันพบเห็นได้ในสื่อการสอนสำหรับเด็กเล็ก เช่น เพลง『華麗に鼻濁音』(Karei ni bidakuon, คาเร นิ บิดากูอง) ในรายการโทรทัศน์ช่อง ซึ่งมีเนื้อหาเชิญชวนให้เด็ก ๆ และผู้ปกครองออกเสียงขุ่นนาสิกเพื่อให้คำพูดฟังดูนุ่มนวลขึ้น
กฎการเปลี่ยนเป็นเสียงขุ่นนาสิก
คำอธิบายในที่นี้เป็นแนวโน้มการออกเสียงเป็นเสียงขุ่นนาสิกในภาษาถิ่นโตเกียว ข้อมูลในส่วน "พจนานุกรมการออกเสียง" มีการใช้สัญลักษณ์พิเศษตามที่ปรากฏในพจนานุกรมดังนี้
- 「ガ・ギ・グ・ゲ・ゴ」 ที่ออกเป็นเสียงขุ่นนาสิกจะแสดงด้วยอักษรพิเศษ 「カ゚・キ゚・ク゚・ケ゚・コ゚」 ตามลำดับ
- เครื่องหมาย 「\」 ใช้เพื่อแสดงตำแหน่งเสียงตก (ญี่ปุ่น: 下がり目; โรมาจิ: sagari-me; : ซางาริเมะ) ของคำหรือหน่วยคำนั้น ส่วนเครื่องหมาย 「 ̄」 ใช้เพื่อแสดงว่าคำหรือหน่วยคำนั้นไม่มีตำแหน่งเสียงตก
- ตัวอักษรไม่เข้มใช้เพื่อแสดงว่าตัวอักษรดังกล่าวออกเสียงโดยมี (devoicing) ของเสียงสระด้วย
หลักการทั่วไป
- เมื่อเสียง /g/ ปรากฏในตำแหน่งต้นคำ จะออกเป็นเสียงขุ่นธรรมดา: [g]
ภาษาญี่ปุ่น | ระบบเฮ็ปเบิร์น | ระดับหน่วยเสียง | เสียงโดยละเอียด | พจนานุกรมการออกเสียง | ความหมาย |
---|---|---|---|---|---|
gakkō | /gaQkoː / | [gak̚koː] | ガッコー ̄ | โรงเรียน | |
gaikoku | /gaikoku/ | [gai̯kokɯ] | ガイコク ̄ | ต่างประเทศ | |
genki | /geNki/ | [geŋːkʲi] | ゲ\ンキ | แข็งแรง, กระปรี้กระเปร่า |
- เมื่อ /g/ ปรากฎในตำแหน่งที่ไม่ใช่ต้นคำ (รวมถึง เช่น คำช่วย 「が」「ぐらい」「ごろ」) จะออกเป็นเสียงขุ่นนาสิก: [ŋ]
ภาษาญี่ปุ่น | ระบบเฮ็ปเบิร์น | ระดับหน่วยเสียง | เสียงโดยละเอียด | พจนานุกรมการออกเสียง | ความหมาย |
---|---|---|---|---|---|
kagi | /kagi/ | [kaŋʲi] | カキ゚\ | กุญแจ | |
tsugeru | /tugeru/ | [t͡sɯŋeɾɯ] | ツケ゚ル ̄ | แจ้ง, บอก | |
jigyō | /zigyoː/ | [d͡ʑiŋjoː] | ジ\キ゚ョー | กิจการ | |
タイ | tai-go | /tai-go/ | [tai̯ŋo] | タイコ゚ ̄ | ภาษาไทย |
yama-ga | /yama-ga/ | [jamaŋa] | ヤマ\カ゚ | ภูเขา+(คำช่วย) | |
san-jikan-gurai | /saN-jikaN-gurai/ | [sanːd͡ʑikaŋːŋɯɾai̯] | サンジカンク゚\ライ | ประมาณ 3 ชั่วโมง | |
san-ji-goro | /saN-ji-goro/ | [sanːd͡ʑiŋoɾo] | サンジコ゚\ロ | ราว ๆ บ่ายสาม/ตีสาม |
- คำที่ปกติอยู่กลางคำหรือประโยค แต่ถูกนำมาใช้ขึ้นต้นคำหรือประโยค จะออกเป็นเสียงขุ่นนาสิกเช่นกัน
ภาษาญี่ปุ่น | |
---|---|
ระบบเฮ็ปเบิร์น | Jisho de hiite mita. Ga, dete inakatta. |
ระดับหน่วยเสียง | /jisyo de hiːte mita. ga, dete inakatta/ |
เสียงโดยละเอียด | [d͡ʑiɕo de çiːte mʲita. ŋa, dete inakat̚ta] |
ความหมาย | "ลองค้นในพจนานุกรมดูแล้ว แต่ไม่มี" |
- คำที่เดิมขึ้นต้นด้วยเสียง /k/ เปลี่ยนเป็นเสียง /g/ จากปรากฏการณ์ "" (ญี่ปุ่น: 連濁; โรมาจิ: rendaku) จะออกเป็นเสียงขุ่นนาสิก
ภาษาญี่ปุ่น | ระบบเฮ็ปเบิร์น | ระดับหน่วยเสียง | เสียงโดยละเอียด | พจนานุกรมการออกเสียง | ความหมาย |
---|---|---|---|---|---|
amagasa | /ama-/+/kasa/ → /amagasa/ | [amaŋasa] | アマカ゚サ ̄ アマカ゚\サ | ร่มกันฝน | |
hitogara | /hito/+/kara/ → /hitogara/ | [çi̥toŋaɾa] | ヒトカ゚ラ ̄ | นิสัยใจคอ | |
