เพนเทียม (Pentium) เป็นเครื่องหมายการค้าและแบรนด์ของผลิตภัณฑ์ไมโครโพรเซสเซอร์ x86 หลายตัวจากบริษัทอินเทล เพนเทียมเปิดตัวครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2536 โดยใช้สถาปัตยกรรม P5 และมีการพัฒนาต่อเนื่องโดยชิปตัวใหม่ที่ออกมาจะใช้ชื่อรหัสตามหลังคำว่าเพนเทียมเช่น เพนเทียมโปร หรือ เพนเทียมดูอัล-คอร์ จนกระทั่งในปี 2553 ทางอินเทลได้เปลี่ยนระบบการเรียกชื่อชิปในตระกูลเพนเทียมทั้งใหม่หมดให้ใช้เพียงแค่คำว่า "เพนเทียม" โดยไม่มีคำใดต่อท้าย
แม้ว่าเพนเทียมถูกออกแบบมาให้เป็นรุ่นที่ 5 ที่ใช้สถาปัตยกรรม P5 ชิปที่พัฒนาต่อมาได้มีการนำสถาปัตยกรรมตัวใหม่ที่นำมาพัฒนามาใช้ภายใต้ชื่อตระกูลเพนเทียม เช่น , , , เนเฮเลม และล่าสุดคือสถาปัตยกรรมแซนดีบริดจ์
ในปี 2541 เพนเทียมได้ถูกจัดให้เป็นซีพียูสำหรับตลาดบนของทางอินเทลเมื่อบริษัทได้เปิดตัวแบรนด์เซเลรอน เพื่อใช้สำหรับคอมพิวเตอร์ราคาประหยัด ที่ประสิทธิภาพลดลงมา จนกระทั่งในปี 2549 อินเทลได้เปิดตัวตระกูลคอร์ โดยออกมาในชื่อ อินเทล คอร์ 2 ทำให้สถานะทางการตลาดของเพนเทียมอยู่ในระดับกลาง รองจากตระกูลคอร์แต่อยู่สูงกว่าตระกูลเซเลรอน โดยในปัจจุบันชื่อเพนเทียมเป็นชิปที่อยู่ในราคากลางโดยอยู่ระหว่างอินเทลคอร์และอินเทลเซเลรอน
ชื่อ
ชื่อ "เพนเทียม" มาจากภาษากรีกคำว่า πέντε (เพนเต) ที่หมายถึง เลขห้า ซึ่งกล่าวถึงรุ่นที่ห้าของอินเทลต่อจาก (ตัวที่สาม) และ (ตัวที่สี่) ภายหลังจากที่อินเทลมีปัญหาด้านกฎหมายในการจดทะเบียนชื่อ 80586 และ i586 ชิปของอินเทลภายใต้ชื่อการค้า เพนเทียม ตัวแรกคือ P5 เปิดตัวเมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2536
เพนเทียม ปี 2536
อินเทลได้พัฒนาไมโครโพรเซสเซอร์ใหม่ภายใต้ชื่อ "เพนเทียม" โดยได้พัฒนาโดยใช้สถาปัตยกรรมไมโครอินเทล P5 พัฒนาต่อเนื่องจาก โดย เพนเทียม และ เพนเทียม MMX ได้มีการใช้งานในช่วงปี 2536-2542 โดยรุ่นแรกมีความเร็ว 60 MHz หรือเท่ากับ 100 mips โดยมีทรานซิสเตอร์ 3.21 ล้านชิ้น และทำงานกับแอดเดรส (เหมือนกับ 486) โดยมีบัส 64 บิตทำให้ทำงานได้เร็วกว่ารุ่นก่อนหน้าสองเท่าตัว รุ่นแรกใช้งานบนซ็อกเก็ต 4 และบางตัวใช้งานบนซ็อกเก็ต 5 ได้
