เลขหมายระบุตัวตนในกิจการเคลื่อนที่ทางทะเล (อังกฤษ: Maritime Mobile Service Identity: MMSI) คือชุดหมายเลขโทรศัพท์ทางทะเลระหว่างประเทศของเรือและวัตถุทางทะเล ซึ่งเป็นค่าเอกลักษณ์ (Unique Identifier) ที่กำหนดขึ้นชั่วคราวโดยหน่วยงานที่กำกับดูแลการสื่อสารทางทะเลของแต่ละประเทศที่เรือหรือวัตถุนั้นสังกัดอยู่ (ต่างจากหมายเลข IMO ซึ่งเป็นค่าเอกลักษณ์สากลที่ใช้ถาวร)
เลขหมายระบุตัวตนในกิจการเคลื่อนที่ทางทะเลนั้น ประกอบด้วยชุดตัวเลข 9 หลัก โดยหมายเลข 3 ตัวแรกคือตัวเลขประจำตัวทางทะเล (Maritime identification digits) ที่ระบุประเทศตามที่ ITU กำหนด เชื่อมกับหมายเลขอีก 6 หลักที่เป็นค่าเฉพาะตัวตามแต่จะกำหนดประเภท เมื่อใดก็ตามที่วัตถุมีการเปลี่ยนแปลงค่า อาทิ สัญชาติของเรือหรือวัตถุทางทะเล จะต้องมีการกำหนดหมายหมายเลขเอ็มเอ็มเอสไอใหม่
"วัตถุทางทะเล" อาจหมายความถึงวัตถุอะไรก็ได้ที่จำเป็นต้องใช้หมายเลขเอ็มเอ็มเอสไอในการระบุตัวตน อาทิ เรือ, แท่นขุดเจาะแบบยึดติดพื้นทะเล, หน่วยเคลื่อนที่, อากาศยานทางทะเล, สถานีชายฝั่ง เป็นต้น โดยการสื่อสารอาจถูกส่งไปยัง "วัตถุแต่ละชิ้นแบบเจาะจง" หรือส่งไปยัง "กลุ่มของวัตถุ" ซึ่งการสื่อสารไปยังกลุ่มของวัตถุอาจจะกำหนดโดยใช้ตำแหน่งที่ตั้ง ความเป็นเจ้าของ หรือประเภทของวัตถุนั้น ๆ
หมายเลขเอ็มเอ็มเอสไอถูกสร้างขึ้นมาโดยสามารถใช้หมายเลขทั้งหมด 9 ตัว หรือตัวเลขข้อมูลบางส่วนของชุดหมายเลข ในการจัดกลุ่มของวัตถุ เพื่อเชื่อมต่อกันในรูปแบบของเครือข่ายโทรคมนานคมและการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันแบบอัตโนมัติ ผ่านการสื่อสารในรูปแบบดิจิทัลทางช่องความถี่วิทยุ
ประเภท
ป้จจุบันมีการแบ่งเลขหมายระบุตัวตนในกิจการเคลื่อนที่ทางทะเลออกเป็น 6 ประเภท ประกอบไปด้วย
- เลขหมายระบุตัวตนของสถานีเรือ
- เลขหมายระบุตัวตนของกลุ่มสถานีเรือ
- เลขหมายระบุตัวตนของสถานีชายฝั่ง
- เลขหมายระบุตัวตนของกลุ่มสถานีชายฝั่ง
- อากาศยานการค้นหาและกู้ภัย
- เครื่องหมายทางเรือและยาน (เรือชูชีพ แพชูชีพ) ที่เกี่ยวข้องกับเรือแม่
ตัวเลขประจำตัวทางทะเล
ตัวเลขประจำตัวทางทะเล (Maritime identification digits: MID) ประกอบด้วยตัวเลขจำนวน 3 หลัก โดยจะเริ่มต้นด้วยเลข 2 ถึง 7 เสมอ (กำหนดตามภูมิภาค) สามารถกำหนดเลขประจำตัวทางทะเลชุดที่ 2 ขึ้นมาได้ หากชุดแรกถูกใช้งานไปเกินกว่า 80% และมีแนวโน้มว่าจะมีการใช้งานจนถึง 90% อย่างรวดเร็ว โดยเลขประจำตัวทางทะเลของแต่ละประเทศนั้นสามารถดูได้จากเว็บไซต์ของสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (ITU) เช่น
- ออสเตรียใช้หมายเลข 203
- ประเทศไทยใช้หมายเลข 567
- โคลอมเบียใช้หมายเลข 730
เลขหลักแรก
ตัวเลขหลักแรกของหมายเลขเอ็มเอ็มเอสไอ ใช้สำหรับจัดหมวดหมู่ในการระบุตัวตน ตามที่ได้กำหนดไว้ในเอกสาร Recommendation M.585 ของสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ซึ่งความหมายประกอบไปด้วย
- 0 สำหรับ กลุ่มสถานีเรือ สถานีชายฝั่ง หรือกลุ่มสถานีชายฝั่ง
- 1 สำหรับอากาศยานการค้นหาและกู้ภัย
