บทความนี้ไม่มีจาก |
ปริภูมิเมเชอร์ผลคูณ (อังกฤษ: Product measure) ในทฤษฎีเมเชอร์ กำหนดปริภูมิเมเชอร์สองปริภูมิใด ๆ เราจะสามารถสร้างปริภูมิเมเชอร์ใหม่ขึ้นมาจากสองปริภูมิดังกล่าวได้เสมอ และเราจะเรียกปริภูมิเมเชอร์ที่สร้างขึ้นมาใหม่นี้ว่า "ปริภูมิเมเชอร์ผลคูณ" (product measure space). การสร้างปริภูมิเมเชอร์ผลคูณจากสองปริภูมิตั้งต้นนั้น แท้จริงแล้วก็เสมือนการสร้างเซตใหม่จากสองเซตโดยใช้ผลคูณคาร์ทีเซียน หรือสร้างจากสองนั่นเอง
นิยามทางคณิตศาสตร์
กำหนด และ เป็นปริภูมิเมเชอร์. เรานิยามปริภูมิเมเชอร์ผลคูณ ดังนี้
- คือ ผลคูณคาร์ทีเซียนของ และ
- พีชคณิตซิกมาผลคูณ: คือ พีชคณิตซิกมาที่เล็กที่สุดที่มี เป็นสมาชิก โดย และ .
- เมเชอร์ผลคูณ: นิยามโดย ให้เป็นเมเชอร์ที่มีคุณสมบัติ
- เมื่อ
โดยเมเชอร์ที่มีคุณสมบัตินี้ นิยามได้หลายแบบ แต่ถ้าเรากำหนดเงื่อนไขเพิ่มเติมว่า ปริภูมิตั้งต้นทั้งสอง เป็นชนิด เราจะได้ว่า มีเพียงรูปแบบเดียวและเท่ากับ
สำหรับทุก ๆ E โดย Ex = {y∈X2| (x,y) ∈E}, และ Ey = {x∈X1| (x,y) ∈E} และทั้งสองก็เป็นเซตที่สามารถวัดได้.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir priphumiemechxrphlkhun xngkvs Product measure inthvsdiemechxr kahndpriphumiemechxrsxngpriphumiid eracasamarthsrangpriphumiemechxrihmkhunmacaksxngpriphumidngklawidesmx aelaeracaeriykpriphumiemechxrthisrangkhunmaihmniwa priphumiemechxrphlkhun product measure space karsrangpriphumiemechxrphlkhuncaksxngpriphumitngtnnn aethcringaelwkesmuxnkarsrangestihmcaksxngestodyichphlkhunkharthiesiyn hruxsrangcaksxngnnexngniyamthangkhnitsastrkahnd X1 S1 m1 displaystyle X 1 Sigma 1 mu 1 aela X2 S2 m2 displaystyle X 2 Sigma 2 mu 2 epnpriphumiemechxr eraniyampriphumiemechxrphlkhun X1 X2 S1 S2 m1 m2 displaystyle X 1 times X 2 Sigma 1 times Sigma 2 mu 1 times mu 2 dngni X1 X2 displaystyle X 1 times X 2 khux phlkhunkharthiesiynkhxng X1 displaystyle X 1 aela X2 displaystyle X 2 phichkhnitsikmaphlkhun S1 S2 displaystyle Sigma 1 times Sigma 2 khux phichkhnitsikmathielkthisudthimi A1 A2 displaystyle A 1 times A 2 epnsmachik ody A1 S1 displaystyle A 1 in Sigma 1 aela A2 S2 displaystyle A 2 in Sigma 2 emechxrphlkhun m1 m2 displaystyle mu 1 times mu 2 niyamody ihepnemechxrthimikhunsmbti m1 m2 B1 B2 m1 B1 m2 B2 displaystyle mu 1 times mu 2 B 1 times B 2 mu 1 B 1 mu 2 B 2 emux B1 S1 B2 S2 displaystyle B 1 in Sigma 1 B 2 in Sigma 2 odyemechxrthimikhunsmbtini niyamidhlayaebb aetthaerakahndenguxnikhephimetimwa priphumitngtnthngsxng epnchnid eracaidwa m1 m2 displaystyle mu 1 times mu 2 miephiyngrupaebbediywaelaethakb m1 m2 E X2m1 Ey dm2 X1m2 Ex dm1 displaystyle mu 1 times mu 2 E int X 2 mu 1 E y d mu 2 int X 1 mu 2 E x d mu 1 sahrbthuk E ody Ex y X2 x y E aela Ey x X1 x y E aelathngsxngkepnestthisamarthwdid bthkhwamkhnitsastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk