เพลงบอก คือการแสดงชนิดหนึ่งของไทย เป็นการละเล่นอย่างหนึ่งของชาวปักษ์ใต้บริเวณจังหวัดภาคใต้ตอนบนและตอนล่าง อันได้แก่ ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช ตรัง พัทลุง และสงขลา นิยมเล่นในวันสงกรานต์ เป็นการบอกข่าวของชาวบ้านทุกละแวกให้ทราบว่าใกล้ถึงปีใหม่แล้ว หรือเป็นการบอกเล่าเรื่องราวข่าวสารต่าง ๆ เช่นบอกข่าวเชิญไปทำบุญตามเหตุการณ์ ต่าง ๆ เรียกได้ว่า เพลงบอกเป็นความเชื่อทางวัฒนธรรมทางจิตใจอย่างหนึ่งของชาวใต้ซึ่งคู่กับชาวบ้านมานานตั้งแต่โบราณ และสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน
นครศรีธรรมราชได้ชื่อว่า เป็นจังหวัดที่มีนักเล่นเพลงบอกมากที่สุดทั้งในอดีตและปัจจุบัน จนได้รับสมญานามว่า เมืองเพลงบอก นอกจากมีนักเล่นเพลงบอกเป็นจำนวนมากแล้ว นักเล่นเพลงบอกที่มีชื่อเสียงโด่งดังเป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมชมชอบว่ามีฝีปากคมคายเป็นที่ดีเยี่ยมส่วนใหญ่มีภูมิลำเนาอยู่ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช
เพลงบอกจะแต่งเป็นบทกลอน มีฉันทลักษณ์เป็นแบบฉบับของตนเอง ส่วนมากกลอนหนึ่งบทจะประกอบด้วย ๔ วรรค สามวรรคแรกจะมีวรรคละ ๖ คำ ส่วนวรรคสุดท้ายจะมี ๔ คำ เพลงบอกจะต้องมีลูกคู่คอยร้องรับ ซึ่งเพลงบอกคณะหนึ่ง ๆ จะมีลูกอย่างน้อย ๒ คน หรือมากสุดไม่เกิน ๔ คน และเครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบการขับร้องเพลงบอกมี ๒ ชนิด คือ ฉิ่ง ๑ คู่ และกรับ ๑ คู่
ปัจจุบันนี้เพลงบอกนอกจากจะนิยมเล่นกันในวันสงกรานต์แล้วยังนิยมเล่นในงานสำคัญต่าง ๆ เช่น งานผูกพัทธสีมา งานศพ งานบวชนาค งานทำบุญขึ้นบ้านใหม่ งานแห่พระ งานประจำปีของวัด งานทอดกฐินผ้าป่าต่าง ๆ และได้มีการจัดการแข่งขันประชันเพลงบอกขึ้น
การประชันเพลงบอกสมัยก่อนจะจัดขึ้นภายในวัด โดยมีแม่เพลงบอกนั่งร้องขับบทกันที่ศาลากลางวัด แม่เพลงผู้อวุโสจะเป็นผู้แสดงฝีปากก่อน ซึ่งจะเริ่มร้องด้วยบทไหว้ครู สิ่งศักดิ์สิทธิ์ บุคคลสำคัญ และเจ้าบ้านผ่านเมือง เมื่อแม่เพลงร้องจบ ฝ่ายตรงข้ามจะเริ่มร้องบทไหว้ครูเช่นเดียวกัน
ปัจจุบันนี้การประชันเพลงบอกจะมาหลักเกณฑ์ในการพิจารณาว่าเพลงบอกจะดีหรือไม่ คือการสังเกตที่ฉัทลักษณ์ว่าถูกต้องตามแบบของกลอนเพลงบอกหรือไม่ นอกจากนี้ยังสังเกตจากการเลือกสรรคำมาใช้ ดูคำศัพท์ สำนวนโวหาร ว่ามีความคมคาย กว้างแคบ หรือใช้ได้เพียงไร การดูปัญญาความรอบรู้ และปฏิภาณไหวพริบของแม่เพลง การนำเสนอความคิดเห็นที่แยบคาย แปลกใหม่ ดูท่วงทำนอง ลีลาจังหวะ สุ้มเสียง และการร้องรับของลูกคู่
ค่านิยมที่ปรากฏในเพลงบอกที่เด่น ๆ มีอยู่ ๒ ประเด็นการคือ การเคารพยึดมั่นในสถาบันพระมหากษัตริย์ และการเคารพยกย่องครูอาจารย์ นอกจากนี้ในบทกลอนเพลงบอกยังสะท้อนถึงชีวิตความเป็นอยู่และการละเล่นต่าง ๆ ของชาวภาคใต้ ตลอดจนการแสดงความคิดเห็นในเรื่องการเมืองการปกครองอีกด้วย
ปัจจุบันนี้ความนิยมชมชอบเพลงบอกกำลังลดน้อยลงเนื่องจากเยาวชรับอิทธิพลจากต่างชาติเข้ามามาก ผู้สนใจที่จะสืบทอดวัฒนพื้นบ้านเพลงบอกมีน้อยลง เราจึงควรร่วมมือกันในการเผยแพร่มรดกพื้นบ้านนี้ออกไปให้เป็นที่รู้จักแก่คนทั่วไปและร่วมกันส่งเสริมให้เยาวชนหันมานิยมศิลปพื้นบ้าน และร่วมสืบทอดเพื่อไม่ให้เพลงบอกสูญหายไปจากนครศรีธรรมราช
ตัดต่อโดย:ชนาภัทร อุสสาพันธ์
อ้างอิง
