เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม (อังกฤษ: industrial organization หรือ industrial economics) เป็นสาขาในวิชาเศรษฐศาสตร์ที่เน้นศึกษาโครงสร้างและความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิตในตลาดที่มีการแข่งขันไม่สมบูรณ์ เช่น ตลาดที่มีผู้ผลิตรายใหญ่น้อยราย หรือมีปัจจัยกีดกันไม่ให้ผู้ผลิตรายใหม่เข้าสู่ตลาดได้ หัวข้อการศึกษาในสาขาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรมมักเกี่ยวข้องกับโครงสร้างของตลาด (เช่น จำนวนผู้ประกอบการ ลักษณะสินค้า) พฤติกรรมของหน่วยธุรกิจ ไปจนถึงนโยบายของรัฐที่มีเป้าหมายเพื่อปรับปรุงตลาดให้มีประสิทธิภาพ เช่น นโยบายกำกับดูแลอุตสาหกรรม เป็นต้น
ประวัติ
แนวคิดการอธิบายอำนาจในการกำหนดราคาของหน่วยผลิตนั้นเป็นส่วนหนึ่งของขนบงานวิชาการด้านเศรษฐศาสตร์อยู่แล้วก่อนที่จะมีการจำแนกเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรมเป็นสาขาย่อยเฉพาะทาง ในปี ค.ศ. 1837 นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส อ็องตวน-โอกุสแต็ง กูร์โน ได้นำเสนอทฤษฎี (oligopoly) ในหนังสือ "งานวิจัยว่าด้วยหลักคณิตศาสตร์ของทฤษฎีทรัพย์" (ฝรั่งเศส: Recherches sur les principes mathématiques de la théorie des richesses) แต่ในระยะแรกไม่ได้มีการอภิปรายกันในวงวิชาการเศรษฐศาสตร์มากนัก แบบจำลองทฤษฎีตลาดผู้ขายน้อยรายของกูร์โนยังคงเป็นแบบจำลองสำคัญในทฤษฎีเศรษฐศาสตร์สมัยใหม่ในปัจจุบัน การศึกษาเรื่องการผูกขาดและการแข่งขันมีบทบาทสำคัญมากขึ้นในช่วงปี ค.ศ. 1870-1900 โดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกา จากการที่การพัฒนาทางอุตสาหกรรมส่งผลให้เกิดบรรษัทขนาดใหญ่ที่มีอำนาจในตลาดสูง จึงมีการอภิปรายและถกเถียงกันเรื่องผลของการกระจุกตัวของผู้ผลิตในอุตสาหกรรม การกำกับธุรกิจโดยรัฐบาล และการใช้กฎหมายการแข่งขันทางการค้า
สาขาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรมสมัยใหม่มักถูกจัดว่าว่ามีที่มาจากช่วงทศวรรษ 1930 ที่ถือว่าเป็นช่วงที่มีพัฒนาการสำคัญในด้านการแข่งขันไม่สมบูรณ์ ในช่วงนี้มีการเสนอแนวคิดใหม่ๆ โดยมีกับที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด เสนอแนวคิดตลาดแข่งขันกึ่งผูกขาด (monopolistic competition) และที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ใช้หลักคิดรายได้ส่วนเพิ่ม (marginal revenue) ในการวิเคราะห์รูปแบบการแข่งขันที่ไม่สมบูรณ์
ในช่วงทศวรรษ 1950 ของเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม เปลี่ยนไปมุ่งความสนใจกับการศึกษาอุตสาหกรรมด้วยข้อมูลทางสถิติจากเดิมที่เน้นการใช้รายอุตสาหกรรม การวิจัยในลักษณะนี้มีนักเศรษฐศาสตร์ชาวอเมริกัน เป็นผู้บุกเบิก ทำให้งานวิจัยเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรมช่วงทศวรรษ 1950-1960 นิยมใช้การศึกษาทางเศรษฐมิติด้วยข้อมูลตามขวาง เบนยังเป็นผู้ริเริ่มกระบวนทัศน์ที่เรียกว่า โครงสร้าง-พฤติกรรม-ผลลัพธ์ (structure-conduct-performance) โดยพิจารณาโครงสร้างของตลาด พฤติกรรมของหน่วยเศรษฐกิจในตลาด และผลของโครงสร้างและพฤติกรรมนั้นที่มีต่อความกินดีอยู่ดีทางเศรษฐกิจ