- 2-7 สำหรับเรือแต่ละลำในระบบเลขประจำตัวทางทะเล
- 2 สำหรับภูมิภาคยุโรป เช่น อิตาลีใช้ 247 เดนมาร์กใช้ 219 และ 220
- 3 สำหรับภูมิภาคอเมริกาเหนือ อเมริกากลาง และแคริบเบียน เช่น แคนาดาใช้ 316 กรีนแลนด์ใช้ 331 ปานามาใช้ 351 ถึง 357 รวมไปถึง 370 ถึง 373 สหรัฐอเมริกาใช้ 338 รวมไปถึง 366 ถึง 369 และรัฐอะแลสกาใช้ 303
- 4 สำหรับภูมิภาคเอเชีย (ยกเว้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้) เช่น จีนใช้ 412 413 และ 414 มัลดีฟส์ใช้ 455 ญี่ปุ่นใช้ 431
- 5 สำหรับภูมิภาคโอเชียเนีย เช่น ออสเตรเลียใช้ 503 นิวซีแลนด์ใช้ 512 และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ฟิลิปปินส์ใช้ 548 ไทยใช้ 567
- 6 สำหรับภูมิภาคแอฟริกา เช่น เอริเทรียใช้ 625
- 7 สำหรับภูมิภาคอเมริกาใต้ เช่น เปรูใช้ 760
- 8 สำหรับเครื่องรับส่งวิทยุมือถือแบบวีเอชเอฟที่มีระบบการส่งสัญญาณแบบ DSC และระบบดาวเทียม GNSS
- 9 สำหรับอุปกรณ์ที่ใช้หมายเลขแยกเป็นอิสระ เช่น
- อุปกรณ์รับส่งสัญญาณค้นหาและกู้ภัย (970yyzzzz)
- อุปกรณ์เตือนคนตกน้ำผ่านระบบ DSC และ/หรือระบบแสดงตนอัตโนมัติ (AIS) (972yyzzzz)
- กระโจมวิทยุแจ้งตำบลที่ฉุกเฉิน EPIRB ความถี่ 406 MHz ด้วยอุปกรณ์แสดงตนอัตโนมัติ (AIS) (974yyzzzz)
- ยาน (เรือชูชีพ แพชูชีพ) ที่เกี่ยวข้องกับเรือแม่ (98MIDxxxx)
- เครื่องหมายทางเรือ เช่น ทุ่นเครื่องหมายทางเรือ ประภาคาร กระโจม (AtoNs; 99MIDaxxx)
หมายเหตุ
- หลักที่เจ็ด ("a") อาจ ระบุถึงประเภทอากาศยานว่าเป็ฯแบบ ปีกตรึง (a = 1) หรือเฮลิคอปเตอร์ (a = 5) หากต้องการระบุ นอกจากนี้ยังสามารถใช้หลัก "a" เช่นเดียวกับหลัก "x" อื่น ๆ หากไม่ต้องการจำแนกประเภทอากาศยาน
- โดยที่ "yy" คือรหัสตัวเลขที่กำหนดให้กับบริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์ และ "zzzz" คือหมายเลขลำดับที่เลือกโดยผู้ผลิต
- อุปกรณ์ที่ใช้ระบบเอ็มเอ็มเอสไอเหล่านี้ อาจจะติดตั้งอยู่ในเรือชูชีพ แพชูชีพ เรือกู้ภัย เป็นต้น
- ตัวเลข "a" อาจ ใช้เพื่อระบุประเภทของ AtoN: 1 สำหรับแบบกายภาพ, 6 สำหรับแบบเสมือน นอกจากนี้ยังสามารถใช้หลัก "a" เช่นเดียวกับหลัก "x" อื่น ๆ หากไม่ต้องการแบ่งประเภทของ AtoN
รูปแบบของเลขหมายระบุตัวตนสถานี
เลขหมายระบุตัวตนของสถานีเรือ
รหัส 9 หลักที่ประกอบขึ้นเป็นเลขหมายระบุตัวตนของสถานีเรือ มีรูปแบบ คือ MIDxxxxxx
กำหนดให้ MID แทนหมายเลขประจำตัวทางทะเล (Maritime identification digits: MID) และ x แทนด้วยตัวเลขใด ๆ ก็ตามตั้งแต่ 0 ถึง 9
- หากเรือได้รับการติดตั้งระบบสื่อสารผ่านดาวเทียม Inmarsat B, C, M หรือมีแผนจะติดตั้งในอนาคตอันใกล้ ควรจะมีเลขศูนย์ต่อท้าย 3 ตัว คือ MIDxxx000
- หากเรือได้รับการติดตั้งระบบสื่อสารผ่านดาวเทียม Inmarsat C หรือมีแผนจะติดตั้งในอนาคตอันใกล้ เลขหมายระบุตัวตนอาจมีเลขศูนย์ต่อท้าย 1 ตัว คือ MIDxxxxx0
- หากเรือได้รับการติดตั้งระบบสื่อสารผ่านดาวเทียม Inmarsat A หรือมีระบบสื่อสารผ่านดาวเทียมอื่นที่ไม่ใช่ของ Inmarsat ก็ไม่จำเป็นจะต้องมีเลขศูนย์ต่อท้ายในเลขหมายระบุตัวตน
