ระบบเศรษฐศาสตร์อิสลาม คือ ศาสตร์ที่ประมวลหลักการและกฎเกณฑ์ต่างๆ โดยรวมของ อิสลาม เอาไว้ ซึ่งเกี่ยวข้องกับวิธีการจัดระบบฟื้นฟูเศรษฐกิจ และการแก้ไขปัญหาต่างๆ ด้านเศรษฐกิจ เพื่อสร้างความยุติธรรมแก่สังคม ทั้งนี้มนุษย์จะได้พบกับความผาสุกและไปถึงยังสังคมในอุดมคติที่บรรดาศาสดาและบรรดาอิมามแห่งพระผู้เป็นเจ้าเพียรพยายามให้บรรลุถึงเป้าหมายนั้น
เรื่อง เศรษฐศาสตร์ เป็นเรื่องหนึ่งที่สำคัญที่สุดของมนุษยชาติ และอิสลามก็มีมุมมองเกี่ยวกับเรื่องนี้เป็นการเฉพาะ โดยทั่วไปแล้วคำว่า "เศรษฐศาสตร์อิสลาม" จะถูกใช้ประโยชน์ไปในกรณีต่างๆที่หลากหลายออกไป เช่น "วิชาเศรษฐศาสตร์อิสลาม" "สำนักคิดเศรษฐศาสตร์อิสลาม" "ระบบเศรษฐศาสตร์อิสลาม" เกี่ยวกับ "วิชาเศรษฐศาสตร์อิสลาม" นั้นมีประเด็นละเอียดอ่อนที่ต้องระมัดระวัง หากไม่คำนึงถึงบทเบื้องต้นและประเด็นต่างๆนั้นแล้ว ก็ไม่สามารถนำเสนอเป้าหมายที่น่าเชื่อถือของคำนี้ได้ เมื่อพูดถึงคำว่า "ศาสตร์" โดยทั่วไปอันเป็นที่รู้กันก็จะอธิบายว่าหมายถึง วิชา หรือ วิทยาศาสตร์ นั่นเอง ซึ่งก็หมายถึงประมวลความรู้ที่ได้รับการยืนยันด้วยวิธีการทดลองที่เกิดขึ้นในยุคเรืองปัญญาในตะวันตก แล้วก็ค่อยๆพัฒนาขึ้นเรื่อยมา วิชาเศรษฐศาสตร์ا หรือ เศรษฐศาสตร์การเมือง ก็ไม่มีข้อยกเว้นสำหรับกฎข้อนี้เช่นกัน ความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐศาสตร์อิสลามหรือทุกแนวคิดทางศาสนากับศาสตร์ด้านการทดลองเป็นไปในเชิงการเปรียบเทียบ เพราะเศรษฐศาสตร์ต้องให้คำตอบแก่คำถามที่ว่า ในวิชานี้พูดถึงเรื่องด้านต่างๆที่เกี่ยวกับคุณค่า ด้านจริยธรรมหรือเรื่องที่เกี่ยวกับความเหมาะสมหรือไม่อย่างไร? หากนักค้นคว้าด้านเศรษฐศาสตร์หรือนักปรัชญาด้านเศรษฐศาสตร์เชื่อว่า สามารถพบเรื่องต่างๆนี้ได้ในประมวลของเศรษฐศาสตร์หรือเศรษฐศาสตร์การเมือง โดยตรรกะแล้วเขาสามารถเชื่อในการมีอยู่ของเศรษฐศาสตร์อิสลาม อีกด้านหนึ่งหากบุคคลหนึ่งเชื่อว่าไม่มีเรื่องเกี่ยวกับคุณค่าทางจริธรรมอยู่เลยในเศรษฐศาสตร์หรือเศรษฐศาสตร์การเมือง ดังนั้น "เศรษฐศาสตร์อิสลาม"ถือว่าไม่มีความหมายในทัศนะของเขา บนพื้นฐานของการจำแนกดังกล่าวนี้ ชี้ให้เห็นว่ามีทัศนะต่างๆมากมายเกี่ยวกับ วิชาเศรษฐศาสตร์อิสลาม บ้างก็เชื่อว่าระหว่าง "สำนักคิดเศรษฐศาสตร์อิสลาม"กับ"ระบบเศรษฐศาสตร์อิสลาม"นั้นแยกออกจากกัน ในทัศนะของพวกเขา ระบบเศรษฐศาสตร์อิสลาม คือการนำเอาหลักการและกฎเกณฑ์ต่างๆมาใช้ ซึ่งในความเป็นจริงแล้วสำนักเศรษฐศาสตร์อิสลามก็ให้ความความสนใจเช่นกัน สามารถให้คำนิยามแก่ระบบเศรษฐศาสตร์อิสลามตามบันทัดฐานของการให้คำนิยามได้ว่า หมายถึง ศาสตร์ที่ประมวลหลักการและกฎเกณฑ์ต่างๆ โดยรวมของ อิสลาม เอาไว้ ซึ่งเกี่ยวข้องกับวิธีการจัดระบบฟื้นฟูเศรษฐกิจ และการแก้ไขปัญหาต่างๆ ด้านเศรษฐกิจ เพื่อสร้างความยุติธรรมแก่สังคม ทั้งนี้มนุษย์จะได้พบกับความผาสุกและไปถึงยังสังคมในอุดมคติที่บรรดาศาสดาและบรรดาอิมามแห่งพระผู้เป็นเจ้าเพียรพยายามให้บรรลุถึงเป้าหมายนั้น