นับตั้งแต่ทศวรรษ 1970 เป็นต้นมา การศึกษาเชิงทฤษฎีในด้านเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรมได้หันมาใช้หลักการคณิตศาสตร์ด้านทฤษฎีเกมเป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ ด้วยแนวคิดดุลยภาพแบบแนช การศึกษาเชิงประจักษ์ในยุคหลังมานี้ จึงได้อาศัยทฤษฎีที่อธิบายปฏิสัมพันธ์ของหน่วยผลิตในตลาด เป็นฐานในการศึกษาด้วย
หัวข้อศึกษาหลัก
โครงสร้างของตลาด
โครงสร้างของตลาด มีความหมายอย่างกว้างๆ หมายถึงลักษณะพื้นฐานของอุตสาหกรรมนั้นๆ ที่ค่อนข้างคงที่ และส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ขายและผู้ซื้อในตลาด ลักษณะของอุตสาหกรรมอาจมีที่มาทั้งจากธรรมชาติของสินค้านั้นเอง เช่น เทคโนโลยีการผลิต หรือเป็นลักษณะที่เป็นผลสืบเนื่องมาจากปัจจัยอื่น (รวมถึงธรรมชาติของสินค้านั้นๆ) เช่น จำนวนผู้ขายในตลาด ปัจจัยที่กีดกันการเข้าร่วมตลาดของผู้ผลิตรายใหม่ หนึ่งในหัวข้อสำคัญของเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม คือการพยายามอธิบายว่ามีปัจจัยใดในโครงสร้างของตลาด ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมในตลาดและประสิทธิภาพของตลาด และโครงสร้างเหล่านั้นถูกกำหนดอย่างไร
พฤติกรรมของธุรกิจในตลาด
การศึกษาในสาขาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม มักให้ความสำคัญกับ หรืออำนาจผูกขาด (market power หรือ monopoly power) ซึ่งหมายถึงความสามารถของผู้ขายหรือผู้ซื้อ ในการกำหนดราคาหรือเงื่อนไขในการค้าได้ ซึ่งเป็นสิ่งที่แตกต่างจากแนวคิดที่ผู้ผลิตและผู้บริโภคแต่ละรายย่อยๆ ไม่มีอำนาจในการกำหนดราคา
หัวข้อการศึกษาที่สำคัญข้อหนึ่งในสาขานี้คือ ผู้ขายที่มีอำนาจเหนือตลาด จะใช้วิธีการตั้งราคาแบบใดเพื่อให้ตัวเองได้ประโยชน์ เช่น การตั้งราคาขายให้ผู้ซื้อแต่ละรายไม่เท่ากัน การตั้งราคาขายแบบไม่เป็นเส้นตรง นอกจากนี้ นักเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม ยังสนใจศึกษาพฤติกรรมการรวมกลุ่มของผู้ขายเพื่อฮั้วราคา ไปจนถึงพฤติกรรมที่ไม่เกี่ยวข้องกับราคา เช่น ผู้ขายต้องการสร้างความแตกต่างของสินค้าอย่างไร การโฆษณามีผลกีดกันไม่ให้ผู้ขายรายใหม่เข้ามาในตลาดหรือไม่ การลงทุนเพื่อวิจัยและพัฒนา เป็นต้น
ทฤษฎีองค์กรธุรกิจ
ทฤษฎีองค์กรธุรกิจ (theory of the firm) เป็นความพยายามตอบคำถามว่า ทำไมจึงต้องมีการตั้งองค์กรธุรกิจ (เช่น บริษัท) และเส้นแบ่งระหว่างการเป็นองค์กรธุรกิจกับตลาดคืออะไร คำถามนี้มีที่มาจากข้อสังเกตว่า ธรรมชาติขององค์กรธุรกิจ ก็คือการทำธุรกรรมระหว่างส่วนย่อยๆ ในองค์กรธุรกิจนั้น เหตุใดธุรกรรมบางประเภทจึงเกิดขึ้นในตลาดภายนอกองค์กร (เช่น การซื้อวัตถุดิบจากธุรกิจอื่น) และบางประเภทจึงเกิดขึ้นภายในองค์กร
อ้างอิง
- Schmalensee, Richard (1987). "Industrial organization". New Palgrave dictionary of economics. Palgrave Macmillan. doi:10.1057/978-1-349-95121-5_924-1. ISBN .
- Shapiro, Carl (1989). "Theories of oligopoly behavior". ใน Schmalensee, Richard; Willig, Robert (บ.ก.). Handbook of industrial organization. Vol. 1. Amsterdam: North Holland. pp. 329–414. doi:10.1016/S1573-448X(89)01009-5. ISBN .
- de Jong, Henry W.; Shepherd, William G. (2007). Pioneers of industrial organization: How the economics of competition and monopoly took shape. Cheltenham: Edward Elgar. ISBN .