เลขหมายระบุตัวตนของกลุ่มสถานีเรือ
เลขหมายระบุตัวตนของกลุ่มสถานีเรือมีไว้สำหรับการสื่อสารหรือโทรพร้อมกันมากกว่า 1 ลำ มีรูปแบบคือ 0MIDxxxxx
โดยที่ตัวเลขแรกคือศูนย์ และ X คือตัวเลขใดๆ ตั้งแต่ 0 ถึง 9 MID แทนหมายเลขประจำตัวทางทะเล (MID) ที่กำหนดรหัสประจำกลุ่มสถานีเรือ และไม่ได้มีข้อห้ามในการติดต่อสื่อสารแบบกลุ่มไปยังกองเรือที่มีสัญชาติของเรือมากกว่าหนึ่งสัญชาติ
เลขหมายระบุตัวตนของสถานีชายฝั่ง
เลขหมายระบุตัวตนของสถานีชายฝั่งมีรูบแบบ คือ 00MIDxxxx
โดยที่ตัวเลขสองตัวแรกเป็นศูนย์ และ X คือตัวเลขใดๆ ตั้งแต่ 0 ถึง 9 MID แทนหมายเลขประจำตัวทางทะเล (MID) แสดงประเทศที่สถานีชายฝั่งหรือสถานีภาคพื้นดินชายฝั่งนั้นได้ตั้งอยู่
เลขหมายระบุตัวตนของกลุ่มสถานีชายฝั่ง
เลขหมายระบุตัวตนของกลุ่มสถานีชายฝั่งมีไว้สำหรับการสื่อสารหรือโทรพร้อมกันมากกว่าสถานี โดยมีรูปแบบเช่นเดียวกับสถานีชายฝั่งในแต่ละแห่ง คือ มีเลขศูนย์นำหน้า 2 ตัว MID แทนหมายเลขประจำตัวทางทะเล (MID) และตัวเลขอีก 4 หลัก โดยมีการจำแนกรูปแบบย่อยลงมาได้อีก คือ
- 00MID0000 สำหรับสถานีชายฝั่งใดๆ ที่ใช้หมายเลขประจำตัวทางทะเล (MID)
- 009990000 สำหรับสถานีชายฝั่งย่านความถี่วีเอชเอฟใด ๆ ก็ตาม โดยไม่ต้องคำนึงถึงหมายเลขประจำตัวทางทะเล (MID)
เครื่องส่งสัญญาณค้นหาและกู้ภัย
เครื่องส่งสัญญาณค้นหาและกู้ภัยผ่านระบบแสดงตนอัตโนมัติ (AIS-SART) จะใช้การระบุรหัสตัวเลขของบริษัทผู้ผลิต แทนที่จะเป็นเลขประจำตัวทางทะเล (MID) ที่ระบุประเทศ มีรูปแบบคือ 970YYxxxx
โดยหลักเลขที่แสดงด้วยอักษร Y สองตัวถูกกำหนดโดย สมาคมบริษัทอิเล็กทรอนิกส์ทางทะเลนานาชาติ (International Association for Marine Electronics Companies) ซึ่งสามารถระบุถึงตัวบริษัทที่ผลิตอุปกรณ์ส่งสัญญาณค้นหาและกู้ภัย ในขณะที่ X คือตัวเลขลำดับการผลิตที่ถูกกำหนดโดยบริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์
การขาดแคลนของเลขหมายระบุตัวตนในกิจการเคลื่อนที่ทางทะเล
เนื่องจากเรือทุกลำที่เดินทางระหว่างประเทศ รวมไปถึงเรือที่ติดตั้งระบบสื่อสารผ่านดาวเทียม Inmarsat B หรือ M ถูกกำหนดให้ใช้รูปแบบ MIDxxx000 จึงเกิดปัญหาในระดับชาติขึ้น ว่าจะต้องกำหนดหมายเลขเอ็มเอ็มเอสไอให้เพียงพอต่อความต้องการทั้งหมด อาทิ ในประเทศที่มีเรือติดตั้งระบบสื่อสารผ่านดาวเทียม Inmarsat 10,000 ลำ จะต้องใช้ชุดหมายเลขประจำตัวทางทะเล (MID) ถึง 10 ชุด เพื่อรองรับจำนวนเรือ 10,000 ลำ หากเรือจำนวน 50,000 ลำติดตั้งระบบสื่อสารผ่านดาวเทียม Inmarsat M จะต้องใช้ชุดหมายเลขประจำตัวทางทะเล (MID) ถึง 50 ชุดเพื่อรองรับ
ปัญหาต่อมาเกิดขึ้นกับเรือที่ติดตั้งระบบสื่อสารดาวเทียม Inmarsat เนื่องจากข้อกำหนดของ ITU-T ได้กำหนดให้ระบุตัวตนในรูปแบบของ (MESIN) คือ TMIDxxxYY โดยที่ T ระบุประเภทของระบบสื่อสารดาวเทียม Inmarsat YY ระบุส่วนของอุปกรณ์ Inmarsat (อาทิ "00" อาจระบุ โทรศัพท์ในสะพานเดินเรือ "01" อาจหมายถึงเครื่องโทรสารในห้องวิทยุ ฯลฯ) และ MIDxxx ระบุหมายเลขของสถานีเรือ ซึ่งเกี่ยวข้องกับเลขหมายระบุตัวตนของสถานีเรือในรูปแบบของ MIDxxx000