fuyugeshiki | /huyu/+/kesiki/ → /huyugesiki/ | [ɸɯjɯŋeɕi̥kʲi] | フユケ゚\シキ | ทิวทัศน์ในฤดูหนาว | |
ガス | gasugaisha | /gasu/+/kaisya/ → /gasugaisya/ | [gasuŋai̯ɕa] | ガスカ゚\イシャ | บริษัทแก๊ส |
ข้อยกเว้น
- คำยืมจากภาษาต่างประเทศ (ญี่ปุ่น: 外来語; โรมาจิ: gairaigo; : ไกไรโงะ) จะยึดตามภาษาต้นทาง นั่นคือ หากภาษาต้นทางเป็น [g] ก็จะออกเป็นเสียงขุ่นธรรมดา ([g]) หากภาษาต้นทางเป็น [ŋ] ก็จะออกเป็นเสียงขุ่นนาสิก ([ŋ])
ภาษาญี่ปุ่น | ระบบเฮ็ปเบิร์น | ระดับหน่วยเสียง | เสียงโดยละเอียด | พจนานุกรมการออกเสียง | ความหมาย |
---|---|---|---|---|---|
ハンバーガー | hanbāgā | /haNbaːgaː/ | [hamːbaːgaː] | ハンバ\ーガー | แฮมเบอร์เกอร์ (อังกฤษ: hamburger) |
エネルギー | enerugii | /enerugiː/ | [eneɾɯgʲiː] | エネ\ルギー エネル\ギー | พลังงาน (เยอรมัน: Energie) |
モンゴル | mongoru | /moNgoru/ | [moŋːgoɾɯ] | モ\ンゴル | มองโกเลีย (อังกฤษ: Mongol) |
キング | kingu | /kiNgu/ | [kʲiŋːŋɯ] | キ\ンク゚ | พระราชา (อังกฤษ: king) |
シンガー | singā | /siNgaː/ | [ɕiŋːŋaː] | シ\ンカ゚ー | นักร้อง (อังกฤษ: singer) |
メレンゲ | merenge | /mereNge/ | [meɾeŋːŋe] | メレンケ゚ ̄ メレ\ンケ゚ | ชื่อขนมชนิดหนึ่ง (ฝรั่งเศส: meringue) |
- คำยืมจากภาษาต่างประเทศบางคำ แม้ภาษาต้นทางจะเป็นเสียง [g] แต่ถ้าใช้กันมานานก็อาจจะออกเป็นเสียงขุ่นนาสิกได้
ภาษาญี่ปุ่น | ระบบเฮ็ปเบิร์น | ระดับหน่วยเสียง | เสียงโดยละเอียด | พจนานุกรมการออกเสียง | ความหมาย |
---|---|---|---|---|---|
イギリス | igirisu | /igirisu/ | [iŋʲiɾisɯ] | イキ゚リス ̄ | สหราชอาณาจักร (โปรตุเกส: Inglez) |
ペンギン | pengin | /peNgiN/ | [peŋːŋʲiɴ] | ペンキ゚ン ̄ | เพนกวิน (อังกฤษ: penguin) |
ジャガいも | jagaimo | /zyagaimo/ | [d͡ʑaŋaimo] | ジャカ゚イモ ̄ | มันฝรั่ง (「ジャガ」 มาจาก 「ジャガタラ」 ดัตช์หรือโปรตุเกส: Jacatra "จาการ์ตา") |
- คำประสม (ญี่ปุ่น: 複合語; โรมาจิ: fukugōgo; : ฟูกูโงโงะ) ที่คำหลังขึ้นต้นด้วย /g/ และมีเส้นแบ่ง (ญี่ปุ่น: 切れ目; โรมาจิ: kireme; : คิเรเมะ) ระหว่างคำทั้งสองชัดเจน จะไม่ออกเป็นเสียงขุ่นนาสิก
ภาษาญี่ปุ่น | ระบบเฮ็ปเบิร์น | ระดับหน่วยเสียง | เสียงโดยละเอียด | พจนานุกรมการออกเสียง | ความหมาย |
---|---|---|---|---|---|
hiru-gohan | /hiru/+/gohaN/ | [çiɾɯgohaɴː] | ヒルゴ\ハン | อาหารเที่ยง | |
nama-gomi | /nama-/+/gomi/ | [namagomʲi] | ナマ\ゴミ ナマゴミ ̄ | ขยะเปียก | |
kōtō-gakkō | /koːtoː/+/gaQkoː/ | [koːtoːgak̚koː] | コートーガ\ッコー | โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย |
- คำประสมที่คำหลังขึ้นต้นด้วย /g/ แต่เส้นแบ่ง (ญี่ปุ่น: 切れ目; โรมาจิ: kireme; : คิเรเมะ) ระหว่างคำทั้งสองได้เลือนรางไม่ชัดเจนไปแล้ว จะออกเสียงเป็นขุ่นนาสิก
ภาษาญี่ปุ่น | ระบบเฮ็ปเบิร์น | ระดับหน่วยเสียง | เสียงโดยละเอียด | พจนานุกรมการออกเสียง | ความหมาย |
---|---|---|---|---|---|
shōgakkō | /syoːgaQkoː/ | [ɕoːŋak̚koː] | ショーカ゚\ッコー | โรงเรียนประถมศึกษา | |
chūgakkō | /tyuːgaQkoː/ | [t͡ɕɯːŋak̚koː] | チューカ゚\ッコー | โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น | |
kangakki | /kaNgaQki/ | [kaŋːŋak̚kʲi] | カンカ゚\ッキ | เครื่องดนตรีเป่า |