- Grether, Ewald T. (1970). "Industrial organization: Past history and future problems". American Economic Review. 60 (2): 83–89.
- McKie, James W. (1972). "Industrial organization: Boxing the compass". ใน Fuchs, Victor R. (บ.ก.). Economic research: Retrospect and Prospect. Vol. 3. National Bureau of Economic Research. pp. 1–15. ISBN .
- Rima, Ingrid (2009). Development of economic analysis (7 ed.). London: Routledge. ISBN .
- Bresnahan, Timothy F.; Schmalensee, Richard (1987). "An empirical renaissance in industrial economics: An overview". Journal of Industrial Economics. 35 (4): 371–378. doi:10.2307/2098578.
- Bain, Joe S. (1959). Industrial organization. New York: Wiley.
- Schmalensee, Richard (1988). "Industrial economics: An overview". Economic Journal. 98 (392): 643–681. doi:10.2307/2233907.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
esrsthsastrxutsahkrrm xngkvs industrial organization hrux industrial economics epnsakhainwichaesrsthsastrthiennsuksaokhrngsrangaelakhwamsmphnthrahwangphuphlitintladthimikaraekhngkhnimsmburn echn tladthimiphuphlitrayihynxyray hruxmipccykidknimihphuphlitrayihmekhasutladid hwkhxkarsuksainsakhaesrsthsastrxutsahkrrmmkekiywkhxngkbokhrngsrangkhxngtlad echn canwnphuprakxbkar lksnasinkha phvtikrrmkhxnghnwythurkic ipcnthungnoybaykhxngrththimiepahmayephuxprbprungtladihmiprasiththiphaph echn noybaykakbduaelxutsahkrrm epntnprawtiaenwkhidkarxthibayxanacinkarkahndrakhakhxnghnwyphlitnnepnswnhnungkhxngkhnbnganwichakardanesrsthsastrxyuaelwkxnthicamikarcaaenkesrsthsastrxutsahkrrmepnsakhayxyechphaathang inpi kh s 1837 nkkhnitsastrchawfrngess xxngtwn oxkusaetng kuron idnaesnxthvsdi oligopoly inhnngsux nganwicywadwyhlkkhnitsastrkhxngthvsdithrphy frngess Recherches sur les principes mathematiques de la theorie des richesses aetinrayaaerkimidmikarxphipraykninwngwichakaresrsthsastrmaknk aebbcalxngthvsditladphukhaynxyraykhxngkuronyngkhngepnaebbcalxngsakhyinthvsdiesrsthsastrsmyihminpccubn karsuksaeruxngkarphukkhadaelakaraekhngkhnmibthbathsakhymakkhuninchwngpi kh s 1870 1900 odyechphaainshrthxemrika cakkarthikarphthnathangxutsahkrrmsngphlihekidbrrsthkhnadihythimixanacintladsung cungmikarxphiprayaelathkethiyngkneruxngphlkhxngkarkracuktwkhxngphuphlitinxutsahkrrm karkakbthurkicodyrthbal aelakarichkdhmaykaraekhngkhnthangkarkha sakhaesrsthsastrxutsahkrrmsmyihmmkthukcdwawamithimacakchwngthswrrs 1930 thithuxwaepnchwngthimiphthnakarsakhyindankaraekhngkhnimsmburn inchwngnimikaresnxaenwkhidihm odymikbthimhawithyalyharward esnxaenwkhidtladaekhngkhnkungphukkhad monopolistic competition aelathimhawithyalyekhmbridc ichhlkkhidrayidswnephim marginal revenue inkarwiekhraahrupaebbkaraekhngkhnthiimsmburn inchwngthswrrs 1950 khxngesrsthsastrxutsahkrrm epliynipmungkhwamsnickbkarsuksaxutsahkrrmdwykhxmulthangsthiticakedimthiennkarichrayxutsahkrrm karwicyinlksnaniminkesrsthsastrchawxemrikn epnphubukebik thaihnganwicyesrsthsastrxutsahkrrmchwngthswrrs 1950 1960 niymichkarsuksathangesrsthmitidwykhxmultamkhwang ebnyngepnphurierimkrabwnthsnthieriykwa okhrngsrang phvtikrrm phllphth structure conduct performance odyphicarnaokhrngsrangkhxngtlad phvtikrrmkhxnghnwyesrsthkicintlad aelaphlkhxngokhrngsrangaelaphvtikrrmnnthimitxkhwamkindixyudithangesrsthkic nbtngaetthswrrs 1970 epntnma karsuksaechingthvsdiindanesrsthsastrxutsahkrrmidhnmaichhlkkarkhnitsastrdanthvsdiekmepnekhruxngmuxinkarwiekhraah dwyaenwkhiddulyphaphaebbaench karsuksaechingpracksinyukhhlngmani