อาการเพ้อ (อังกฤษ: delirium) หรือภาวะสับสนเฉียบพลัน (อังกฤษ: acute confusional state) เป็นการเสื่อมจากระดับเส้นฐานการทำหน้าที่รู้เดิมที่เคยมีอันมีสาเหตุจากพยาธิสภาพทางกาย ตรงแบบเป็นขึ้น ๆ ลง ๆ ขาดความใส่ใจและความไม่สมประกอบของพฤติกรรมอย่างรุนแรงทั่วไป ตรงแบบเกี่ยวข้องกับการขาดการรู้อย่างอื่น สภาวะตื่นตัวเปลี่ยนแปลง (ตื่นตัวมาก ตื่นตัวน้อยหรือผสม) การขาดการรับรู้ วงจรหลับ-ตื่นเปลี่ยนแปลงและลักษณะโรคจิตอย่างและ
อาการเพ้อ Delirium | |
---|---|
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก | |
ICD-10 | F05 |
ICD- | 780.09 |
29284 | |
000740 | |
med/3006 | |
MeSH | D003693 |
อาการเพ้อเองมิใช่โรค แต่เป็นกลุ่มอาการทางคลินิก ซึ่งมีสาเหตุจากโรคพื้นเดิม จากยารักษาโรคที่ให้ระหว่างการรักษาโรคนั้นในระยะวิกฤต จากปัญหาใหม่ทีมีการคิดหรือจากปัจจัยเหล่านี้ตั้งแต่สองอย่างขึ้นไปผสมกัน เกณฑ์การวินิจฉัยอาการเพ้อไม่สามารถทำได้หากไม่มีการประเมินหรือความรู้มาก่อนซึ่งระดับเส้นฐานการทำหน้าที่รู้ของบุคคลที่เป็นนั้น กล่าวอีกอย่างหนึ่งว่า ผู้พิการทางจิตหรือผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมซึ่งกำลังทำงานที่ระดับความสามารถทางจิตเส้นฐานจะถูกคาดว่าดูมีอาการเพ้อหากไม่มีสถานะการทำหน้าที่ของจิตเส้นฐานให้เปรียบเทียบ
อาการเพ้ออาจแสดงตื่นตัวมาก ตื่นตัวน้อยหรือผสม ในรูปตื่นตัวมาก อาการแสดงเป็นความสับสนและความงุนงงสับสนรุนแรง ดำเนินโดยมีการเริ่มต้นค่อนข้างเร็วและมีความรุนแรงขึ้น ๆ ลง ๆ ในรูปตื่นตัวน้อย อาการแสดงโดยการถอนตัวจากอันตรกิริยากับโลกภายนอกเฉียบพลันเท่ากัน อาการเพ้ออาจเกิดในรูปผสม ซึ่งบางคนอาจขึ้น ๆ ลง ๆ ระหว่างทั้งระยะตื่นตัวมากและตื่นตัวน้อย อาการเพ้อเป็นกลุ่มอาการซึ่งเกิดในผู้สูงอายุมากกว่า ทว่า พบว่าเกิดในผู้ป่วยอายุน้อยและสูงอายุได้ในอัตราพอ ๆ กันเมื่อเกิดในระหว่างการเจ็บป่วยวิกฤต
อาการเพ้ออาจเกิดจากกระบวนการของโรคนอกสมองแต่มีผลต่อสมอง เช่น การติดเชื้อ (การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ ปอดบวม) หรือผลของยา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หรือยากดระบบประสาทส่วนกลางอื่น (และโอปิออยด์) แม้ประสาทหลอนและอาการหลงผิดปรากฏในอาการเพ้อบ้าง แต่ไม่จำเป็นสำหรับการวินิจฉัย และอาการของอาการเพ้อทางคลินิกต่างจากอาการที่เกิดจากการชักนำโดยโรคจิตหรือสารก่อประสาทหลอน (ยกเว้นสารก่ออาการเพ้อ) ตามบทนิยาม อาการเพ้อต้องเกิดจากกระบวนการทางกาย เช่น ปัญหาทางโครงสร้าง การทำหน้าที่หรือเคมีที่สามารถระบุได้เชิงกายภาพในสมอง ฉะนั้น การคิดขึ้น ๆ ลง ๆ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงในกระบวนการหรือโรคจิตเวช เช่น โรคจิตเฉียบพลันจากจิตเภทหรือโรคอารมณ์สองขั้วจึงไม่เรียกอาการเพ้อ
เช่นเดียวกับองค์ประกอบของมัน (การไม่สามารถมุ่งความใส่ใจ ความสับสนทางจิตและการบกพร่องของความตระหนักหลายอย่างและการรับรู้กาลเทศะ) อาการเพ้อเป็นการปรากฏอาการทั่วไปของการทำหน้าที่ผิดปรกติของสมองจากพยาธิสภาพทางกายใหม่ (ไม่ว่าด้วยเหตุใด) อาการเพ้อต้องมีทั้งการเปลี่ยนแปลงการคิดเฉียบพลันและสาเหตุทางกาย ฉะนั้น หากไม่มีการประเมินโดยระวังและประวัติ อาการเพ้อสามารถสับสนกับความผิดปกติจิตเวชจำนวนหนึ่งหรือกลุ่มอาการของสมองจากพยาธิสภาพทางกายระยะยาวได้ง่าย เพราะอาการและอาการแสดงหลายอย่างของอาการเพ้อเป็นภาวะที่ยังพบในโรคสมองเสื่อม ภาวะซึมเศร้าและโรคจิต อาการเพ้ออาจปรากฏใหม่บนพื้นหลังความเจ็บป่วยทางจิต ความพิการทางเชาวน์ปัญญาเส้นฐานหรือโรคสมองเสื่อม โดยไม่จำเป็นต้องเกิดจากปัญหาดังกล่าว