หมายเลขเอ็มเอ็มเอสไอนั้นถูกให้ความหมายถึงตัวตนทางอิเล็กทรอนิกส์ของเรือทั้งลำ ซึ่งถูกใช้ในอุปกรณ์รูปแบบใดรูปแบบหนึ่งผ่าน GMDSS หรืออุปกรณ์โทรคมนาคมอื่น ๆ ภายในเรือ อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบัตินั้น หมายเลขเอ็มเอ็มเอสไอสามารถใช้งานได้เต็มประสิทธิภาพตามที่มันถูกออกแบบมาหรือไม่ หรือท้ายที่สุด ITU อาจยุติแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลระบุตัวตน Inmarsat MESIN กับเลขหมายระบุตัวตนในกิจการเคลื่อนที่ทางทะเล
เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาการขาดแคลเลขหมายระบุตัวตนในกิจการเคลื่อนที่ทางทะเล ผู้ผลิตอาจจะต้องลดฟังก์ชั่นบางอย่างในวิทยุที่รองรับระบบ DSC เพื่อให้สามารถป้อนหมายเลขเอ็มเอ็มเอสไอได้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น ซึ่งจะทำให้ผู้ใช้งานไม่สามารถเคลื่อนย้ายเครื่องรับส่งวิทยุดังกล่าวไปยังเรือลำอื่นได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งวิทยุมือถือย่านวีเอชเอฟ ซึ่งการใช้เพียงหมายเลขเอ็มเอ็มเอสไอเดียวนั้นขัดกันอย่างยิ่ง
ในการประชุมวิทยุโลก ณ กรุงเจนีวา พ.ศ. 2540 (WRC-97) ได้มีการรับรองมติ 344 ซึ่งเกี่ยวข้องกับการขาดแคลนทรัพยากรเลขหมายระบุตัวตนในกิจการเคลื่อนที่ทางทะเล ในมุมของการปรับปรุงโครงข่ายโทรศัพท์สาธารณะและความสามารถใหม่ ๆ ของระบบ Inmarsat ที่เหนือไปกว่าระบบสื่อสารดาวเทียม Inmarsat B หรือ M โดยยกเลิกข้อจำกัดเดิมและสามารถใช้งานตัวเลขทั้ง 9 หลักในหมายเลขเอ็มเอ็มเอสไอได้ และไม่จำเป็นต้องลงท้ายด้วยเลขศูนย์อีกต่อไป
ดูเพิ่ม
- ใช้กลุ่มเลขหมายระบุตัวตนในกิจการเคลื่อนที่ทางทะเล สำหรับระบุรหัสเรือ
- สัญญาณเรียกขานทางทะเล ไม่เชื่อมโยงกับเลขหมายระบุตัวตนในกิจการเคลื่อนที่ทางทะเล แต่สามารถมีเลขหมายดังกล่าวได้ในภายหลัง
อ้างอิง
- "ระบบการสื่อสารเพื่อการแจ้งภัยและความปลอดภัยทางทะเล(GMDSS) – Seafarer Library" (ภาษาอังกฤษ).
- "Table of Maritime Identification Digits". ITU (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน).
- "M.585: Assignment and use of identities in the maritime mobile service". www.itu.int.
{{}}
: CS1 maint: url-status () - "Recommendation M.585-4 (03/07)". ITU. March 2007. First specified in this revision; carried forward in newer versions of the M.585 recommendation.
- "เครื่องมือสื่อสารและอุปกรณ์ช่วยการเดินเรือ". www.marinerthai.net.
- "Recommendation ITU-R M.585-8 (10/2019): Assignment and use of identities in the maritime mobile service" (PDF). Geneva, Switzerland: ITU. October 2019.
- "Maritime Mobile Service Identity (MMSI)". Australian Maritime Safety Authority.