cungidxasythvsdithixthibayptismphnthkhxnghnwyphlitintlad epnthaninkarsuksadwyhwkhxsuksahlkokhrngsrangkhxngtlad okhrngsrangkhxngtlad mikhwamhmayxyangkwang hmaythunglksnaphunthankhxngxutsahkrrmnn thikhxnkhangkhngthi aelasngphltxphvtikrrmkhxngphukhayaelaphusuxintlad lksnakhxngxutsahkrrmxacmithimathngcakthrrmchatikhxngsinkhannexng echn ethkhonolyikarphlit hruxepnlksnathiepnphlsubenuxngmacakpccyxun rwmthungthrrmchatikhxngsinkhann echn canwnphukhayintlad pccythikidknkarekharwmtladkhxngphuphlitrayihm hnunginhwkhxsakhykhxngesrsthsastrxutsahkrrm khuxkarphyayamxthibaywamipccyidinokhrngsrangkhxngtlad thisngphltxphvtikrrmintladaelaprasiththiphaphkhxngtlad aelaokhrngsrangehlannthukkahndxyangir phvtikrrmkhxngthurkicintlad karsuksainsakhaesrsthsastrxutsahkrrm mkihkhwamsakhykb hruxxanacphukkhad market power hrux monopoly power sunghmaythungkhwamsamarthkhxngphukhayhruxphusux inkarkahndrakhahruxenguxnikhinkarkhaid sungepnsingthiaetktangcakaenwkhidthiphuphlitaelaphubriophkhaetlarayyxy immixanacinkarkahndrakha hwkhxkarsuksathisakhykhxhnunginsakhanikhux phukhaythimixanacehnuxtlad caichwithikartngrakhaaebbidephuxihtwexngidpraoychn echn kartngrakhakhayihphusuxaetlarayimethakn kartngrakhakhayaebbimepnesntrng nxkcakni nkesrsthsastrxutsahkrrm yngsnicsuksaphvtikrrmkarrwmklumkhxngphukhayephuxhwrakha ipcnthungphvtikrrmthiimekiywkhxngkbrakha echn phukhaytxngkarsrangkhwamaetktangkhxngsinkhaxyangir karokhsnamiphlkidknimihphukhayrayihmekhamaintladhruxim karlngthunephuxwicyaelaphthna epntn thvsdixngkhkrthurkic thvsdixngkhkrthurkic theory of the firm epnkhwamphyayamtxbkhathamwa thaimcungtxngmikartngxngkhkrthurkic echn bristh aelaesnaebngrahwangkarepnxngkhkrthurkickbtladkhuxxair khathamnimithimacakkhxsngektwa thrrmchatikhxngxngkhkrthurkic kkhuxkarthathurkrrmrahwangswnyxy inxngkhkrthurkicnn ehtuidthurkrrmbangpraephthcungekidkhunintladphaynxkxngkhkr echn karsuxwtthudibcakthurkicxun aelabangpraephthcungekidkhunphayinxngkhkrxangxingSchmalensee Richard 1987 Industrial organization New Palgrave dictionary of economics Palgrave Macmillan doi 10 1057 978 1 349 95121 5 924 1 ISBN 978 1 349 95121 5 Shapiro Carl 1989 Theories of oligopoly behavior in Schmalensee Richard Willig Robert b k Handbook of industrial organization Vol 1 Amsterdam North Holland pp 329 414 doi 10 1016 S1573 448X 89 01009 5 ISBN 9780444704344 de Jong Henry W Shepherd William G 2007 Pioneers of industrial organization How the economics of competition and monopoly took shape Cheltenham Edward Elgar ISBN 9781843764342 Grether Ewald T 1970 Industrial organization Past history and future problems American Economic Review 60 2 83 89 McKie James W 1972 Industrial organization Boxing the compass in Fuchs Victor R b k Economic research Retrospect and Prospect Vol 3 National Bureau of Economic Research pp 1 15 ISBN 0 87014 250 X Rima Ingrid 2009 Development of economic analysis 7 ed London Routledge ISBN 9780415772921 Bresnahan Timothy F Schmalensee Richard 1987 An empirical renaissance in industrial economics An overview Journal of Industrial Economics 35 4 371 378 doi 10 2307 2098578 Bain Joe S 1959 Industrial organization New York Wiley Schmalensee Richard 1988 Industrial economics An overview Economic Journal 98 392 643 681 doi 10 2307 2233907 Einav Liran Levin Jonathan 2010 Empirical industrial organization A progress report Journal of Economic Perspectives 24 2 145 162 doi 10 1257 jep 24 2 145