- กรณีที่มีหน่วยคำอุปสรรค 「お-」「ご-」(หน่วยคำแสดงความสุภาพ) อยู่หน้าคำที่ขึ้นต้นด้วย /g/ โดยปกติจะไม่ออกเป็นเสียงขุ่นนาสิก
ภาษาญี่ปุ่น | ระบบเฮ็ปเบิร์น | ระดับหน่วยเสียง | เสียงโดยละเอียด | พจนานุกรมการออกเสียง | ความหมาย |
---|---|---|---|---|---|
お | o-genki | /o-/+/geNki/ | [ogeŋkʲi] | オゲ\ンキ | แข็งแรง, กระปรี้กระเปร่า |
お | o-giri | /o-/+/giri/ | [ogʲiɾʲi] | オギリ ̄ | หน้าที่ |
ご | go-giron | /go-/+/giroN/ | [gogʲiɾoɴː] | ゴギ\ロン | ข้อถกเถียง |
ご | go-gakuyū | /go-/+/gakuyuː/ | [gogakɯyɯː] | ゴガクユー ̄ | เพื่อนที่โรงเรียน |
- กรณีที่มีหน่วยคำอุปสรรค 「
非- 」「不- 」 อยู่หน้าคำที่ขึ้นต้นด้วย /g/ บางคำออกเป็นเสียงขุ่นธรรมดาหรือเสียงขุ่นนาสิกก็ได้
ภาษาญี่ปุ่น | ระบบเฮ็ปเบิร์น | ระดับหน่วยเสียง | เสียงโดยละเอียด | พจนานุกรมการออกเสียง | ความหมาย |
---|---|---|---|---|---|
higōhō | /hi-/+/goːhoː/ | [çiŋoːhoː ], [çigoːhoː ] | ヒコ゚\ーホー ヒゴ\ーホー | ผิดกฎหมาย | |
higōri | /hi-/+/goːri/ | [çiŋoːɾʲi], [çigoːɾʲi] | ヒコ゚\ーリ ヒゴ\ーリ | ไม่สมเหตุสมผล | |
fugōkaku | /hu-/+/goːkaku/ | [ɸɯŋoːkakɯ], [ɸɯgoːkakɯ] | フコ゚\ーカク フゴ\ーカク | สอบตก | |
fugōri | /hu-/+/goːri/ | [ɸɯŋoːɾʲi], [ɸɯgoːɾʲi] | フコ゚\ーリ フゴ\ーリ | ไม่สมเหตุสมผล |
- เลข "5" ไม่ออกเป็นเสียงขุ่นนาสิก ยกเว้นบางคำที่ความหมายของเลข "5" ได้เลือนรางไปแล้วจะออกเป็นเสียงขุ่นนาสิก
ภาษาญี่ปุ่น | ระบบเฮ็ปเบิร์น | ระดับหน่วยเสียง | เสียงโดยละเอียด | พจนานุกรมการออกเสียง | ความหมาย |
---|---|---|---|---|---|
jū-go-nin | /zyuːgoniN/ | [d͡ʑɯːgoɲiɴː ] | ジュ\ー・ゴニ\ン ジュ\ーゴニン | 15 คน | |
hyaku-go-jū-nin | /hyakugojuːniN/ | [çakɯgoʑɯːɲiɴː] | ヒャクゴジュ\ーニン | 150 คน | |
shichigosan | /sitigosaN/ | [ɕi̥t͡ɕiŋosaɴː] | シチコ゚サン ̄ シチコ゚\サン | เทศกาลฉลองสำหรับเด็กอายุ 3 ขวบ 5 ขวบ และ 7 ขวบ | |
jūgoya | /zyuːgoya/ | [d͡ʑɯːŋoja] | ジューコ゚ヤ ̄ | คืนเดือนเพ็ญ |
- คำสัทพจน์ (คำเลียนเสียงและแสดงสภาพ) ที่ดูเป็นการซ้ำคำสองครั้งและมีเสียง /g/ ปรากฏต้นคำไม่ออกเป็นเสียงขุ่นนาสิก
ภาษาญี่ปุ่น | ระบบเฮ็ปเบิร์น | ระดับหน่วยเสียง | เสียงโดยละเอียด | พจนานุกรมการออกเสียง | ความหมาย |
---|---|---|---|---|---|
げらげら | geragera (gera+gera) | /geragera/ | [geɾageɾa] | ゲ\ラゲラ | คำแสดงเสียงหัวเราะเสียงดังโดยไม่สงวนท่าที |
がんがん | gangan (gan+gan) | /gaNgaN/ | [gaŋːgaɴː] | ガ\ンガン | คำแสดงเสียงดังที่เกิดจากตีโลหะ ฯลฯ |
ぎとぎと | gitogito (gito+gito) | /gitogito/ | [gʲitogʲito] | ギ\トギト | สภาพไขมันเยิ้ม |
ส่วนคำสัทพจน์ที่ /g/ ไม่ได้ปรากฏต้นคำจะออกเป็นเสียงขุ่นนาสิก เช่น
ภาษาญี่ปุ่น | ระบบเฮ็ปเบิร์น | ระดับหน่วยเสียง | เสียงโดยละเอียด | พจนานุกรมการออกเสียง | ความหมาย |
---|---|---|---|---|---|
もぐもぐ | mogumogu (mogu+mogu) | /mogumogu/ | [moŋɯmoŋɯ] | モ\ク゚モク゚ | (เคี้ยว) ตุ้ย ๆ |
หมายเหตุ
- ส่วนเสียงขุ่นธรรมดา [g] ไม่ตรงกับเสียงใด ๆ ในภาษาไทย ผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทยมักแทนเสียงนี้ด้วย [g̊] หรือ [k] ซึ่งเป็นเสียงพยัญชนะ ก