มุมมองของอิสลามเกี่ยวกับเศรษฐกิจ
เศรษฐศาสตร์อิสลามนั้นแตกต่างไปจากเศรษฐศาสตร์ของโลกตะวันตก เป็นเศรษฐศาสตร์ที่ย้ำถึงความพอเพียงและหลีกห่างจากการเป็นผู้บริโภคนิยม เศรษฐศาตร์ตะวันตกเชื่อว่าความต้องการของมนุษย์นั้นมีไม่จำกัดแต่ทรัพยากรนั้นมีปริมาณจำกัด แต่อิสลามได้นำเสนอว่าทรัพยากรนั้นมีไม่จำกัด
وَإِن تَعُدُّواْ نِعْمَتَ اللّهِ لاَ تُحْصُوهَا
และหากพวกเจ้าจะนับความโปรดปรานของอัลลลอฮ์แล้ว พวกเจ้าก็ไม่อาจจะคำนวณมันได้ (บทอิบรอฮีม โองการที่ 34)
อิสลามให้ความสำคัญกับเรื่องเศรษฐศาสตร์(บนพื้นฐานของอะซอละตุลอินซาน) ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของประมวลกฎหมายที่สามารถจัดระบบระเบียบด้านต่างๆของชีวิตมนุษย์ และเชื่อว่าการแก้ไขปัญหาด้านเศรษฐกิจนั้นก็เพื่อมุ่งสู่การฟื้นฟูหลักความเชื่อและจริยธรรมของผู้คน
( وَ لَوْ أَنَّ أَهْلَ الْقُری آمَنُوا وَ اتَّقَوْا لَفَتَحْنا عَلَيْهِمْ بَرَكاتٍ مِنَ السَّماءِ وَ الأْرْضِ)
และหากว่าชาวเมืองนั้นได้ศรัทธากันและมีความยำเกรงแล้วไซร้ แน่นอนเราก็เปิดให้แก่พวกเขาแล้ว ซึ่งบรรดาความสิริมงคลจากฟากฟ้า (บทอะอ์รอฟ โองการที่ 96)
อิสลามเชื่อว่าเศรษฐกิจต้องมุ่งสู่เป้าหมายที่สูงส่งของมนุษย์ บนพื้นฐานอันนี้จึงได้ปฏิเสธทัศนะของสังคมนิยมและทุนนิยม ที่ยึดเอาเศรษฐกิจเป็นหลัก
ตำแหน่งของ Islamic เศรษฐศาสตร์
ในการอธิบายและวิเคราะห์การเติบโตทางเศรษฐกิจ บรรดาผู้ที่อยู่ในสำนักเศรษฐศาสตร์แบบคลาสสิค แบบนีโอคลาสสิค สำนักจอนห์ เมย์นาร์ด เคนส์ และอื่นๆ ในทำนองนี้ ต่างก็นำเสนอทัศนะต่างๆ อันทรงคุณค่าเฉพาะของตนเกี่ยวกับระบบเศรษฐศาสตร์ เช่น กลุ่มนักเศรษฐศาสตร์คลาสสิค ได้นำเสนอเกี่ยวกับตลาดเสรี กลุ่มนักเศรษฐศาสตร์นีโอคลาสสิค นำเสนอเกี่ยวกับการสร้างงาน กลุ่มนักเศรษฐศาสตร์ชิคาโกนำเสนอเกี่ยวกับทบทของการศึกษา กลุ่ม physiocracy(ธรรมชาตินิยม) นำเสนอเกี่ยวกับการเกษตรกรรม กลุ่มสำนักmercantilism(พานิชย์นิยม) นำเสนอเกี่ยวกับเรื่องการส่งออกเกินดุล
ศาสนาอิสลามก็เช่นกัน ได้นำเสนอหลักการและกฎเกณฑ์กว้างๆไว้เพื่อจัดระบบความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจในหมู่มนุษย์เพื่อตอบสนองความต้องการด้านเศรษฐกิจ (หรือแก้ไขปัญหาด้านเศรษฐกิจ) และเชื่อมโยงกับความยุติธรรมของสังคม
วิธีการหลักของอิสลามในการกระจายความร่ำรวย