- "Liaison Statement to CIRM: Identities for AIS-SART, MOB and EPIRB-AIS" (PDF). 2011-06-22. สืบค้นเมื่อ 2014-03-30.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
elkhhmayrabutwtninkickarekhluxnthithangthael xngkvs Maritime Mobile Service Identity MMSI khuxchudhmayelkhothrsphththangthaelrahwangpraethskhxngeruxaelawtthuthangthael sungepnkhaexklksn Unique Identifier thikahndkhunchwkhrawodyhnwynganthikakbduaelkarsuxsarthangthaelkhxngaetlapraethsthieruxhruxwtthunnsngkdxyu tangcakhmayelkh IMO sungepnkhaexklksnsaklthiichthawr eruxphanichyrahwangpraeths caepntxngmielkhhmayrabutwtninkickarekhluxnthithangthael elkhhmayrabutwtninkickarekhluxnthithangthaelnn prakxbdwychudtwelkh 9 hlk odyhmayelkh 3 twaerkkhuxtwelkhpracatwthangthael Maritime identification digits thirabupraethstamthi ITU kahnd echuxmkbhmayelkhxik 6 hlkthiepnkhaechphaatwtamaetcakahndpraephth emuxidktamthiwtthumikarepliynaeplngkha xathi sychatikhxngeruxhruxwtthuthangthael catxngmikarkahndhmayhmayelkhexmexmexsixihm wtthuthangthael xachmaykhwamthungwtthuxairkidthicaepntxngichhmayelkhexmexmexsixinkarrabutwtn xathi erux aethnkhudecaaaebbyudtidphunthael hnwyekhluxnthi xakasyanthangthael sthanichayfng epntn odykarsuxsarxacthuksngipyng wtthuaetlachinaebbecaacng hruxsngipyng klumkhxngwtthu sungkarsuxsaripyngklumkhxngwtthuxaccakahndodyichtaaehnngthitng khwamepnecakhxng hruxpraephthkhxngwtthunn hmayelkhexmexmexsixthuksrangkhunmaodysamarthichhmayelkhthnghmd 9 tw hruxtwelkhkhxmulbangswnkhxngchudhmayelkh inkarcdklumkhxngwtthu ephuxechuxmtxkninrupaebbkhxngekhruxkhayothrkhmnankhmaelakaraelkepliynkhxmulknaebbxtonmti phankarsuxsarinrupaebbdicithlthangchxngkhwamthiwithyupraephthpccubnmikaraebngelkhhmayrabutwtninkickarekhluxnthithangthaelxxkepn 6 praephth prakxbipdwy elkhhmayrabutwtnkhxngsthanierux elkhhmayrabutwtnkhxngklumsthanierux elkhhmayrabutwtnkhxngsthanichayfng elkhhmayrabutwtnkhxngklumsthanichayfng xakasyankarkhnhaaelakuphy ekhruxnghmaythangeruxaelayan eruxchuchiph aephchuchiph thiekiywkhxngkberuxaemtwelkhpracatwthangthaeltwelkhpracatwthangthael Maritime identification digits MID prakxbdwytwelkhcanwn 3 hlk odycaerimtndwyelkh 2 thung 7 esmx kahndtamphumiphakh samarthkahndelkhpracatwthangthaelchudthi 2 khunmaid hakchudaerkthukichnganipekinkwa 80 aelamiaenwonmwacamikarichngancnthung 90 xyangrwderw odyelkhpracatwthangthaelkhxngaetlapraethsnnsamarthduidcakewbistkhxngshphaphothrkhmnakhmrahwangpraeths ITU echn xxsetriyichhmayelkh 203 praethsithyichhmayelkh 567 okhlxmebiyichhmayelkh 730elkhhlkaerktwelkhhlkaerkkhxnghmayelkhexmexmexsix ichsahrbcdhmwdhmuinkarrabutwtn tamthiidkahndiwinexksar Recommendation M 585 