- ในภาษาถิ่นโทโฮกุ /g/ กลางคำออกเสียงเป็น [ŋ] และไม่สามารถออกเสียงเป็น [g] ได้ เพราะภาษาถิ่นโทโฮกุ /k/ กลางคำออกเสียงเป็น [g] เช่น /kaki/ "ลูกพลับ" ออกเสียงเป็น [kagi] และ /kagi/ "กุญแจ" ออกเสียงเป็น [kaŋi] กล่าวได้ว่าภาษาถิ่นโทโฮกุ [g] และ [ŋ] มีหน้าที่สำคัญในการแยกความหมายของคำ
- /g/ ที่ออกเสียงเป็น [ŋ] ในบางสภาพแวดล้อมถือเป็น "หน่วยเสียงย่อยตามเงื่อนไข" (conditional allophone, 条件異音) ส่วน /g/ ที่ออกเสียงเป็น [ŋ] หรือ [g] สลับไปมาได้อย่างอิสระถือเป็น "หน่วยเสียงย่อยแปรอิสระ" (free allophone, 自由異音)
- ประชากรกลุ่มนี้จะไม่ใช้เสียงขุ่นนาสิกเมื่อต้องออกเสียงอย่างระมัดระวัง เช่น การอ่านรายการคำศัพท์
- เร็นดากุ คือ ปรากฏการณ์ที่คำศัพท์สองคำเชื่อมต่อกันแล้วเสียงพยัญชนะตัวแรกของคำหลังเปลี่ยนจากเสียงไม่ก้องเป็นเสียงก้อง เช่น /ama-/+/kumo/ → /amagumo/ (เมฆฝน), /hana/+/hi/ → /hanabi/ (ดอกไม้ไฟ, พลุ)
อ้างอิง
- ยุพกา ฟูกุชิม่า (2014). การออกเสียงภาษาญี่ปุ่น จากทฤษฎีสู่ปฏิบัติ(日本語の発音ー理解から実践へー). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ISBN . OCLC 900808629.
- Kashima, Tanomu; 鹿島央 (2002). Nihongo kyōiku o mezasu hito no tame no kiso kara manabu onseigaku (Shohan ed.). Tōkyō: Surīē Nettowāku. ISBN . OCLC 51080098.
- Yamaoka, Kanako; 山岡花菜子 (2020). Meikai Nihongogaku jiten (ภาษาญี่ปุ่น). Takurō Moriyama, Katsumi Shibuya, 卓郎 森山, 勝己 渋谷. Tōkyō. ISBN . OCLC 1160201927.
- 国立国語研究所 [NINJAL], 『国語研教授が語る「濁る音の謎」 (1) 鼻濁音』 (ภาษาญี่ปุ่น), สืบค้นเมื่อ 2021-06-22
- 国立国語研究所 『日本言語地図』第1集 第1図 地図画像 (ภาษาญี่ปุ่น) สืบค้นเมื่อ 23 ธันวาคม 2564
- Takayama, Tomoaki (2015). "Historical Phonology". Handbook of Japanese phonetics and phonology. Haruo Kubozono. Boston. ISBN . OCLC 905734789.
- Vance, Timothy J. (2008). The sounds of Japanese. Cambridge, UK: Cambridge University Press. ISBN . OCLC 227031753.
- 2012年4月19日ラジオ深夜便「くらしの中のことば」(当該部分の放送は20日0時台):国立国語研究所名誉所員 佐藤亮一による。
- "文化庁 | 国語施策・日本語教育 | 国語施策情報 | 第5期国語審議会 | 語形の「ゆれ」の問題". www.bunka.go.jp.
- . www.nhk.or.jp. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-12-16. สืบค้นเมื่อ 2021-12-24.
- Akinaga, Kazue; 秋永一枝 (2014). Shin Meikai Nihongo akusento jiten (ภาษาญี่ปุ่น). Haruhiko Kindaichi, 金田一春彦 (Dai 2-han ed.). Tōkyō Chiyoda-ku. ISBN . OCLC 874517214.
- Enueichikē nihongo hatsuon akusento shinjiten (ภาษาญี่ปุ่น). NHK Hōsō Bunka Kenkyūjo, 日本放送協会放送文化研究所. Tōkyō: Enueichikēshuppan. 2016. ISBN . OCLC 950889281.
{{}}
: CS1 maint: others () - "鼻濁音の位置づけと現況|NHK放送文化研究所". NHK放送文化研究所 (ภาษาญี่ปุ่น). สืบค้นเมื่อ 2021-06-24.
{{}}
: CS1 maint: url-status () - Suzuki, Yutaka; 鈴木豊 (2020). Meikai Nihongogaku jiten (ภาษาญี่ปุ่น). Takurō Moriyama, Katsumi Shibuya, 卓郎 森山, 勝己 渋谷. Tōkyō. ISBN . OCLC 1160201927.