วิธีการหลักของ อิสลามในการกระจายความร่ำรวย ในขั้นตอนแรก คือ รักษาไว้ซึ่งความยุติธรรมของสังคม รักษาสิทธิของประชาชน จึงได้แบ่งทรัพย์สินออกเป็น 3 ส่วน (ชาติ ปัจเฉก และรัฐ) โดยมีกฎห้ามหนทางต่างๆตามหลักการศาสนา เช่น ดอกเบี้ย และแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจภายใต้กรอบของกฎหมาย เช่น กฎว่าการทำสัญญาแบบอิสลาม ซึ่งบ้างก็ได้อธิบายกฎต่างๆนี้ไว้ในบทต่างๆเช่น หลักการว่าด้วยเรื่องการลงทุนร่วม (มุฎอรอบะฮ์) หลักการว่าด้วยการเช่าที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม (มุซารออะฮ์) หลัการว่าด้วยการเหมาจองผลผลิตทางการเกษตร การซื้อขาย การเช่า หลักการว่าด้วยเรื่องการกำหนดรางวัลแก่ผู้ทำงาน(ญุอาละฮ์) การจ่ายทาน (ซะกาต) หลักการว่าด้วยเรื่องการจ่ายเงินคุมส์ และอื่นๆ
เศรษฐศาสตร์อิสลามในอิหร่าน
ในปี 1978 อิมามโคมัยนี ประกาศว่า บริษัททั้งหลายของต่างชาติ ได้กุมเศรษฐกิจของอิหร่านเอาไว้ นโยบายต่างๆของ มุฮัมหมัดริฎอชา กำลังทำลายเกษตรกรรมโดยให้การช่วยเหลือแก่ชาวต่างชาติเข้ามาทำธุระกิจในด้านการเกษตรกรรม และท่านได้ประกาศว่าเป้าหมายหลักเกี่ยวกับด้านเศรษฐกิจของเขาก็คือ การหดตัวและให้อิหร่านต้องขึ้นอยู่กับชาวตะวันตก ซึ่งก็จะทำให้เศรษฐศาตร์ตามสาระธรรมคำสอนของอิสลามต้องถูกทำลายลงไป ก่อนการปฏิวัติ ชะฮีดมุฮัมหมัด บาเก็ร ศ็อดร์ เพียรพยายามที่จะอธิบายระบบเศรษฐกิจอิสลามและสำนักต่างๆ ด้านเศรษฐศาสตร์ หลังการปฏิวัติอิสลามเรื่องการธนาคารเป็นหนึ่งในเรื่องที่นำมาใช้ตามกฎหมายอิสลาม จึงได้มีการอนุมัติและนำกฎหมายการธนาคารที่ปราศจากดอกเบี้ยมาใช้ อีกเรื่องหนึ่งที่สำคัญที่ถูกนำมาใช้ในระบบเศรษฐกิจอิสลาม คือเรื่อง อันฟาล(ทรัพย์สินส่วนเฉพาะศาสดาและบรรดาอะอิมมะฮ์)และการครอบครองทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งถูกเน้นไว้รัฐธรรมนูญของสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน อีกเรื่องหนึ่งที่สำคัญเกี่ยวกับเศรษฐกิจอิสลามที่เติบโตมาพร้อมกับการปฏิวัติ คือ เรื่องเสรีภาพและการพึ่งพาตนเอง แม้ว่าในด้านเศรษฐศาสตร์แล้วจะเป็นเรื่องที่ไม่ค่อยให้ความสำคัญกันมากนัก แต่เนื่องด้วยสภาวะของโลกในยุคนั้นและยุคปัจจุบัน อีกทั้งหลักการด้านเศรษฐกิจที่มีอยู่บ้างนั้นต้องให้ความสำคัญเกี่ยวกับเรื่องเสรีภาพด้านเศรษฐกิจ ทว่าต้องสอดคล้องกับทฤษฎีต่างๆ ด้านเศรษฐศาสตร์ อันเป็นที่รู้จักกันตามที่ประเทศต่างๆได้ดำเนินการในการสนับสนุนอุตสาหกรรมของตนเอง และสามารถแลกเปลี่ยนสินค้าอย่างเสรี ปราศจากการวางเงื่อนไขในตลาดการเงิน การพึ่งพาตนเองและเรื่องเสรีภาพก็จะกลายเป็นเรื่องที่สำคัญ
อ้างอิง
- ซัยยิดมุฮัมหมัด บาเก็ร ศ็อดร์ อิกติซอดุนา หน้า 330-334
- ซัยยิด ริฎอ ฮุซัยนี นะสับ มัจมูเอะเย มะกอลอเต อิลมี หน้า 15-18
- มันซูร ชะฟีอ์ซอเดะฮ์ นิฆอฮี โดบอเระฮ์ เบะฮ์ อันดีเชะฮ์ฮอเย อิกติซอดี ฮัซระเต อิมามโคมัยนี พิมพ์ครั้งที่สอง เตะฮ์ราน สำนักพิมพ์ มัดรอส ปี 1383
- ยะดุลลอฮ์ ดอดฆัร กิรมอนญี นิฆะริชี บัร อิกติซอเด อิสลอมี พิมพ์ครั้งที่สอง เตะฮ์ราน สำนักพิมพ์มัดรอน ปี 1478
- มะห์หมูด รูซบะฮอน อิกตอซอเด อิสลอมี พิมพ์ครั้งที่สาม สำนักพิมพ์กอลัม ปี 1378