การรักษาอาการเพ้อต้องรักษาเหตุทางกายพื้นเดิม ในผู้ป่วยบางคน ใช้การรักษาชั่วคราวหรือประทังหรือตามอาการเพื่อประโลมผู้ป่วยหรือให้จัดการผู้ป่วยได้ดีขึ้น (ตัวอย่างเช่น ผู้ป่วยที่ไม่เข้าใจพยายามดึงท่อช่วยหายใจซึ่งจำเป็นต่อการรอดชีวิต) อาการเพ้ออาจเป็นความผิดปกติเฉียบพลันที่พบมากที่สุดในผู้ใหญ่ในโรงพยาบาลทั่วไป โดยพบใน 10-20% ของผู้ใหญ่นอนโรงพยาบาลทั้งหมด และ 30-40% ของผู้ป่วยสูงอายุที่นอนโรงพยาบาลและมากถึง 80% ของผู้ป่วยหน่วยอภิบาล ในผู้ป่วยหน่วยอภิบาลหรือในผู้ป่วยอื่นที่ต้องดูแลวิกฤต อาากรเพ้อมิใช่เพียงความผิดปกติของสมองเฉียบพลันแต่ที่จริงเป็นการเพิ่มโอกาสเสียชีวิตเพิ่มขึ้นมากใน 12 เดือนให้หลังการจำหน่ายผู้ป่วยหน่วยอภิบาลออกจากโรงพยาบาล
อ้างอิง
- Clegg, A; Young, JB (January 2011). "Which medications to avoid in people at risk of delirium: a systematic review". Age and ageing. 40 (1): 23–9. doi:10.1093/ageing/afq140. PMID 21068014.
- Gleason OC (March 2003). "Delirium". Am Fam Physician. 67 (5): 1027–34. PMID 12643363.
- , Shintani A, Truman B, Speroff T, Gordon SM, Harrell FE, และคณะ (April 2004). "Delirium as a predictor of mortality in mechanically ventilated patients in the intensive care unit". JAMA. 291 (14): 1753–62. doi:10.1001/jama.291.14.1753. PMID 15082703.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xakarephx xngkvs delirium hruxphawasbsnechiybphln xngkvs acute confusional state epnkaresuxmcakradbesnthankarthahnathiruedimthiekhymixnmisaehtucakphyathisphaphthangkay trngaebbepnkhun lng khadkhwamisicaelakhwamimsmprakxbkhxngphvtikrrmxyangrunaerngthwip trngaebbekiywkhxngkbkarkhadkarruxyangxun sphawatuntwepliynaeplng tuntwmak tuntwnxyhruxphsm karkhadkarrbru wngcrhlb tunepliynaeplngaelalksnaorkhcitxyangaelaxakarephx DeliriumbychicaaenkaelalingkipphaynxkICD 10F05ICD 780 0929284000740med 3006MeSHD003693 xakarephxexngmiichorkh aetepnklumxakarthangkhlinik sungmisaehtucakorkhphunedim cakyarksaorkhthiihrahwangkarrksaorkhnninrayawikvt cakpyhaihmthimikarkhidhruxcakpccyehlanitngaetsxngxyangkhunipphsmkn eknthkarwinicchyxakarephximsamarththaidhakimmikarpraeminhruxkhwamrumakxnsungradbesnthankarthahnathirukhxngbukhkhlthiepnnn klawxikxyanghnungwa phuphikarthangcithruxphupwyorkhsmxngesuxmsungkalngthanganthiradbkhwamsamarththangcitesnthancathukkhadwadumixakarephxhakimmisthanakarthahnathikhxngcitesnthanihepriybethiyb xakarephxxacaesdngtuntwmak tuntwnxyhruxphsm inruptuntwmak xakaraesdngepnkhwamsbsnaelakhwamngunngngsbsnrunaerng daeninodymikarerimtnkhxnkhangerwaelamikhwamrunaerngkhun lng inruptuntwnxy xakaraesdngodykarthxntwcakxntrkiriyakbolkphaynxkechiybphlnethakn