- Sanseidō Kokugo jiten (ภาษาญี่ปุ่น). Hidetoshi Kenbō, 見坊豪紀, Sanseidō, 三省堂 (Daishichihan ed.). Tōkyō. 2014. ISBN . OCLC 881844599.
{{}}
: CS1 maint: others () - Nihon kokugo daijiten (ภาษาญี่ปุ่น). Shōgakkan. Kokugo Jiten Henshūbu, 小学館. 国語辞典編集部. (Seisenban, shohan ed.). Tōkyō: Shōgakkan. 2006. ISBN . OCLC 70216445.
{{}}
: CS1 maint: others () - Daijirin (ภาษาญี่ปุ่น). Akira Matsumura, 松村明, Sanseidō. Henshūjo, 三省堂. 編修所. (Daishihan ed.). Tōkyō. 2019. ISBN . OCLC 1117711467.
{{}}
: CS1 maint: others ()
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
esiyngkhunnasik yipun 鼻濁音 ormaci bidakuon thbsphth bidakuxng hruxesiyngnasikwrrkh が ga yipun ガ行鼻音 ormaci gagyō bion thbsphth kaengiyw bixng hruxesiyngkhunnasikwrrkh が ga yipun ガ行鼻濁音 ormaci gagyō bidakuon thbsphth kaengiyw bidakuxng hmaythung esiyngkhxngtwxksr が ぎ ぐ げ ご thiphyychnaepnesiyngnasik ŋ aelathuxepnhnwyesiyngyxykhxnghnwyesiyng g odythwipcapraktintaaehnngklangkha taaehnngxun thiimichtnkha trngkbphyychna ng khxngphasaithy esiyngniepnlksnaednxyanghnungkhxngphasathinotekiywsungklayepnphasaklangkhxngpraethsyipuninpccubn phuprakaskhaw nkaesdng nkphaky l cungfukfninthanakarxxkesiyngmatrthan pccubnprachakrthixxkesiyngepnesiyngkhunnasikldcanwnlngxyangtxenuxngykewnphumiphakhothohku bthkhwamnimixksrphiess hakxupkrnkhxngkhunimsamarthernedxrxksrniid khunxacehnekhruxnghmaykhatham xksrphiess klxng hruxsylksnxun prawtiesiyngkhunnasik ŋ sungpraktklangkhaniphbidmakinphasayipuntawnxxk yipun 東日本方言 ormaci Higashi Nihon Hōgen thbsphth hingachi nihng ohengng tngaetphasathinkhingki khnis eruxyiptamthistawnxxkcnthungekaahkikod aetaethbimphbinphasathinchuongkuaelaphasathinkhiwchu aelainphunthithimiesiyngkhunnasikexngkyngsamarthaebngepnphasathinthixxkesiyng g klangkhaepnesiyngkhunnasik ŋ hruxesiyngkhunthrrmda g slbknipmaxyangxisra echn phasathinthixxkesiyng g epnesiyngkhunnasik ŋ inbangsphaphaewdlxmtamenguxnikh echn phasathinotekiyw aelaphasathinthiesiyng g klangkhaxxkesiyngepnesiyngkhunnasik ŋ esmx thimakhxngesiyngkhunnasik ŋ inphasathinotekiywimchdecnenuxngcakhlkthanekiywkbphasayipunyukhkxnsmyihmmkepn emuxnghlwngekakhxngyipun xyangirktamhlkthanchwngtnkhriststwrrsthi 17 aesdngihehnwaphasathinekiywotinchwngewlannhnwyesiyng g ekhyxxkesiyng prenasalization epn ᵑɡ aelapccubnkyngkhngphbkarxxkesiyngechnniinphasathinbangphasa eracungxnumanidwainxditkarxxkesiyngnasiknaekhyepnlksnarwmkhxngphasayipunhlay thin Inoue 1971 xangin Takayama 2015 idsuksakarpraktepnrup phonetic realization khxngesiyng g khxngphasathinthngpraethsaelasrupwa edimthihnwyesiyng g ekhyxxkesiyngepn ᵑɡ caknncungmiwiwthnakaraeykepn 2 say sayhnungwiwthnakarepnesiyng ŋ aelaxiksayhnungwiwthnakarepnesiyng ɡ phasathinotekiywcdwaepnaebbaerk pccubnprachakrthiichesiyngkhunnasik ŋ idldcanwnlngeruxy aemaetinklumecakhxngphasathinotekiywrunihm exngkepliyncakxxkesiyng ŋ inbangsphaphaewdlxmtamenguxnikhmaepnxxkesiyng ŋ g slbknipmaxyangxisra aelabangkhnkimichesiyngkhunnasikely aenwonmniphbehnidkrathnginklumkhnthinacaidrbkarxbrmaelafukfnesiyngkhunnasikmaxyangekhmngwd echn dara nkaesdng phuprakaskhawthixayuyngnxykhxngsthaniothrthsnexkchn odymikarrabuwaphuprakaskhawrunihmkhxngsthaniothrthsnexkchnpraman 2 in 3 aelaphuprakaskhawrunihmkhxngsthaniothrthsnexnexchekh NHK praman 1 in 3 imidichesiyngkhunnasiktamphasathinotekiyw xnung prachakrthiimichesiyngkhunnasikmkcaxxkesiyngklangkhaepnesiyngkhunthrrmda