- อิมามมูซา ศ็อดร์ อิกติซอด ดัร มักตะเบ อิสลอม อะลี ฮุจญะตี กิรมอนี
- ซอฮีเฟะนูร เล่ม 18 หน้า 170-179
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
rabbesrsthsastrxislam khux sastrthipramwlhlkkaraelakdeknthtang odyrwmkhxng xislam exaiw sungekiywkhxngkbwithikarcdrabbfunfuesrsthkic aelakaraekikhpyhatang danesrsthkic ephuxsrangkhwamyutithrrmaeksngkhm thngnimnusycaidphbkbkhwamphasukaelaipthungyngsngkhminxudmkhtithibrrdasasdaaelabrrdaximamaehngphraphuepnecaephiyrphyayamihbrrluthungepahmaynn eruxng esrsthsastr epneruxnghnungthisakhythisudkhxngmnusychati aelaxislamkmimummxngekiywkberuxngniepnkarechphaa odythwipaelwkhawa esrsthsastrxislam cathukichpraoychnipinkrnitangthihlakhlayxxkip echn wichaesrsthsastrxislam sankkhidesrsthsastrxislam rabbesrsthsastrxislam ekiywkb wichaesrsthsastrxislam nnmipraednlaexiydxxnthitxngramdrawng hakimkhanungthungbthebuxngtnaelapraedntangnnaelw kimsamarthnaesnxepahmaythinaechuxthuxkhxngkhaniid emuxphudthungkhawa sastr odythwipxnepnthiruknkcaxthibaywahmaythung wicha hrux withyasastr nnexng sungkhmaythungpramwlkhwamruthiidrbkaryunyndwywithikarthdlxngthiekidkhuninyukheruxngpyyaintawntk aelwkkhxyphthnakhuneruxyma wichaesrsthsastrا hrux esrsthsastrkaremuxng kimmikhxykewnsahrbkdkhxniechnkn khwamsmphnthrahwangesrsthsastrxislamhruxthukaenwkhidthangsasnakbsastrdankarthdlxngepnipinechingkarepriybethiyb ephraaesrsthsastrtxngihkhatxbaekkhathamthiwa inwichaniphudthungeruxngdantangthiekiywkbkhunkha dancriythrrmhruxeruxngthiekiywkbkhwamehmaasmhruximxyangir haknkkhnkhwadanesrsthsastrhruxnkprchyadanesrsthsastrechuxwa samarthphberuxngtangniidinpramwlkhxngesrsthsastrhruxesrsthsastrkaremuxng odytrrkaaelwekhasamarthechuxinkarmixyukhxngesrsthsastrxislam xikdanhnunghakbukhkhlhnungechuxwaimmieruxngekiywkbkhunkhathangcrithrrmxyuelyinesrsthsastrhruxesrsthsastrkaremuxng dngnn esrsthsastrxislam thuxwaimmikhwamhmayinthsnakhxngekha bnphunthankhxngkarcaaenkdngklawni chiihehnwamithsnatangmakmayekiywkb wichaesrsthsastrxislam bangkechuxwarahwang sankkhidesrsthsastrxislam kb rabbesrsthsastrxislam nnaeykxxkcakkn inthsnakhxngphwkekha rabbesrsthsastrxislam khuxkarnaexahlkkaraelakdeknthtangmaich sunginkhwamepncringaelwsankesrsthsastrxislamkihkhwamkhwamsnicechnkn samarthihkhaniyamaekrabbesrsthsastrxislamtambnthdthankhxngkarihkhaniyamidwa hmaythung sastrthipramwlhlkkaraelakdeknthtang odyrwmkhxng xislam