เพนเทียมรุ่นแรกกินไฟ 5 โวลต์ ก่อให้เกิดความร้อนสูงจนต่อมาถึงรุ่น 100 MHz ลดการกินไฟลงเหลือ 3.3 โวลต์
เพนเทียมระหว่าง ปี 2536-2553
- Pentium ตัวแรกที่ใช้สถาปัตยกรรม P5
- Pentium Pro
- Pentium Dual-Core
เพนเทียม ปี 2553 เป็นต้นไป
สถาปัตยกรรมไมโครเนเฮเลม
ในปี 2553 อินเทลได้ประกาศยุบชื่อของ เพนเทียมดูอัล-คอร์ เหลือเพียง"เพนเทียม" เพื่อใช้ในการตลาด โดยใช้สถาปัตยกรรมไมโครเนเฮเลม โดยชื่อรุ่นสำหรับเพนเทียมชุดนี้ จะประกอบไปด้วย ตัวอักษรหนึ่งตัวตามด้วยตัวเลขสี่ตัว โดยตัวที่ใช้สำหรับเดสก์ท็อปจะใช้โพรเซสเซอร์ คลาร์กเดล ส่วนตัวโน้ตบุ๊กจะใช้
- เดสก์ท็อป
- G6950 (2.80GHz)
- โน้ตบุ๊ก
- P6200 (2.13GHz)
- P6100 (2.00GHz)
- P6000 (1.86GHz)
- U5400 (1.20GHz)
สถาปัตยกรรมแซนดีบริดจ์
สถาปัตยกรรมใหม่ แซนดีบริดจ์ จะถูกนำมาใช้กับเพนเทียมบางส่วนวางขายในป 2554 ได้แก่
- เดสกท์ท็อป
- G850 (2.9 GHz)
- G840 (2.8 GHz)
- G620 (2.6 GHz)
- G620T (2.2 GHz)
อ้างอิง
- "Microprocessor Quick Reference Guide". Intel. สืบค้นเมื่อ 2007-08-14.
- . TG Daily. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-09-26. สืบค้นเมื่อ 2007-08-15.
- "Microprocessor Hall of Fame". Intel. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-07-06. สืบค้นเมื่อ 2007-08-11.
- Brown, Rich (23 April 2008). 00.htm "The multicore era is upon us: How we got here – Where we stand today". CNET Asia. สืบค้นเมื่อ 2009-04-18.
{{}}
: ตรวจสอบค่า|url=
((help)); ไม่รู้จักพารามิเตอร์|coauthors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|author=
) ((help))[] - Shilov, Anton. . X-bit labs. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-08-14. สืบค้นเมื่อ 2007-08-15.
- . Not Just Patents LLC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-11-29. สืบค้นเมื่อ 2009-11-28.
- หนังสืออ้างอิง
- p. 1, The Pentium Chronicles: The People, Passion, and Politics Behind Intel's Landmark Chips, Robert P. Colwell, Wiley, 2006, .