swnprachakrthiichslbknipmamkcaichesiyngkhunnasikechphaainbribththiphuphudimrawngtwethann esiyngkhunnasikekhythukbrrcuinhlksutrkareriynkarsxnradbprathmsuksacnkrathngyipunaephsngkhramaelathukfaysmphnthmitrnaodyshrthxemrikaekhayudkhrxng pccubnphbehnidinsuxkarsxnsahrbedkelk echn ephlng 華麗に鼻濁音 Karei ni bidakuon khaer ni bidakuxng inraykarothrthsnchxng sungmienuxhaechiychwnihedk aelaphupkkhrxngxxkesiyngkhunnasikephuxihkhaphudfngdunumnwlkhunkdkarepliynepnesiyngkhunnasikkhaxthibayinthiniepnaenwonmkarxxkesiyngepnesiyngkhunnasikinphasathinotekiyw khxmulinswn phcnanukrmkarxxkesiyng mikarichsylksnphiesstamthipraktinphcnanukrmdngni ガ ギ グ ゲ ゴ thixxkepnesiyngkhunnasikcaaesdngdwyxksrphiess カ キ ク ケ コ tamladb ekhruxnghmay ichephuxaesdngtaaehnngesiyngtk yipun 下がり目 ormaci sagari me thbsphth sangariema khxngkhahruxhnwykhann swnekhruxnghmay ichephuxaesdngwakhahruxhnwykhannimmitaaehnngesiyngtk twxksrimekhmichephuxaesdngwatwxksrdngklawxxkesiyngodymi devoicing khxngesiyngsradwyhlkkarthwip emuxesiyng g praktintaaehnngtnkha caxxkepnesiyngkhunthrrmda g phasayipun rabbehpebirn radbhnwyesiyng esiyngodylaexiyd phcnanukrmkarxxkesiyng khwamhmay学校 がっこう gakkō gaQkoː gak koː ガッコー orngeriyn外国 がいこく gaikoku gaikoku gai kokɯ ガイコク tangpraeths元気 げんき genki geNki geŋːkʲi ゲ ンキ aekhngaerng kraprikraepraemux g prakdintaaehnngthiimichtnkha rwmthung echn khachwy が ぐらい ごろ caxxkepnesiyngkhunnasik ŋ phasayipun rabbehpebirn radbhnwyesiyng esiyngodylaexiyd phcnanukrmkarxxkesiyng khwamhmay鍵 かぎ kagi kagi kaŋʲi カキ kuyaec告 つ げる tsugeru tugeru t sɯŋeɾɯ ツケ ル aecng bxk事業 じぎょう jigyō zigyoː d ʑiŋjoː ジ キ ョー kickarタイ語 ご tai go tai go tai ŋo タイコ phasaithy山 やま が yama ga yama ga jamaŋa ヤマ カ phuekha khachwy 三時間 さんじかん ぐらい san jikan gurai saN jikaN gurai sanːd ʑikaŋːŋɯɾai サンジカンク ライ praman 3 chwomng三時 さんじ ごろ san ji goro saN ji goro sanːd ʑiŋoɾo サンジコ ロ raw baysam tisamkhathipktixyuklangkhahruxpraoykh aetthuknamaichkhuntnkhahruxpraoykh caxxkepnesiyngkhunnasikechnknphasayipun 辞書 じしょ で引 ひ いてみた が 出 で ていなかった rabbehpebirn Jisho de hiite mita Ga dete inakatta radbhnwyesiyng jisyo de hiːte mita ga dete inakatta esiyngodylaexiyd d ʑiɕo de ciːte mʲita ŋa dete inakat ta khwamhmay lxngkhninphcnanukrmduaelw aetimmi khathiedimkhuntndwyesiyng k epliynepnesiyng g cakpraktkarn yipun 連濁 ormaci rendaku caxxkepnesiyngkhunnasikphasayipun rabbehpebirn radbhnwyesiyng esiyngodylaexiyd phcnanukrmkarxxkesiyng khwamhmay雨傘 あまがさ amagasa ama kasa amagasa amaŋasa アマカ サ アマカ サ rmknfn人柄 ひとがら hitogara hito kara hitogara ci toŋaɾa ヒトカ ラ nisyickhx冬景色 ふゆげしき fuyugeshiki huyu kesiki huyugesiki ɸɯjɯŋeɕi kʲi フユケ シキ thiwthsninvduhnawガス会社 がいしゃ gasugaisha gasu kaisya gasugaisya gasuŋai ɕa ガスカ イシャ bristhaekskhxykewn khayumcakphasatangpraeths yipun 外来語 ormaci gairaigo thbsphth ikironga cayudtamphasatnthang nnkhux hakphasatnthangepn g kcaxxkepnesiyngkhunthrrmda g hakphasatnthangepn ŋ kcaxxkepnesiyngkhunnasik ŋ phasayipun rabbehpebirn radbhnwyesiyng esiyngodylaexiyd phcnanukrmkarxxkesiyng khwamhmayハンバーガー hanbaga haNbaːgaː hamːbaːgaː ハンバ ーガー aehmebxrekxr xngkvs hamburger エネルギー enerugii enerugiː eneɾɯgʲiː エネ ルギー エネル ギー phlngngan eyxrmn Energie モンゴル mongoru moNgoru moŋːgoɾɯ モ ンゴル mxngokeliy xngkvs Mongol キング kingu kiNgu kʲiŋːŋɯ キ ンク phraracha xngkvs king シンガー singa siNgaː ɕiŋːŋaː シ ンカ ー nkrxng xngkvs singer メレンゲ merenge mereNge meɾeŋːŋe メレンケ メレ ンケ chuxkhnmchnidhnung frngess meringue khayumcakphasatangpraethsbangkha