khxngshphaphothrkhmnakhmrahwangpraeths sungkhwamhmayprakxbipdwy 0 sahrb klumsthanierux sthanichayfng hruxklumsthanichayfng 1 sahrbxakasyankarkhnhaaelakuphy 2 7 sahrberuxaetlalainrabbelkhpracatwthangthael 2 sahrbphumiphakhyuorp echn xitaliich 247 ednmarkich 219 aela 220 3 sahrbphumiphakhxemrikaehnux xemrikaklang aelaaekhribebiyn echn aekhnadaich 316 krinaelndich 331 panamaich 351 thung 357 rwmipthung 370 thung 373 shrthxemrikaich 338 rwmipthung 366 thung 369 aelarthxaaelskaich 303 4 sahrbphumiphakhexechiy ykewnexechiytawnxxkechiyngit echn cinich 412 413 aela 414 mldifsich 455 yipunich 431 5 sahrbphumiphakhoxechiyeniy echn xxsetreliyich 503 niwsiaelndich 512 aelaexechiytawnxxkechiyngit echn filippinsich 548 ithyich 567 6 sahrbphumiphakhaexfrika echn exriethriyich 625 7 sahrbphumiphakhxemrikait echn epruich 760 8 sahrbekhruxngrbsngwithyumuxthuxaebbwiexchexfthimirabbkarsngsyyanaebb DSC aelarabbdawethiym GNSS 9 sahrbxupkrnthiichhmayelkhaeykepnxisra echnxupkrnrbsngsyyankhnhaaelakuphy 970yyzzzz xupkrnetuxnkhntknaphanrabb DSC aela hruxrabbaesdngtnxtonmti AIS 972yyzzzz kraocmwithyuaecngtablthichukechin EPIRB khwamthi 406 MHz dwyxupkrnaesdngtnxtonmti AIS 974yyzzzz yan eruxchuchiph aephchuchiph thiekiywkhxngkberuxaem 98MIDxxxx ekhruxnghmaythangerux echn thunekhruxnghmaythangerux praphakhar kraocm AtoNs 99MIDaxxx hmayehtu hlkthiecd a xac rabuthungpraephthxakasyanwaepaebb piktrung a 1 hruxehlikhxpetxr a 5 haktxngkarrabu nxkcakniyngsamarthichhlk a echnediywkbhlk x xun hakimtxngkarcaaenkpraephthxakasyan odythi yy khuxrhstwelkhthikahndihkbbristhphuphlitxupkrn aela zzzz khuxhmayelkhladbthieluxkodyphuphlit xupkrnthiichrabbexmexmexsixehlani xaccatidtngxyuineruxchuchiph aephchuchiph eruxkuphy epntn twelkh a xac ichephuxrabupraephthkhxng AtoN 1 sahrbaebbkayphaph 6 sahrbaebbesmuxn nxkcakniyngsamarthichhlk a echnediywkbhlk x xun hakimtxngkaraebngpraephthkhxng AtoNrupaebbkhxngelkhhmayrabutwtnsthanielkhhmayrabutwtnkhxngsthanierux rhs 9 hlkthiprakxbkhunepnelkhhmayrabutwtnkhxngsthanierux mirupaebb khux MIDxxxxxx kahndih MID aethnhmayelkhpracatwthangthael Maritime identification digits MID aela x aethndwytwelkhid ktamtngaet 0 thung 9 hakeruxidrbkartidtngrabbsuxsarphandawethiym Inmarsat B C M hruxmiaephncatidtnginxnakhtxnikl khwrcamielkhsunytxthay 3 tw khux MIDxxx000hakeruxidrbkartidtngrabbsuxsarphandawethiym Inmarsat C hruxmiaephncatidtnginxnakhtxnikl elkhhmayrabutwtnxacmielkhsunytxthay 1 tw khux MIDxxxxx0 hakeruxidrbkartidtngrabbsuxsarphandawethiym Inmarsat A hruxmirabbsuxsarphandawethiymxunthiimichkhxng Inmarsat