xakarephxxacekidinrupphsm sungbangkhnxackhun lng rahwangthngrayatuntwmakaelatuntwnxy xakarephxepnklumxakarsungekidinphusungxayumakkwa thwa phbwaekidinphupwyxayunxyaelasungxayuidinxtraphx knemuxekidinrahwangkarecbpwywikvt xakarephxxacekidcakkrabwnkarkhxngorkhnxksmxngaetmiphltxsmxng echn kartidechux kartidechuxthangedinpssawa pxdbwm hruxphlkhxngya odyechphaaxyangying hruxyakdrabbprasathswnklangxun aelaoxpixxyd aemprasathhlxnaelaxakarhlngphidpraktinxakarephxbang aetimcaepnsahrbkarwinicchy aelaxakarkhxngxakarephxthangkhliniktangcakxakarthiekidcakkarchknaodyorkhcithruxsarkxprasathhlxn ykewnsarkxxakarephx tambthniyam xakarephxtxngekidcakkrabwnkarthangkay echn pyhathangokhrngsrang karthahnathihruxekhmithisamarthrabuidechingkayphaphinsmxng chann karkhidkhun lng enuxngcakkarepliynaeplnginkrabwnkarhruxorkhcitewch echn orkhcitechiybphlncakcitephthhruxorkhxarmnsxngkhwcungimeriykxakarephx echnediywkbxngkhprakxbkhxngmn karimsamarthmungkhwamisic khwamsbsnthangcitaelakarbkphrxngkhxngkhwamtrahnkhlayxyangaelakarrbrukalethsa xakarephxepnkarpraktxakarthwipkhxngkarthahnathiphidprktikhxngsmxngcakphyathisphaphthangkayihm imwadwyehtuid xakarephxtxngmithngkarepliynaeplngkarkhidechiybphlnaelasaehtuthangkay chann hakimmikarpraeminodyrawngaelaprawti xakarephxsamarthsbsnkbkhwamphidpkticitewchcanwnhnunghruxklumxakarkhxngsmxngcakphyathisphaphthangkayrayayawidngay ephraaxakaraelaxakaraesdnghlayxyangkhxngxakarephxepnphawathiyngphbinorkhsmxngesuxm phawasumesraaelaorkhcit xakarephxxacpraktihmbnphunhlngkhwamecbpwythangcit khwamphikarthangechawnpyyaesnthanhruxorkhsmxngesuxm odyimcaepntxngekidcakpyhadngklaw karrksaxakarephxtxngrksaehtuthangkayphunedim inphupwybangkhn ichkarrksachwkhrawhruxprathnghruxtamxakarephuxpraolmphupwyhruxihcdkarphupwyiddikhun twxyangechn phupwythiimekhaicphyayamdungthxchwyhayicsungcaepntxkarrxdchiwit xakarephxxacepnkhwamphidpktiechiybphlnthiphbmakthisudinphuihyinorngphyabalthwip odyphbin 10 20 khxngphuihynxnorngphyabalthnghmd aela 30 40 khxngphupwysungxayuthinxnorngphyabalaelamakthung 80 khxngphupwyhnwyxphibal inphupwyhnwyxphibalhruxinphupwyxunthitxngduaelwikvt xaakrephxmiichephiyngkhwamphidpktikhxngsmxngechiybphlnaetthicringepnkarephimoxkasesiychiwitephimkhunmakin 12 eduxnihhlngkarcahnayphupwyhnwyxphibalxxkcakorngphyabalxangxingClegg A Young JB January 2011 Which medications to avoid in people at risk of delirium a systematic review Age and ageing 40 1 23 9 doi 10 1093 ageing afq140 PMID 21068014 Gleason OC March 2003 Delirium Am Fam Physician 67 5 1027 34 PMID 12643363 Shintani A Truman B Speroff T Gordon SM Harrell FE aelakhna April 2004 Delirium as a predictor of mortality in mechanically ventilated patients in the intensive care unit JAMA 291 14 1753 62 doi 10 1001 jama 291 14 1753 PMID 15082703