aemphasatnthangcaepnesiyng g aetthaichknmanankxaccaxxkepnesiyngkhunnasikidphasayipun rabbehpebirn radbhnwyesiyng esiyngodylaexiyd phcnanukrmkarxxkesiyng khwamhmayイギリス igirisu igirisu iŋʲiɾisɯ イキ リス shrachxanackr oprtueks Inglez ペンギン pengin peNgiN peŋːŋʲiɴ ペンキ ン ephnkwin xngkvs penguin ジャガいも jagaimo zyagaimo d ʑaŋaimo ジャカ イモ mnfrng ジャガ macak ジャガタラ dtchhruxoprtueks Jacatra cakarta khaprasm yipun 複合語 ormaci fukugōgo thbsphth fukuongonga thikhahlngkhuntndwy g aelamiesnaebng yipun 切れ目 ormaci kireme thbsphth khierema rahwangkhathngsxngchdecn caimxxkepnesiyngkhunnasikphasayipun rabbehpebirn radbhnwyesiyng esiyngodylaexiyd phcnanukrmkarxxkesiyng khwamhmay昼 ひる ごはん hiru gohan hiru gohaN ciɾɯgohaɴː ヒルゴ ハン xaharethiyng生 なま ごみ nama gomi nama gomi namagomʲi ナマ ゴミ ナマゴミ khyaepiyk高等学校 こうとうがっこう kōtō gakkō koːtoː gaQkoː koːtoːgak koː コートーガ ッコー orngeriynmthymsuksatxnplaykhaprasmthikhahlngkhuntndwy g aetesnaebng yipun 切れ目 ormaci kireme thbsphth khierema rahwangkhathngsxngideluxnrangimchdecnipaelw caxxkesiyngepnkhunnasikphasayipun rabbehpebirn radbhnwyesiyng esiyngodylaexiyd phcnanukrmkarxxkesiyng khwamhmay小学校 しょうがっこう shōgakkō syoːgaQkoː ɕoːŋak koː ショーカ ッコー orngeriynprathmsuksa中学校 ちゅうがっこう chugakkō tyuːgaQkoː t ɕɯːŋak koː チューカ ッコー orngeriynmthymsuksatxntn管楽器 かんがっき kangakki kaNgaQki kaŋːŋak kʲi カンカ ッキ ekhruxngdntriepakrnithimihnwykhaxupsrrkh お ご hnwykhaaesdngkhwamsuphaph xyuhnakhathikhuntndwy g odypkticaimxxkepnesiyngkhunnasikphasayipun rabbehpebirn radbhnwyesiyng esiyngodylaexiyd phcnanukrmkarxxkesiyng khwamhmayお元気 げんき o genki o geNki ogeŋkʲi オゲ ンキ aekhngaerng kraprikraepraお義理 ぎり o giri o giri ogʲiɾʲi オギリ hnathiご議論 ぎろん go giron go giroN gogʲiɾoɴː ゴギ ロン khxthkethiyngご学友 がくゆう go gakuyu go gakuyuː gogakɯyɯː ゴガクユー ephuxnthiorngeriynkrnithimihnwykhaxupsrrkh 非 ひ 不 ふ xyuhnakhathikhuntndwy g bangkhaxxkepnesiyngkhunthrrmdahruxesiyngkhunnasikkidphasayipun rabbehpebirn radbhnwyesiyng esiyngodylaexiyd phcnanukrmkarxxkesiyng khwamhmay非合法 ひごうほう higōhō hi goːhoː ciŋoːhoː cigoːhoː ヒコ ーホー ヒゴ ーホー phidkdhmay非合理 ひごうり higōri hi goːri ciŋoːɾʲi cigoːɾʲi ヒコ ーリ ヒゴ ーリ imsmehtusmphl不合格 ふごうかく fugōkaku hu goːkaku ɸɯŋoːkakɯ ɸɯgoːkakɯ フコ ーカク フゴ ーカク sxbtk不合理 ふごうり fugōri hu goːri ɸɯŋoːɾʲi ɸɯgoːɾʲi フコ ーリ フゴ ーリ imsmehtusmphlelkh 5 imxxkepnesiyngkhunnasik ykewnbangkhathikhwamhmaykhxngelkh 5 ideluxnrangipaelwcaxxkepnesiyngkhunnasikphasayipun rabbehpebirn radbhnwyesiyng esiyngodylaexiyd phcnanukrmkarxxkesiyng khwamhmay十五人 じゅうごにん 15人 ju go nin zyuːgoniN d ʑɯːgoɲiɴː ジュ ー ゴニ ン ジュ ーゴニン 15 khn百五十人 ひゃくごじゅうにん 150人 hyaku go ju nin hyakugojuːniN cakɯgoʑɯːɲiɴː ヒャクゴジュ ーニン 150 khn七五三 しちごさん shichigosan sitigosaN ɕi t ɕiŋosaɴː シチコ サン シチコ サン ethskalchlxngsahrbedkxayu 3 khwb 5 khwb aela 7 khwb十五夜 じゅうごや jugoya zyuːgoya d ʑɯːŋoja ジューコ ヤ khuneduxnephykhasthphcn khaeliynesiyngaelaaesdngsphaph thiduepnkarsakhasxngkhrngaelamiesiyng g prakttnkhaimxxkepnesiyngkhunnasikphasayipun rabbehpebirn radbhnwyesiyng esiyngodylaexiyd phcnanukrmkarxxkesiyng khwamhmayげらげら geragera gera gera geragera geɾageɾa ゲ ラゲラ khaaesdngesiynghweraaesiyngdngodyimsngwnthathiがんがん gangan gan gan gaNgaN gaŋːgaɴː ガ ンガン khaaesdngesiyngdngthiekidcaktiolha lぎとぎと gitogito gito gito gitogito gʲitogʲito ギ トギト sphaphikhmneyim swnkhasthphcnthi g imidprakttnkhacaxxkepnesiyngkhunnasik echn phasayipun rabbehpebirn radbhnwyesiyng esiyngodylaexiyd phcnanukrmkarxxkesiyng khwamhmayもぐもぐ mogumogu mogu