kimcaepncatxngmielkhsunytxthayinelkhhmayrabutwtnelkhhmayrabutwtnkhxngklumsthanierux elkhhmayrabutwtnkhxngklumsthanieruxmiiwsahrbkarsuxsarhruxothrphrxmknmakkwa 1 la mirupaebbkhux 0MIDxxxxx odythitwelkhaerkkhuxsuny aela X khuxtwelkhid tngaet 0 thung 9 MID aethnhmayelkhpracatwthangthael MID thikahndrhspracaklumsthanierux aelaimidmikhxhaminkartidtxsuxsaraebbklumipyngkxngeruxthimisychatikhxngeruxmakkwahnungsychati elkhhmayrabutwtnkhxngsthanichayfng elkhhmayrabutwtnkhxngsthanichayfngmirubaebb khux 00MIDxxxx odythitwelkhsxngtwaerkepnsuny aela X khuxtwelkhid tngaet 0 thung 9 MID aethnhmayelkhpracatwthangthael MID aesdngpraethsthisthanichayfnghruxsthaniphakhphundinchayfngnnidtngxyu elkhhmayrabutwtnkhxngklumsthanichayfng elkhhmayrabutwtnkhxngklumsthanichayfngmiiwsahrbkarsuxsarhruxothrphrxmknmakkwasthani odymirupaebbechnediywkbsthanichayfnginaetlaaehng khux mielkhsunynahna 2 tw MID aethnhmayelkhpracatwthangthael MID aelatwelkhxik 4 hlk odymikarcaaenkrupaebbyxylngmaidxik khux 00MID0000 sahrbsthanichayfngid thiichhmayelkhpracatwthangthael MID 009990000 sahrbsthanichayfngyankhwamthiwiexchexfid ktam odyimtxngkhanungthunghmayelkhpracatwthangthael MID ekhruxngsngsyyankhnhaaelakuphy ekhruxngsngsyyankhnhaaelakuphyphanrabbaesdngtnxtonmti AIS SART mirupaebbelkhhmayrabutwtninkickarekhluxnthithangthaelkhux 970YYxxxx ekhruxngsngsyyankhnhaaelakuphyphanrabbaesdngtnxtonmti AIS SART caichkarraburhstwelkhkhxngbristhphuphlit aethnthicaepnelkhpracatwthangthael MID thirabupraeths mirupaebbkhux 970YYxxxx odyhlkelkhthiaesdngdwyxksr Y sxngtwthukkahndody smakhmbristhxielkthrxniksthangthaelnanachati International Association for Marine Electronics Companies sungsamarthrabuthungtwbrisththiphlitxupkrnsngsyyankhnhaaelakuphy inkhnathi X khuxtwelkhladbkarphlitthithukkahndodybristhphuphlitxupkrnkarkhadaekhlnkhxngelkhhmayrabutwtninkickarekhluxnthithangthaelenuxngcakeruxthuklathiedinthangrahwangpraeths rwmipthungeruxthitidtngrabbsuxsarphandawethiym Inmarsat B hrux M thukkahndihichrupaebb MIDxxx000 cungekidpyhainradbchatikhun wacatxngkahndhmayelkhexmexmexsixihephiyngphxtxkhwamtxngkarthnghmd xathi inpraethsthimieruxtidtngrabbsuxsarphandawethiym Inmarsat 10 000 la catxngichchudhmayelkhpracatwthangthael MID thung 10 chud ephuxrxngrbcanwnerux 10 000 la hakeruxcanwn 50 000 latidtngrabbsuxsarphandawethiym Inmarsat M catxngichchudhmayelkhpracatwthangthael MID thung 50 chudephuxrxngrb pyhatxmaekidkhunkberuxthitidtngrabbsuxsardawethiym Inmarsat enuxngcakkhxkahndkhxng ITU T idkahndihrabutwtninrupaebbkhxng MESIN khux TMIDxxxYY odythi T