exaiw sungekiywkhxngkbwithikarcdrabbfunfuesrsthkic aelakaraekikhpyhatang danesrsthkic ephuxsrangkhwamyutithrrmaeksngkhm thngnimnusycaidphbkbkhwamphasukaelaipthungyngsngkhminxudmkhtithibrrdasasdaaelabrrdaximamaehngphraphuepnecaephiyrphyayamihbrrluthungepahmaynnmummxngkhxngxislamekiywkbesrsthkicesrsthsastrxislamnnaetktangipcakesrsthsastrkhxngolktawntk epnesrsthsastrthiyathungkhwamphxephiyngaelahlikhangcakkarepnphubriophkhniym esrsthsatrtawntkechuxwakhwamtxngkarkhxngmnusynnmiimcakdaetthrphyakrnnmiprimancakd aetxislamidnaesnxwathrphyakrnnmiimcakd و إ ن ت ع د وا ن ع م ت الل ه لا ت ح ص وه ا aelahakphwkecacanbkhwamoprdprankhxngxlllxhaelw phwkecakimxaccakhanwnmnid bthxibrxhim oxngkarthi 34 xislamihkhwamsakhykberuxngesrsthsastr bnphunthankhxngxasxlatulxinsan inthanathiepnswnhnungkhxngpramwlkdhmaythisamarthcdrabbraebiybdantangkhxngchiwitmnusy aelaechuxwakaraekikhpyhadanesrsthkicnnkephuxmungsukarfunfuhlkkhwamechuxaelacriythrrmkhxngphukhn و ل و أ ن أ ه ل ال ق ری آم ن وا و ات ق و ا ل ف ت ح نا ع ل ي ه م ب ر كات م ن الس ماء و الأ ر ض aelahakwachawemuxngnnidsrththaknaelamikhwamyaekrngaelwisr aennxnerakepidihaekphwkekhaaelw sungbrrdakhwamsirimngkhlcakfakfa bthxaxrxf oxngkarthi 96 xislamechuxwaesrsthkictxngmungsuepahmaythisungsngkhxngmnusy bnphunthanxnnicungidptiesththsnakhxngsngkhmniymaelathunniym thiyudexaesrsthkicepnhlktaaehnngkhxng Islamic esrsthsastrinkarxthibayaelawiekhraahkaretibotthangesrsthkic brrdaphuthixyuinsankesrsthsastraebbkhlassikh aebbnioxkhlassikh sankcxnh emynard ekhns aelaxun inthanxngni tangknaesnxthsnatang xnthrngkhunkhaechphaakhxngtnekiywkbrabbesrsthsastr echn klumnkesrsthsastrkhlassikh idnaesnxekiywkbtladesri klumnkesrsthsastrnioxkhlassikh naesnxekiywkbkarsrangngan klumnkesrsthsastrchikhaoknaesnxekiywkbthbthkhxngkarsuksa klum physiocracy thrrmchatiniym naesnxekiywkbkarekstrkrrm klumsankmercantilism phanichyniym naesnxekiywkberuxngkarsngxxkekindul sasnaxislamkechnkn idnaesnxhlkkaraelakdeknthkwangiwephuxcdrabbkhwamsmphnthdanesrsthkicinhmumnusyephuxtxbsnxngkhwamtxngkardanesrsthkic hruxaekikhpyhadanesrsthkic aelaechuxmoyngkbkhwamyutithrrmkhxngsngkhmwithikarhlkkhxngxislaminkarkracaykhwamrarwywithikarhlkkhxng xislaminkarkracaykhwamrarwy inkhntxnaerk khux rksaiwsungkhwamyutithrrmkhxngsngkhm rksasiththikhxngprachachn cungidaebngthrphysinxxkepn 3 swn chati pcechk aelarth odymikdhamhnthangtangtamhlkkarsasna echn dxkebiy