mogu mogumogu moŋɯmoŋɯ モ ク モク ekhiyw tuy hmayehtuswnesiyngkhunthrrmda g imtrngkbesiyngid inphasaithy phueriynphasayipunchawithymkaethnesiyngnidwy g hrux k sungepnesiyngphyychna k inphasathinothohku g klangkhaxxkesiyngepn ŋ aelaimsamarthxxkesiyngepn g id ephraaphasathinothohku k klangkhaxxkesiyngepn g echn kaki lukphlb xxkesiyngepn kagi aela kagi kuyaec xxkesiyngepn kaŋi klawidwaphasathinothohku g aela ŋ mihnathisakhyinkaraeykkhwamhmaykhxngkha g thixxkesiyngepn ŋ inbangsphaphaewdlxmthuxepn hnwyesiyngyxytamenguxnikh conditional allophone 条件異音 swn g thixxkesiyngepn ŋ hrux g slbipmaidxyangxisrathuxepn hnwyesiyngyxyaeprxisra free allophone 自由異音 prachakrklumnicaimichesiyngkhunnasikemuxtxngxxkesiyngxyangramdrawng echn karxanraykarkhasphth erndaku khux praktkarnthikhasphthsxngkhaechuxmtxknaelwesiyngphyychnatwaerkkhxngkhahlngepliyncakesiyngimkxngepnesiyngkxng echn ama kumo amagumo emkhfn hana hi hanabi dxkimif phlu xangxingyuphka fukuchima 2014 karxxkesiyngphasayipun cakthvsdisuptibti 日本語の発音ー理解から実践へー krungethph sankphimphmhawithyalyekstrsastr ISBN 978 616 556 144 0 OCLC 900808629 Kashima Tanomu 鹿島央 2002 Nihongo kyōiku o mezasu hito no tame no kiso kara manabu onseigaku Shohan ed Tōkyō Surie Nettowaku ISBN 4 88319 231 8 OCLC 51080098 Yamaoka Kanako 山岡花菜子 2020 Meikai Nihongogaku jiten phasayipun Takurō Moriyama Katsumi Shibuya 卓郎 森山 勝己 渋谷 Tōkyō ISBN 978 4 385 13580 9 OCLC 1160201927 国立国語研究所 NINJAL 国語研教授が語る 濁る音の謎 1 鼻濁音 phasayipun subkhnemux 2021 06 22 国立国語研究所 日本言語地図 第1集 第1図 地図画像 phasayipun subkhnemux 23 thnwakhm 2564 Takayama Tomoaki 2015 Historical Phonology Handbook of Japanese phonetics and phonology Haruo Kubozono Boston ISBN 978 1 61451 198 4 OCLC 905734789 Vance Timothy J 2008 The sounds of Japanese Cambridge UK Cambridge University Press ISBN 978 0 521 61754 3 OCLC 227031753 2012年4月19日ラジオ深夜便 くらしの中のことば 当該部分の放送は20日0時台 国立国語研究所名誉所員 佐藤亮一による 文化庁 国語施策 日本語教育 国語施策情報 第5期国語審議会 語形の ゆれ の問題 www bunka go jp www nhk or jp khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2020 12 16 subkhnemux 2021 12 24 Akinaga Kazue 秋永一枝 2014 Shin Meikai Nihongo akusento jiten phasayipun Haruhiko Kindaichi 金田一春彦 Dai 2 han ed Tōkyō Chiyoda ku ISBN 978 4 385 13672 1 OCLC 874517214 Enueichike nihongo hatsuon akusento shinjiten phasayipun NHK Hōsō Bunka Kenkyujo 日本放送協会放送文化研究所 Tōkyō Enueichikeshuppan 2016 ISBN 978 4 14 011345 5 OCLC 950889281 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint others lingk 鼻濁音の位置づけと現況 NHK放送文化研究所 NHK放送文化研究所 phasayipun subkhnemux 2021 06 24 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a CS1 maint url status lingk Suzuki Yutaka 鈴木豊 2020 Meikai Nihongogaku jiten phasayipun Takurō Moriyama Katsumi Shibuya 卓郎 森山 勝己 渋谷 Tōkyō ISBN 978 4 385 13580 9 OCLC 1160201927 Sanseidō Kokugo jiten phasayipun Hidetoshi Kenbō 見坊豪紀 Sanseidō 三省堂 Daishichihan ed Tōkyō 2014 ISBN 978 4 385 13926 5 OCLC 881844599 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint others lingk Nihon kokugo daijiten phasayipun Shōgakkan Kokugo Jiten Henshubu 小学館 国語辞典編集部 Seisenban shohan ed Tōkyō Shōgakkan 2006 ISBN 4 09 521021 4 OCLC 70216445 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint others lingk Daijirin phasayipun Akira Matsumura 松村明 Sanseidō Henshujo 三省堂 編修所 Daishihan ed Tōkyō 2019 ISBN 978 4 385 13906 7 OCLC 1117711467 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint others lingk