rabupraephthkhxngrabbsuxsardawethiym Inmarsat YY rabuswnkhxngxupkrn Inmarsat xathi 00 xacrabu othrsphthinsaphanedinerux 01 xachmaythungekhruxngothrsarinhxngwithyu l aela MIDxxx rabuhmayelkhkhxngsthanierux sungekiywkhxngkbelkhhmayrabutwtnkhxngsthanieruxinrupaebbkhxng MIDxxx000 hmayelkhexmexmexsixnnthukihkhwamhmaythungtwtnthangxielkthrxnikskhxngeruxthngla sungthukichinxupkrnrupaebbidrupaebbhnungphan GMDSS hruxxupkrnothrkhmnakhmxun phayinerux xyangirktam inthangptibtinn hmayelkhexmexmexsixsamarthichnganidetmprasiththiphaphtamthimnthukxxkaebbmahruxim hruxthaythisud ITU xacyutiaenwptibtithiekiywkhxngkbkhxmulrabutwtn Inmarsat MESIN kbelkhhmayrabutwtninkickarekhluxnthithangthael ephuxepnkaraekikhpyhakarkhadaekhlelkhhmayrabutwtninkickarekhluxnthithangthael phuphlitxaccatxngldfngkchnbangxyanginwithyuthirxngrbrabb DSC ephuxihsamarthpxnhmayelkhexmexmexsixidephiyngkhrngediywethann sungcathaihphuichnganimsamarthekhluxnyayekhruxngrbsngwithyudngklawipyngeruxlaxunid odyechphaaxyangyingwithyumuxthuxyanwiexchexf sungkarichephiynghmayelkhexmexmexsixediywnnkhdknxyangying inkarprachumwithyuolk n krungecniwa ph s 2540 WRC 97 idmikarrbrxngmti 344 sungekiywkhxngkbkarkhadaekhlnthrphyakrelkhhmayrabutwtninkickarekhluxnthithangthael inmumkhxngkarprbprungokhrngkhayothrsphthsatharnaaelakhwamsamarthihm khxngrabb Inmarsat thiehnuxipkwarabbsuxsardawethiym Inmarsat B hrux M odyykelikkhxcakdedimaelasamarthichngantwelkhthng 9 hlkinhmayelkhexmexmexsixid aelaimcaepntxnglngthaydwyelkhsunyxiktxipduephimichklumelkhhmayrabutwtninkickarekhluxnthithangthael sahrbraburhserux syyaneriykkhanthangthael imechuxmoyngkbelkhhmayrabutwtninkickarekhluxnthithangthael aetsamarthmielkhhmaydngklawidinphayhlngxangxing rabbkarsuxsarephuxkaraecngphyaelakhwamplxdphythangthael GMDSS Seafarer Library phasaxngkvs Table of Maritime Identification Digits ITU phasaxngkvsaebbxemrikn M 585 Assignment and use of identities in the maritime mobile service www itu int a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a CS1 maint url status lingk Recommendation M 585 4 03 07 ITU March 2007 First specified in this revision carried forward in newer versions of the M 585 recommendation ekhruxngmuxsuxsaraelaxupkrnchwykaredinerux www marinerthai net Recommendation ITU R M 585 8 10 2019 Assignment and use of identities in the maritime mobile service PDF Geneva Switzerland ITU October 2019 Maritime Mobile Service Identity MMSI Australian Maritime Safety Authority Liaison Statement to CIRM Identities for AIS SART MOB and EPIRB AIS PDF 2011 06 22 subkhnemux 2014 03 30