แหล่งข้อมูลอื่น
- รู้จักกับเพนเทียมโปรเซสเซอร์ 2004-10-31 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ephnethiym Pentium epnekhruxnghmaykarkhaaelaaebrndkhxngphlitphnthimokhrophressesxr x86 hlaytwcakbristhxinethl ephnethiymepidtwkhrngaerkemuxpi ph s 2536 odyichsthaptykrrm P5 aelamikarphthnatxenuxngodychiptwihmthixxkmacaichchuxrhstamhlngkhawaephnethiymechn ephnethiymopr hrux ephnethiymduxl khxr cnkrathnginpi 2553 thangxinethlidepliynrabbkareriykchuxchipintrakulephnethiymthngihmhmdihichephiyngaekhkhawa ephnethiym odyimmikhaidtxthay aemwaephnethiymthukxxkaebbmaihepnrunthi 5 thiichsthaptykrrm P5 chipthiphthnatxmaidmikarnasthaptykrrmtwihmthinamaphthnamaichphayitchuxtrakulephnethiym echn enehelm aelalasudkhuxsthaptykrrmaesndibridc inpi 2541 ephnethiymidthukcdihepnsiphiyusahrbtladbnkhxngthangxinethlemuxbristhidepidtwaebrndeselrxn ephuxichsahrbkhxmphiwetxrrakhaprahyd thiprasiththiphaphldlngma cnkrathnginpi 2549 xinethlidepidtwtrakulkhxr odyxxkmainchux xinethl khxr 2 thaihsthanathangkartladkhxngephnethiymxyuinradbklang rxngcaktrakulkhxraetxyusungkwatrakuleselrxn odyinpccubnchuxephnethiymepnchipthixyuinrakhaklangodyxyurahwangxinethlkhxraelaxinethleselrxnchuxchux ephnethiym macakphasakrikkhawa pente ephnet thihmaythung elkhha sungklawthungrunthihakhxngxinethltxcak twthisam aela twthisi phayhlngcakthixinethlmipyhadankdhmayinkarcdthaebiynchux 80586 aela i586 chipkhxngxinethlphayitchuxkarkha ephnethiym twaerkkhux P5 epidtwemuxwnthi 22 minakhm ph s 2536ephnethiym pi 2536xinethlidphthnaimokhrophressesxrihmphayitchux ephnethiym odyidphthnaodyichsthaptykrrmimokhrxinethl P5 phthnatxenuxngcak ody ephnethiym aela ephnethiym MMX idmikarichnganinchwngpi 2536 2542 odyrunaerkmikhwamerw 60 MHz hruxethakb 100 mips odymithransisetxr 3 21 lanchin aelathangankbaexdedrs ehmuxnkb 486 odymibs 64 bitthaihthanganiderwkwarunkxnhnasxngethatw runaerkichnganbnsxkekt 4 aelabangtwichnganbnsxkekt 5 id ephnethiymrunaerkkinif 5 owlt kxihekidkhwamrxnsungcntxmathungrun 100 MHz ldkarkiniflngehlux 3 3 owltephnethiymrahwang pi 2536 2553chipephnethiymthnghmdthiepn P5Pentium twaerkthiichsthaptykrrm P5 Pentium Pro Pentium Dual Coreephnethiym pi 2553 epntnipsthaptykrrmimokhrenehelm inpi 2553 xinethlidprakasyubchuxkhxng ephnethiymduxl khxr ehluxephiyng ephnethiym ephuxichinkartlad odyichsthaptykrrmimokhrenehelm odychuxrunsahrbephnethiymchudni caprakxbipdwy twxksrhnungtwtamdwytwelkhsitw odytwthiichsahrbedskthxpcaichophressesxr khlarkedl swntwontbukcaich edskthxpG6950 2 80GHz ontbukP6200 2 13GHz P6100 2 00GHz P6000 1 86GHz U5400 1 20GHz sthaptykrrmaesndibridc sthaptykrrmihm aesndibridc cathuknamaichkbephnethiymbangswnwangkhayinp 2554 idaek edskththxpG850 2 9 GHz G840 2 8 GHz G620 2 6 GHz G620T 2 2 GHz xangxing Microprocessor Quick Reference Guide Intel subkhnemux 2007 08 14 TG Daily khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2007 09 26 subkhnemux 2007 08 15 Microprocessor Hall of Fame Intel cakaehlngedimemux 2007 07 06 subkhnemux 2007 08 11 Brown Rich 23 April 2008 00 htm The multicore era is upon us How we got here Where we stand today CNET Asia subkhnemux 2009 04 18 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkha url help imruckpharamietxr coauthors thuklaewn aenana author help lingkesiy Shilov Anton X bit labs khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2007 08 14 subkhnemux 2007 08 15 Not Just Patents LLC khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2009 11 29 subkhnemux 2009 11 28 hnngsuxxangxingp 1 The Pentium Chronicles The People Passion and Politics Behind Intel s Landmark Chips Robert P Colwell Wiley 2006 ISBN 978 0 471 73617 2 aehlngkhxmulxunruckkbephnethiymopressesxr 2004 10 31 thi ewyaebkaemchchin