aelaaekpyhathangesrsthkicphayitkrxbkhxngkdhmay echn kdwakarthasyyaaebbxislam sungbangkidxthibaykdtangniiwinbthtangechn hlkkarwadwyeruxngkarlngthunrwm mudxrxbah hlkkarwadwykarechathidinephuxkarekstrkrrm musarxxah hlkarwadwykarehmacxngphlphlitthangkarekstr karsuxkhay karecha hlkkarwadwyeruxngkarkahndrangwlaekphuthangan yuxalah karcaythan sakat hlkkarwadwyeruxngkarcayenginkhums aelaxunesrsthsastrxislaminxihraninpi 1978ximamokhmyni prakaswa brisththnghlaykhxngtangchati idkumesrsthkickhxngxihranexaiw noybaytangkhxng muhmhmdridxcha kalngthalayekstrkrrmodyihkarchwyehluxaekchawtangchatiekhamathathurakicindankarekstrkrrm aelathanidprakaswaepahmayhlkekiywkbdanesrsthkickhxngekhakkhux karhdtwaelaihxihrantxngkhunxyukbchawtawntk sungkcathaihesrsthsatrtamsarathrrmkhasxnkhxngxislamtxngthukthalaylngip kxnkarptiwti chahidmuhmhmd baekr sxdr ephiyrphyayamthicaxthibayrabbesrsthkicxislamaelasanktang danesrsthsastr hlngkarptiwtixislameruxngkarthnakharepnhnungineruxngthinamaichtamkdhmayxislam cungidmikarxnumtiaelanakdhmaykarthnakharthiprascakdxkebiymaich xikeruxnghnungthisakhythithuknamaichinrabbesrsthkicxislam khuxeruxng xnfal thrphysinswnechphaasasdaaelabrrdaxaximmah aelakarkhrxbkhrxngthrphyakrthrrmchati sungthukenniwrththrrmnuykhxngsatharnrthxislamaehngxihran xikeruxnghnungthisakhyekiywkbesrsthkicxislamthietibotmaphrxmkbkarptiwti khux eruxngesriphaphaelakarphungphatnexng aemwaindanesrsthsastraelwcaepneruxngthiimkhxyihkhwamsakhyknmaknk aetenuxngdwysphawakhxngolkinyukhnnaelayukhpccubn xikthnghlkkardanesrsthkicthimixyubangnntxngihkhwamsakhyekiywkberuxngesriphaphdanesrsthkic thwatxngsxdkhlxngkbthvsditang danesrsthsastr xnepnthiruckkntamthipraethstangiddaeninkarinkarsnbsnunxutsahkrrmkhxngtnexng aelasamarthaelkepliynsinkhaxyangesri prascakkarwangenguxnikhintladkarengin karphungphatnexngaelaeruxngesriphaphkcaklayepneruxngthisakhyxangxingsyyidmuhmhmd baekr sxdr xiktisxduna hna 330 334 syyid ridx husyni nasb mcmuexaey makxlxet xilmi hna 15 18 mnsur chafixsxedah nikhxhi odbxerah ebah xndiechahhxey xiktisxdi hsraet ximamokhmyni phimphkhrngthisxng etahran sankphimph mdrxs pi 1383 yadullxh dxdkhr kirmxnyi nikharichi br xiktisxed xislxmi phimphkhrngthisxng etahran sankphimphmdrxn pi 1478 mahhmud rusbahxn xiktxsxed xislxmi phimphkhrngthisam sankphimphkxlm pi 1378 ximammusa sxdr xiktisxd dr mktaeb xislxm xali hucyati kirmxni sxhiefanur elm 18 hna 170 179