http://folklore.culture.go.th 2012-02-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ephlngbxk khuxkaraesdngchnidhnungkhxngithy epnkarlaelnxyanghnungkhxngchawpksitbriewncnghwdphakhittxnbnaelatxnlang xnidaek chumphr surasdrthani nkhrsrithrrmrach trng phthlung aelasngkhla niymelninwnsngkrant epnkarbxkkhawkhxngchawbanthuklaaewkihthrabwaiklthungpiihmaelw hruxepnkarbxkelaeruxngrawkhawsartang echnbxkkhawechiyipthabuytamehtukarn tang eriykidwa ephlngbxkepnkhwamechuxthangwthnthrrmthangciticxyanghnungkhxngchawitsungkhukbchawbanmanantngaetobran aelasubthxdmacnthungpccubn nkhrsrithrrmrachidchuxwa epncnghwdthiminkelnephlngbxkmakthisudthnginxditaelapccubn cnidrbsmyanamwa emuxngephlngbxk nxkcakminkelnephlngbxkepncanwnmakaelw nkelnephlngbxkthimichuxesiyngodngdngepnthiruckaelaidrbkhwamniymchmchxbwamifipakkhmkhayepnthidieyiymswnihymiphumilaenaxyuthicnghwdnkhrsrithrrmrach ephlngbxkcaaetngepnbthklxn michnthlksnepnaebbchbbkhxngtnexng swnmakklxnhnungbthcaprakxbdwy 4 wrrkh samwrrkhaerkcamiwrrkhla 6 kha swnwrrkhsudthaycami 4 kha ephlngbxkcatxngmilukkhukhxyrxngrb sungephlngbxkkhnahnung camilukxyangnxy 2 khn hruxmaksudimekin 4 khn aelaekhruxngdntrithiichprakxbkarkhbrxngephlngbxkmi 2 chnid khux ching 1 khu aelakrb 1 khu pccubnniephlngbxknxkcakcaniymelnkninwnsngkrantaelwyngniymelninngansakhytang echn nganphukphththsima ngansph nganbwchnakh nganthabuykhunbanihm nganaehphra nganpracapikhxngwd nganthxdkthinphapatang aelaidmikarcdkaraekhngkhnprachnephlngbxkkhun karprachnephlngbxksmykxncacdkhunphayinwd odymiaemephlngbxknngrxngkhbbthknthisalaklangwd aemephlngphuxwuoscaepnphuaesdngfipakkxn sungcaerimrxngdwybthihwkhru singskdisiththi bukhkhlsakhy aelaecabanphanemuxng emuxaemephlngrxngcb faytrngkhamcaerimrxngbthihwkhruechnediywkn pccubnnikarprachnephlngbxkcamahlkeknthinkarphicarnawaephlngbxkcadihruxim khuxkarsngektthichthlksnwathuktxngtamaebbkhxngklxnephlngbxkhruxim nxkcakniyngsngektcakkareluxksrrkhamaich dukhasphth sanwnowhar wamikhwamkhmkhay kwangaekhb hruxichidephiyngir kardupyyakhwamrxbru aelaptiphanihwphribkhxngaemephlng karnaesnxkhwamkhidehnthiaeybkhay aeplkihm duthwngthanxng lilacnghwa sumesiyng aelakarrxngrbkhxnglukkhu khaniymthipraktinephlngbxkthiedn mixyu 2 praednkarkhux karekharphyudmninsthabnphramhakstriy aelakarekharphykyxngkhruxacary nxkcakniinbthklxnephlngbxkyngsathxnthungchiwitkhwamepnxyuaelakarlaelntang khxngchawphakhit tlxdcnkaraesdngkhwamkhidehnineruxngkaremuxngkarpkkhrxngxikdwy pccubnnikhwamniymchmchxbephlngbxkkalngldnxylngenuxngcakeyawchrbxiththiphlcaktangchatiekhamamak phusnicthicasubthxdwthnphunbanephlngbxkminxylng eracungkhwrrwmmuxkninkarephyaephrmrdkphunbannixxkipihepnthiruckaekkhnthwipaelarwmknsngesrimiheyawchnhnmaniymsilpphunban aelarwmsubthxdephuximihephlngbxksuyhayipcaknkhrsrithrrmrach tdtxody chnaphthr xussaphnthxangxinghttp folklore culture go th 2012 02 25 thi ewyaebkaemchchin